การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน 36 หน่วยงาน 6 Cluster 3 กลุ่มสนับสนุน การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน กพร. 13 ตุลาคม 2559
... คำสั่งกรมอนามัย ที่ 949/2559 วันที่ 21 ก.ย. 2559 กรอบการนำเสนอ 3 2 1 PA ปี 2560 ระดับกระทรวงสาธารณสุข PA ปี 2560 ระดับกระทรวงฯ - กรม (ปลัดฯ – อธิบดีกรมอนามัย) PA ปี 2560 ระดับกรม (อธิบดีกรมอนามัย – ตามม.44) PA ปี 2560 ระดับกรม (อธิบดีฯ – รองอธิบดีฯ , หน.ผู้ทรงฯ) PA ปี 2560 ระดับกรมและหน่วยงาน PA รองอธิบดีฯ ประธาน cluster (6) / supporting group(3) - ประธาน - รองประธาน (1.ผู้ทรงฯ 2.ผอ.สำนัก/กอง) ... คำสั่งกรมอนามัย ที่ 949/2559 วันที่ 21 ก.ย. 2559 PA รองอธิบดีฯ หน่วยงานในกำกับ - รองอธิบดี - หน่วยงานในกำกับ ... คำสั่งกรมอนามัย 936/2559 เมื่อวันที่ 30 ก.ย. 2559
PA ระดับกรม , Cluster และหน่วยงาน บทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปลัดฯ, ม.44 อธิบดีกรมอนามัย รองอธิบดี หน่วยงาน 3 supporting Group PA– รองประธาน(2) 6 Cluster PA – รองประธาน(2) (ผู้ทรงฯ, ผอ.สำนัก/กองฯ) หน่วยงานในกำกับ (ส่วนกลาง,ศูนย์ฯเขต) - ผอ.สำนัก/กอง/ศูนย์ฯ PA รองอธิบดี (4) PA หน.ผู้ทรง (1)
บทบาทและภารกิจที่คาดหวังของ Cluster-สำนัก/กอง-ศูนย์ฯ บทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Development/ Standardization Execution/ Implementation Monitoring & Evaluation อธิบดี/ผู้บริหารระดับสูง รองอธิบดี/ Cluster + Group ผู้นิเทศ/ผู้ทรงฯ ศูนย์เขตของกรมต่าง ๆ สำนัก/กอง.ต่าง ๆ สำนัก/กอง วิชาการ กองแผนกรม กอง-สายสนับสนุน พัฒนานโยบาย Monitoring ออกแบบมาตรการ จัดทำกรอบงบประมาณ Evaluation จัดทำ Action Plan Report : E-report, special report Monthly, Quarterly พัฒนาตัวชี้วัด นำไปสู่การปฏิบัติ
องค์ประกอบคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูประบบบริหารและวิธีการทำงาน (6 Cluster + supporting FIN KISS HR)ใหม่ cluster 2560* โครงสร้าง Cluster แม่และเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน สูงอายุ สิ่งแวด ล้อม FIN KISS HR ประธาน รองธง รอง ณัฐ อธด รองดนัย รองณัฐ รองประธาน นาย ชัยพร นายสมพงษ์ นาง วิระวรรณ นางสุนีย์ นพ. ชัยพร ชลทิศ ผอ. สส. ผอ. ทันตฯ ผอ.สอพ. สภ. สอส. สว. ผอ.กผ. กจ. เลขาฯ 1 คน มาจาก ระดับหัวหน้ากลุ่มของสำนัก เบอร์สอง หรือกลุ่มยุทธ์ ที่ ผอ. มอบหมาย กรรมการ 8 – 11 คน จำนวนทั้งหมด 12 – 15 คน/cluster *ที่มางานประชุมสรุปผลแผนการดำเนินงาน คำสั่งกรมอนามัย เมื่อวันที่ 21 ก.ย. 2559
การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย (PA) ของอธิบดีกรมอนามัย รองอธิบดี สู่ Cluster และหน่วยงาน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย(PA) จากกระทรวง กรมสู่หน่วยงาน แผนยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข 4 Excellence 96 ตัวชี้วัด PA ปลัดกระทรวง สาธารณสุข 4 Excellence 27 (5) ตัวชี้วัด HR นโยบาย ของอธิบดี กรมอนามัย Fin แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย 21 ตัวชี้วัด PA กรมอนามัย 4 Excellence 8 ตัวชี้วัด(5+3) KISS PMQA PA รองอธิบดีกรมอนามัย 18 ตัวชี้วัด ผู้ทรง คุณวุฒิ Alignment 13 ตัวชี้วัด งานตามภารกิจสำคัญ งานตามภารกิจหลักของหน่วยงาน 3-5ตัวชี้วัด PA 35 หน่วยงาน หน่วยงานละ10-15 ตัวชี้วัด (บังคับ7)
Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ P&P Excellence - ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (PAอธิบดี) สตรีและเด็ก สส./สพด. รอบ 1 และ 2 = 83 84 85 86 87 1. ร้อยละของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า 20 24 28 32 36 ศอ.1-13 2. ร้อยละของเด็กมีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการติดตามให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ และประเมินซ้ำ ภายใน 30 วัน 60 65 70 75 80
Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ 3. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน สตรีและเด็ก สภ./สส./สท./กกส./สอน. ระดับ1-3 เป็น Process รอบ 1 ระดับ 4=48.5 ระดับ 5=49 รอบ 2 ระดับ 4= 50 ระดับ 5= 51 ศอ.1-13 4. ร้อยละของตำบลต้นแบบที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (LTC) ผ่านเกณฑ์ ผู้สูงอายุ สอส./สท./สภ./กกส./สว. รอบ 1 = 27 29 31 33 35 รอบ 2 = 35 37 40 45 50 5. ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน วัยเรียน สภ./สส./สท./กกส./สว./สอน. รอบ 1 และ 2 = 65 65.5 66 66.5 67 เพิ่มขึ้นร้อยละ 2 จาก Base line ระดับ1-3 เป็น Process รอบ 1 ระดับ4 = เพิ่มขึ้น 0.5 ระดับ5 = เพิ่มขึ้น 1.0 รอบ 2 ระดับ4 = เพิ่มขึ้น 2.0 ระดับ5 = เพิ่มขึ้น 3 จาก Base line รอบ 1 = 27 29 31 33 35 รอบ 2 = 35 37 40 45 50
Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ 6. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี วัยรุ่น สอพ./ สส. รอบ 1 และ 2 = 46 45 44 43 42 ศอ.1-13 ระดับ 3 =ลดลง จาก Base line (อัตรา1-3) 7. ร้อยละของประชาชนวัยทำงาน อายุ30-44ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ วัยทำงาน สส./สท./สภ./กกส. รอบ 1 = 53 53.5 54 54.5 55 รอบ 2 = 52 53 54 55 56 เพิ่มขึ้นจาก Base line ระดับละ 0.5 8. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital สิ่งแวดล้อม สว./สอน./ กป. รอบ 1= 30 35 40 45 50 รอบ 2= 55 60 65 70 75 รอบ 1 = 30 35 40 45 50 รอบ 2 = 55 60 65 70 75
Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ 9. ร้อยละตำบลต้นแบบบูรณาการด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม ผ่านเกณฑ์ (ค่ากลาง) 6 cluster สส./สภ./สท./สอพ./กกส./สพด./ สอส./สว.สอน./ กป. รอบ 1 = 10 15 20 25 30 รอบ 2 = 30 35 40 45 50 ศอ.1-13 รอบ 1 Process ระดับ1-3 ระดับ4 = 25 ระดับ5 = 30 รอบ 2 Process ระดับ1-2 ระดับ3 = 31-40 ระดับ4 = 41-50 ระดับ5 = >50
