งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
Plant structure & function

2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างภายนอก ประกอบด้วย ✜ ข้อ node เป็นบริเวณที่มี กิ่งหรือใบเจริญออกมา ✜ ปล้อง internode เป็นบริเวณที่อยู่ระหว่างข้อ ✜ ตา bud มีเนื้อเยื่อเจริญ เช่น ตาดอก ตากิ่ง ตาใบ ✜ เลนติเซล lenticel เป็นรูเล็กๆเพื่อการหายใจ หรือ คายน้ำ

3 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
พืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงคู่

4 เลนติเซล lenticel เป็นรอยแตกบริเวณลำต้น เพื่อการหายใจ คายน้ำ

5 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างภายใน(ภาคตัดขวาง) ประกอบด้วย ✾ epidermis เซลล์ชั้นเดียว ไม่มีคลอโรพลาสต์ ✾ cortex ประกอบด้วย + parenchyma + collenchyma + sclerenchyma + chlorenchyma ✾ vascular bundle (xylem & phloem , vascular cambium) + พืชใบเลี้ยงคู่ เรียงตัวเป็นกลุ่มๆรอบลำต้น + พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เรียงตัวกระจายทั่วไปไม่เป็นระเบียบ ✾ pith ประกอบด้วย parenchyma cell อยู่กลางลำต้น

6 โครงสร้างของลำต้นในระยะแรก
epidermis cortex cambium pith Vascular bundle phloem xylem

7 ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ cortex epidermis Vascular bundle

8 ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ Parenchyma cell epidermis cortex pith xylem phloem
Vascular cambium

9 ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
Vascular bundle epidermis cortex xylem phloem Vascular bundle Parenchyma cell

10 ประเภทของลำต้น ลำต้นเหนือดิน aerial stem
❦ ไม้ยืนต้น tree ได้แก่ สัก จามจุรี มะขาม ❦ ไม้พุ่ม shurb ได้แก่ แก้ว เข็ม ทับทิม ❦ ไม้ล้มลุก herb ได้แก่ ข้าว หญ้า ข้าวโพด ลำต้นใต้ดิน underground stem ❦ rhizome แง่ง เหง้าได้แก่ กล้วย ขิง ข่า ขมิ้น ❦ tuber ได้แก่ มันผรั่ง ❦ corm ได้แก่ เผือก แห้ว ❦ bulb ได้แก่ หอม กระเทียม พลับพลึง

11 ประเภทของลำต้น

12 ลำต้นที่เปลี่ยนแปลงรูปร่างทำหน้าที่พิเศษ
ลำต้นเลื้อย creeping stem เช่น แตง ผักบุ้ง หญ้า ลำต้นไต่ climbing stem ➟ twinner พันเป็นเกลียว เช่น ถั่วฝักยาว อัญชัน ➟ bublbil เช่น ตะเกียงสัปปะรด ป่านศรนารายณ์ ➟ cladophyll เช่น กระบองเพชร กระถินณรงค์ ➟ stem tendril เช่น บวบ องุ่น ฟัก กระทกรก ➟ root climber เช่น พลู พริกไทย พลูด่าง ➟ stem spine เช่น สะแก ทับทิม กุหลาบ

13 การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
เกิดจากเนื้อเยื่อเจริญ primary meristem 3 กลุ่ม คือ ➤ protoderm เปลี่ยนแปลงเป็น epidermis ➤ procambium เปลี่ยนแปลงเป็น primary xylem,cambium,primary phloem ➤ ground meristem เปลี่ยนแปลงเป็น cortex , pith ในพืชใบเลี้ยงคู่ vascular cambium จะแบ่งเซลล์ให้ secondary xylem และ secondary phloem ทำให้เกิด วงปี annual ring

14 การเจริญเติบโตของรากและลำต้น
การเจริญเติบโตระยะที่ 2 ในพืชใบเลี้ยงคู่

15 วงปี Annual ring เกิดจากการเจริญเติบโตของไซเลมระยะที่2 ในแต่ละช่วงเวลาของปี ✑ spring wood เป็นวงสีจางเกิดในช่วงน้ำมาก เซลล์มีขนาดใหญ่ ผนังบาง ✑ summer wood เป็นวงสีเข้มเกิดในช่วงน้ำน้อย เซลล์มีขนาดเล็ก ผนังหนา ✏ เนื้อไม้ wood คือ xylem ทั้งหมด ✏ เปลือกไม้ bark คือ phloem,cortex และepidermis

