Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
Advertisements

ผลการปฏิบัติงานและ งบประมาณ ของ สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สิงห์บุรี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ตั้งแต่ 1 ต. ค ก. ค. 53.
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
สำนักงานสหกรณ์ จังหวัดกระบี่ รายงาน แผน / ผลการ ปฏิบัติงาน ประจำเดือนเมษายน 2555 กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาธุรกิจสหกรณ์
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ณ 31 พฤษภาคม
อาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
อาหารกลางวันในโรงเรียน
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
สร้างชุมชน เข้มแข็ง ด้วยเครื่องมือแผน ชุมชน นายอาจณรงค์ สัตยพานิช ผู้อำนวยการสำนักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
เรียนรู้จากการปฏิบัติ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 2 3 4 Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก แหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสวิถีชีวิตสุขภาวะในโรงเรียนและชุมชนอย่างครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 1 1.พัฒนาเครือข่ายโรงเรียน ขยายพื้นที่ 2.พัฒนาระบบและกลไกการสนับสนุนจากองค์กรในพื้นที่ และชุมชน ผู้ปกครองมีส่วนร่วม คณะกรรมการขับเคลื่อนเด็กไทยแก้มใสสู่ความยั่งยืน ระดับจังหวัด หรือระดับอำเภอ 1 ผลที่คาดหวัง พัฒนากลไกการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนสู่ความยั่งยืน เครือข่ายขับเคลื่อนอาหารและ โภชนาการเด็กไทยแก้มใสระดับ จังหวัดหรือระดับอำเภอหรือระดับตำบล จำนวน ....โรงเรียน นักเรียน ....... คน ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสแม่ข่าย พร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส วิถีชีวิตสุขภาวะชุมชนอย่างเป็น รูปธรรม และสามารถเผยแพร่ผลงาน สู่สาธารณะ เกิดการผลักดันเป็นปฏิญญาชุมชนใน ความร่วมมือการจัดการอาหารโรงเรียน ที่มีคุณภาพและปลอดภัยเพื่อสุขภาพ เด็กไทยอย่างยั่งยืน เกิดรูปแบบการวางแผน / การจัดซื้อ ผัก ผลไม้ปลอดภัย จากเมนูอาหาร กลางวันสู่การเกษตรในโรงเรียนและ เกษตรชุมชน (อย่างน้อย 2 มื้อ ต่อ สัปดาห์) ที่สามารถเสนอเป็นต้นแบบสู่ การขยายผลต่อได้ เด็กนักเรียนมีความรอบรู้ด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพ มีทักษะการ จัดการตนเองในกลุ่มชั้น ป.4-6 ครอบครัวมีความตระหนักรู้และตื่นตัว ในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนไม่อ้วนเพิ่มขึ้นจากปี การศึกษา 2560 เล่มรายงานการถอดบทเรียนของศูนย์ เรียนรู้แม่ข่าย และเครือข่าย ต่อผล การบริโภคผักผลไม้ปลอดภัยเพิ่มขึ้น ทั้งที่บ้านและโรงเรียน ลดภาวะทุพ โภชนาการ และปรับพฤติกรรม สุขภาพของนักเรียนโดยการมีส่วน ร่วมของครอบครัว (นักเรียนได้รับ ผักปลอดภัยในมื้ออาหารกลางวันวัน ละ 1 ทัพพี ผลไม้ 1 ส่วน และ รวม 3 มื้อ ผัก วันละไม่น้อยกว่า 3 ทัพพี ผลไม้ 3 ส่วน) วัตถุประสงค์ Policy Policy ยุทธศาสตร์ที่ 2 2 เพิ่ม 2 ลด เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนให้มีคุณภาพและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนใช้ผลผลิตเกษตรปลอดภัย เพื่อพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างโรงเรียน-บ้าน-ชุมชน นำไปสู่พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของเด็ก -จัดเวทีประชุม อบรม สร้างองค์ความรู้ ความตระหนัก -สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการขับเคลื่อนในชุมชน 2 เพิ่มเกษตรปลอดภัยสู่อาหารกลางวันโรงเรียน เพิ่มกิจกรรมทางกาย ลดหวาน มัน เค็ม ลดพฤติกรรมเสี่ยงจากการบริโภคของนักเรียน พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน Participatory Action - ติดตาม เฝ้าระวัง - จัดเก็บข้อมูลการกินผัก ผลไม้ - รายงานภาวะโภชนาการ (แบบรายงานออนไลน์ ร่วมกับโครงการส่วนกลาง) ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาวิธีการจัดการข้อมูล 3 แม่ข่าย – ลูกข่าย พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูล เฝ้าระวัง ติดตาม โดยการมีส่วนร่วมคณะครูและผู้ปกครอง ตัวชี้วัดหลัก Data Management รูปแบบและกลไกการสนับสนุนระบบบริหารจัดการอาหารและโภชนาการโดยโรงเรียน และชุมชนมีส่วนร่วม อัตราการบริโภคผักและผลไม้ปลอดภัย ในเด็กกลุ่มวัยเรียนเพิ่มขึ้นตามสัดส่วนมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมาย เด็กวัยเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลงและ ลดอัตราชุกของภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ให้เหลือน้อยกว่าร้อยละ 9 4 ยุทธศาสตร์ที่ 4 ถอดบทเรียน เผยแพร่นวัตกรรมสู่สาธารณะ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จและยั่งยืน นวัตกรรมที่เกิดขึ้น ประโยชน์ที่นักเรียนได้รับ ประโยชน์ที่ชุมชนได้รับ ประโยชน์ที่โรงเรียนได้รับ Lesson learned Model แหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส วิถีชีวิตสุขภาวะในโรงเรียนและชุมชน ครบวงจร ส่งเสริมนโยบายด้านอาหารและโภชนาการสู่ความยั่งยืน

แบบการเขียนแผนกิจกรรมและงบประมาณ วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนให้มีคุณภาพและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนใช้ผลผลิตเกษตรปลอดภัย เพื่อพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างโรงเรียน-บ้าน-ชุมชน นำไปสู่พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของเด็ก รูปแบบและกลไกการสนับสนุนระบบบริหารจัดการอาหารและโภชนาการโดยโรงเรียน และชุมชนมีส่วนร่วม อัตราการบริโภคผักและผลไม้ปลอดภัย ในเด็กกลุ่มวัยเรียนเพิ่มขึ้นตามสัดส่วนมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมาย เด็กวัยเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลงและ ลดอัตราชุกของภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ให้เหลือน้อยกว่าร้อยละ 9 ยุทธศาสตร์ ผลผลิต กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน งบประมาณ (แสดงเป็นตัวคูณ)