Instructional Media Dr.Sumai Binbai College of Teacher Education

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

เทคนิคการเรียนการสอนโดยใช้เกม และ เทคนิคการสอนโดยใช้การแสดงละคร
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
ผู้วิจัย นายมณัฐ เฮ่ประโคน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
การศึกษาความพึงพอใจ ของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีโป ลิเทคนิคลานา เชียงใหม่ ต่ออาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็น ของนักศึกษา.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การออกแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้กระบวนการคิด
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ชุมชนปลอดภัย.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (C.A.I.)
(Instructional Media)
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
บทที่ 6 การพัฒนาระบบการสอนบนเครือข่าย
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
รูปแบบการเรียนการสอน
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
(Instructional Media)
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
มาฝึกสมองกันครับ.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
สื่อ การเรียนการสอน โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
หลักสูตรและหลักการสอน ( Curriculum and Instruction )
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Instructional Media Dr.Sumai Binbai College of Teacher Education Phranakhon Rajabhat University

สื่อ (Media) หมายถึง ตัวกลางที่ใช้ถ่ายทอด หรือนำความรู้ในลักษณะต่าง ๆ จากผู้ส่งไปยังผู้รับให้เข้าใจความหมายได้ตรงกันในการเรียนการสอน สื่อใช้เป็นตัวกลางนำความรู้ในกระบวนการสื่อความหมายระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เรียกว่า “สื่อการเรียนการสอน (Instructional Media)”

“สื่อการเรียนการสอน (Instructional Media)” วัสดุ อุปกรณ์หรือวิธีการใด ๆ ที่เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้ เจตคติ ทักษะและประสบการณ์ ต่าง ๆ ไปสู่ผู้เรียน

“สื่อการเรียนการสอน (Instructional Media)” ปัจจุบันมีการเรียกการนำสื่อการเรียนการสอนชนิดต่าง ๆ มารวมกันว่า “เทคโนโลยีการศึกษา” หมายถึง การนำวัสดุ อุปกรณ์และวิธีการมาใช้ร่วมกันอย่างมีระบบในการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน

ความสำคัญและคุณค่าของ“สื่อการเรียนการสอน” 4. ช่วยให้ผู้เรียนมีความจำและประทับความรู้สึกได้รวดเร็วขึ้น 1. ช่วยให้คุณภาพการเรียนรู้ดีขึ้น เพราะมีความสมจริงและมีความหมายชัดเจนต่อผู้เรียน 5. สามารถใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสิ่งที่มีความยากได้ เช่น สอนเนื้อหาที่ซับซ้อนให้ง่ายขึ้น ทำสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม ทำสิ่งที่เคลื่อนไหวช้าให้เร็ว ทำสิ่งที่เล็กให้ใหญ่ นำอดีตมาศึกษาได้ นำสิ่งที่อยู่ห่างไกลมาศึกษาได้ 2. ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในปริมาณมากขึ้นในเวลาที่กำหนดไว้เท่ากันกับการสอนโดยไม่ใช้สื่อ 3. ช่วยให้ผู้เรียนสนใจและมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนด้วยความกระตือรือร้น 6. ทำให้ผู้เรียนประสบผลสำเร็จในการเรียนได้ง่ายขึ้น บรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน

ความสำคัญและคุณค่าของ“สื่อการเรียนการสอน” คุณค่าด้านวิชาการ คุณค่าด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ 1. ทำให้ผู้เรียนเกิดประสบการณ์ตรง 1. ทำให้ผู้เรียนสนใจและดึงดูดให้อยากเรียนรู้สิ่ง ต่าง ๆ มากขึ้น 2. ทำให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ดีกว่าและมากกว่า 3. ผู้เรียนเข้าใจความหมายของสิ่งต่าง ๆ ได้กว้างขวางและเป็นแนวทางให้เข้าใจสิ่งนั้นดีขึ้น 2. ทำให้เกิดความคิดรวบยอดที่ชัดเจน 3. เร่งเร้าความสนใจทำให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองและสร้างความรู้จากการกระทำได้ด้วยตนเอง 4. ส่งเสริมความคิดและการแก้ปัญหา 5. เรียนรู้ได้ถูกต้อง จำเรื่องราวได้มากและนาน 4. ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเฉพาะสื่อประเภทอิเล็กทรอนิกส์ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และทบทวนได้มากเท่าที่ต้องการ 6. ช่วยเร่งทักษะในการเรียนรู้ เช่น ภาพยนตร์ ภาพ วีดิทัศน์