16 วงปี Annual ring

17 วงปี Annual ring Spring wood Summer wood wood bark ปีที่ 3 ปีที่ 1
ปีที่ 2

18 ลักษณะการเกิดวงปี ปีที่ 1

19 ลักษณะการเกิดวงปี ปีที่ 2

20 ลักษณะการเกิดวงปี ปีที่ 3
bark wood 3 2 1 ลักษณะการเกิดวงปี ปีที่ 3

21 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
ส่วนประกอบภายนอกของใบ ✾ ตัวใบ lamina,blade เป็นแผ่นบางเหมาะต่อการสังเคราะห์แสง ✾ ก้านใบ petiole อยู่ระหว่างตัวใบกับลำต้น +ใบที่ไม่มีก้านใบ เรียก sessile leaf +ใบที่มีก้านใบ เรียก petidate leaf ✾ หูใบ stipule ยื่นออกจากโคนก้านใบ +ใบที่มีหูใบ เรียก stipulate leaf +ใบที่ไม่มีหูใบ เรียก exstipulate leaf

22 ประเภทของใบ จำแนกตามหน้าที่
➣ ใบแท้ folige leaf ใบทำหน้าที่สังเคราะห์แสง ➣ ใบเลี้ยง cotyledon ทำหน้าที่เก็บสะสมอาหาร ส่งอาหารเลี้ยงต้นอ่อน ➣ ใบดอก floral leaf ใบมีสีสันสวยงาม ➣ ใบเกล็ด scale leaf เปลี่ยนมาจากใบแท้ห่อหุ้มตา และยอดอ่อน

23 ประเภทของใบ จำแนกตามรูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไป
➧ ใบจับแมลง carnivorous leaf เช่น หยาดน้ำค้าง หม้อข้าวหม้อแกงลิง กาบหอยแครง ➧ หนาม spine เช่น กระบองเพชร มะขามเทศ ➧ มือเกาะ tendril เช่น ถั่วลันเตา มะระ ดองดึง ➧ ทุ่นลอย floating leaf เช่น ก้านใบผักตบชวา ➧ ฟิลโลด phyllode เช่น กระถินณรงค์

24 ประเภทของใบ จำแนกตามจำนวนใบ
➠ ใบเดี่ยว simple leaf ใบเพียงใบเดียวใน1ก้านใบ เช่น มะม่วง ตำลึง มะละกอ ➠ ใบประกอบ compound leaf มีใบย่อยมากกว่า1ใบ ใน1ก้านใบ เช่น มะขาม กุหลาบ จามจุรี + ข้อสังเกตถ้าเป็นใบประกอบ ทุกใบจะแก่พร้อมกัน

25 โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง
Epidermis เป็นเซลล์ชั้นเดียว ไม่มีคลอโรพลาสต์ มีคิวทิเคิลหรือสารเคลือบป้องกันการสูญเสียน้ำ ประกอบด้วย ❧ upper epidermis อยู่ด้านบน(หลังใบ) ❧ lower epidermis อยู่ด้านล่าง(ท้องใบ) มีบางเซลล์เปลี่ยนแปลงเป็น Guard cell มีคลอโรพลาสต์ควบคุมการ ปิด เปิดของปากใบ ❧epidermal cell อาจเปลี่ยนแปลงเป็น ขน หรือ ต่อม ในพืชบางชนิด

26 โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง
Mesophyll อยู่ระหว่าง upper epidermis และ lower epidermis ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ❧ palisade mesophyll อยู่ด้านบนประกอบด้วยเซลล์ทรงกระบอกเรียงกันแน่นมีคลอโรพลาสต์หนาแน่น ❧ spongy mesophyll อยู่ถัดลงมา รูปร่างไม่แน่นอนเรียงตัวกันหลวมๆ มีช่องว่างมากมีการแลกเปลี่ยนก๊าซ และ การระเหยของน้ำ

27 โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง
Vascular bundle ที่อยู่ในใบ คือ เส้นใบ vein อาจเรียงตัวเป็นร่างแห ในพืชใบเลี้ยงคู่ หรือขนาน ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว รอบๆกลุ่มท่อลำเลียงจะมี bundle sheath ❧ ในพืช C3 เช่น ข้าวเจ้า ข้าวสาลี bundle sheath ไม่มี คลอโรพลาสต์ ❧ ในพืช C4 เช่น ข้าวโพด อ้อย bundle sheath จะมี

28 โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง
Vascular bundle Upper epidermis Epidermal cell cuticle Palisade mesophyll mesophyll Spongy mesophyll stomata Lower epidermis

29 โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง

30 โครงสร้างภายในใบ ภาคตัดขวาง
ใบพืชในที่ร่ม ใบพืชกลางแจ้ง

31 คำถามท้ายบท โครงสร้างใดของปลายรากที่มีการแบ่งเซลล์มากที่สุด
โครงสร้างใดของปลายรากที่มีเนื้อเยื่อชั้นต่างๆครบถ้วน เนื้อเยื่อใดที่พบได้ในรากแต่ไม่พบในลำต้นหรือใบ เนื้อเยื่อส่วนใดของใบที่มีการสังเคราะห์แสงมากที่สุด ลำต้นใต้ดินกับรากแตกต่างกันอย่างไร ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร ท่อลำเลียงในใบพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร

32 Thank you ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google