ประเภทของ“สื่อการเรียนการสอน” จำแนกตามประสาทการรับรู้ของผู้เรียน Visual Media Non-Projected Projected Audio Media เทปบันทึกเสียง วิทยุ Audio-Visual Media สไลด์ประกอบเสียง ภาพยนตร์ที่มีเสียง CAI

ประเภทของ“สื่อการเรียนการสอน” จำแนกตามหลักทางเทคโนโลยีการศึกษา เครื่องมืออุปกรณ์ วัสดุ - วัสดุที่ต้องอาศัยเครื่องมือหรืออุปกรณ์ - วัสดุที่เสนอความรู้ด้วยตนเอง เทคนิควิธีการ

ประเภทของ“สื่อการเรียนการสอน” Edgar Dale, 1969

ประเภทของ“สื่อการเรียนการสอน” ขั้นที่ 1 ประสบการณ์ตรงและมีความมุ่งหมาย(Direct Purposeful Experience) ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง  ได้เห็น ได้ยินเสียง ได้สัมผัสด้วยตนเอง เช่น การเรียนจากของจริง (Real object) ได้ร่วมกิจกรรมการเรียนด้วยการลงมือกระทำ เป็นต้น ขั้นที่ 2 ประสบการณ์จำลอง (Contrived Simulation Experience) ของจริงมีขนาดใหญ่หรือเล็กเกินไป มีความซับซ้อน มีอันตราย จึงใช้ประสบการณ์จำลองแทน เช่น การใช้หุ่นจำลอง (Model) ของตัวอย่าง (Specimen) เป็นต้น  ขั้นที่ 3 ประสบการณ์นาฏการ (Dramatized Experience) เป็นประสบการณ์ที่จัดขึ้นแทนประสบการณ์จริงที่เป็นอดีตไปแล้ว หรือเป็นนามธรรมที่ยากเกินกว่าจะเข้าใจและ ไม่สามารถใช้ประสบการณ์จำลองได้ เช่น การละเล่นพื้นเมือง ประเพณีต่างๆ เป็นต้น  ขั้นที่ 4 การสาธิต (Demonstration) คือการอธิบายข้อเท็จจริง ความจริงและกระบวนการที่สำคัญ  ด้วยการแสดงให้เห็นเป็นลำดับขั้น การสาธิตอาจทำได้โดยครูเป็นผู้สาธิต  นอกจากนี้อาจใช้ภาพยนตร์ สไลด์และฟิล์มสตริป แสดงการสาธิตในเนื้อหาที่ต้องการสาธิตได้

ประเภทของ“สื่อการเรียนการสอน”  ขั้นที่ 5 การศึกษานอกสถานที่ (Field Trip) การพานักเรียนไปศึกษายังแหล่งความรู้นอกห้องเรียน เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนรู้หลายๆด้าน ได้แก่ การศึกษาความรู้จากสถานที่สำคัญ เช่น โบราณสถาน โรงงาน อุตสาหกรรม เป็นต้น ขั้นที่ 6 นิทรรศการ (Exhibition) คือ การจัดแสดงสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งมีการสาธิต และการฉายภาพยนตร์ประกอบเพื่อให้ประสบการณ์ในการเรียนรู้แก่ผู้เรียนหลายด้าน ได้แก่ การจัดป้ายนิทรรศการ การจัดแสดงผลงานนักเรียน   ขั้นที่ 7 ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ (Motion Picture and Television) ผู้เรียนได้เรียนด้วยการเห็นและได้ยินเสียงเหตุการณ์และเรื่องราวต่างๆ ได้มองเห็นภาพในลักษณะการเคลื่อนไหวเหมือนจริงไปพร้อมๆ กัน ขั้นที่ 8 การบันทึกเสียง วิทยุ และภาพนิ่ง  (Recording, Radio and Picture) ได้แก่ เทปบันทึกเสียง แผ่นเสียง วิทยุ ซึ่งต้องอาศัยเรื่องการขยายเสียง ส่วนภาพนิ่ง ได้แก่รูปภาพทั้งชนิดโปร่งแสงที่ใช้กับเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Overhead projector) สไลด์ (Slide) ภาพนิ่งจากคอมพิวเตอร์ และภาพบันทึกเสียงที่ใช้กับเครื่องฉายภาพทึบแสง (Overhead  projector) 

ประเภทของ“สื่อการเรียนการสอน”  ขั้นที่  9 ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbol) มีความเป็นนามธรรมสูง จำเป็น ที่จะต้องคำนึงถึงประสบการณ์ของผู้เรียนเป็นพื้นฐานในการเลือกนำไปใช้ สื่อเหล่านี้คือ แผนภูมิ แผนสถิติ ภาพโฆษณา การ์ตูน แผนที่ และสัญลักษณ์ ต่าง ๆ  เป็นต้น ขั้นที่ 10  วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbol) เป็นประสบการณ์ขั้นสุดท้าย ซึ่งเป็นนามธรรมที่สุด ไม่มีความคล้ายคลึงกันระหว่าง วจนสัญลักษณ์กับของจริง ได้แก่  การใช้ตัวหนังสือแทนคำพูด

หลักการเลือก“สื่อการเรียนการสอน” 1. เลือกสื่อการสอนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 2. เลือกสื่อที่ตรงกับลักษณะเนื้อหาบทเรียน 3. เลือกสื่อที่สอดคล้องกับวิธีการสอน 4. เลือกสื่อให้เหมาะกับลักษณะและวัยของผู้เรียน 5. เลือกสื่อให้เหมาะกับจำนวนผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนการสอน 6. เลือกสื่อให้เหมาะกับสภาพแวดล้อม 7. เลือกสื่อที่น่าสนใจและดึงดูดความสนใจ 8. เลือกสื่อที่มีวิธีการใช้งาน เก็บรักษาและบำรุงรักษาได้สะดวก

หลักการใช้ “สื่อการเรียนการสอน” 1. เตรียมตัวผู้สอน ทำความเข้าใจเนื้อหา ขั้นตอนกิจกรรมและวิธีการใช้สื่อ 2. เตรียมจัดสภาพแวดล้อม เช่น สถานที่ ห้อง Lab เครื่องอำนวยความสะดวก 3. เตรียมตัวผู้เรียนให้พร้อม อธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์และเครื่องมือ 4. ใช้สื่อให้เหมาะกับขั้นตอนและวิธีการตามที่ได้เตรียมไว้และควบคุมการนำเสนอให้เป็นไปด้วยความราบรื่น 5. การติดตามผล ทดสอบผู้เรียนว่าเข้าใจสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปหรือไม่ เพื่อดูว่าสื่อมีประสิทธิภาพไหม

วิเคราะห์ ฝึกคิด และนำเสนอ 1.วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคการใช้สื่อของครู แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ในเวลา 30 นาที 2. เลือกเนื้อหา 1 เนื้อหา กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดระดับชั้นและจำนวนของผู้เรียน กำหนดวิธีการสอน เลือกใช้สื่อให้เหมาะสม และคาดว่าจะทำให้เด็กบรรลุวัตถุประสงค์ บอกเหตุผลว่าทำไมสื่อที่เลือกจึงช่วยให้เด็กเรียนได้บรรลุวัตถุประสงค์ได้

งานเดี่ยว ส่งเป็นรายงาน งานเดี่ยว ส่งเป็นรายงาน การบ้าน ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนแล้วสรุปประเด็นดังนี้ ชื่อเรื่องวิจัยและความสำคัญของปัญหา วัตถุประสงค์การวิจัย กลุ่มตัวอย่าง ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสื่อ ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย (การพัฒนาสื่อ) การหาประสิทธิภาพ/คุณภาพของสื่อที่ผลิตขึ้น สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผลว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่อย่างไร