รอบการประเมิน/คะแนนการประเมิน 10. ร้อยละของกลุ่มเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Cluster: PCC) ที่จัดบริการส่งเสริมสุขภาพอนามัยสตรีและเด็กปฐมวัยด้านสุขภาพช่องปากและโภชนาการ PA อธิบดีกรมอนามัย : สำนักทันต์ สำนักโภชนาการ ระดับ รอบการประเมิน/คะแนนการประเมิน 5 เดือนแรก คะแนน 5 เดือนหลัง 1 มีแนวทางการดำเนิน- งานจัดบริการฯ ศูนย์อนามัยรับทราบวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแนวทางการดำเนินงาน PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 40 ของเป้าหมาย 2 จังหวัดรับทราบวัตถุ-ประสงค์ เป้าหมาย และแนวทางการดำเนินงาน PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 60 ของเป้าหมาย 3 มีพื้นที่ดำเนินงานและแผนงานร่วมของจังหวัดและโรงพยาบาลแม่ข่าย PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 80 ของเป้าหมาย 4 มีการดำเนินงานตามแผน มีการนิเทศติดตาม รวมทั้งวิเคราะห์ประเด็นปัญหาโดยศูนย์อนามัย PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 100 ของเป้าหมาย 5 มี PCC จัดบริการฯ ร้อยละ 20 ของเป้าหมาย รายงานสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการและเชิงนโยบาย คะแนนรวม
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จ เป้าหมายที่ Cascade ลงศูนย์อนามัย 5. ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน หน่วยงาน Base Line 2559 เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จ 1 2 3 4 5 ศอ. 1 61.8 63 63.5 64 64.5 65 ศอ. 2 61.2 62 62.5 ศอ. 3 63.0 65.5 66 ศอ. 4 64.0 66.5 67 ศอ. 5 62.6 ศอ. 6 63.6 ศอ. 7 66.0 67.5 68 68.5 69 ศอ. 8 ศอ. 9 69.2 70 70.5 71 71.5 72 ศอ. 10 63.4 ศอ. 11 62.9 ศอ. 12 60.8 ศอ. 13 -
เป้าหมายที่ Cascade ลงศูนย์อนามัย ตัวชี้วัดที่ 6. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี หน่วยงาน Base Line อัตราที่ลดลง เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จ 1 2 3 4 5 ศอ. 1 33.5 1.7 35.8 34.8 33.8 32.8 31.8 ศอ. 2 43.0 2.2 44.8 43.8 42.8 41.8 40.8 ศอ. 3 47.8 2.5 49.3 48.3 47.3 46.3 45.3 ศอ. 4 2.4 47.9 46.9 45.9 44.9 43.9 ศอ. 5 51.8 2.7 53.1 52.1 51.1 50.1 49.1 ศอ. 6 55.6 2.9 56.7 55.7 54.7 53.7 52.7 ศอ. 7 38.8 2.0 39.8 37.8 36.8 ศอ. 8 47.5 46.5 45.5 44.5 43.5 ศอ. 9 46.8 48.4 47.4 46.4 45.4 44.4 ศอ. 10 40.3 2.1 42.2 41.2 40.2 39.2 38.2 ศอ. 11 48.1 49.6 48.6 47.6 46.6 45.6 ศอ. 12 39.9 ศอ. 13 39.0 41.0 40.0 38.0 37.0
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย เป้าหมายที่ Cascade ลงศูนย์อนามัย ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ หน่วยงาน Base line ร้อยละ รอบการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ศอ. 1 51.83 5 เดือนแรก 50 51.5 52 52.5 53 5 เดือนหลัง 51.0 54 ศอ. 2 47.68 47 47.5 48 48.5 49 46 47.0 49.0 ศอ. 3 50.98 50.5 51 50.0 52.0 ศอ. 4 54.82 54.5 55 55.5 56 54.0 56.0 57 ศอ. 5 53.78 53.5 53.0 55.0 ศอ. 6 58.27 57.5 58 58.5 59 57.0 59.0 60 ศอ. 7 57.45 56.5 58.0 ศอ. 8 55.86 ศอ. 9 55.37
เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย เป้าหมายที่ Cascade ลงศูนย์อนามัย ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ หน่วยงาน Base line ร้อยละ รอบการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับความสำเร็จตามเป้าหมาย 1 2 3 4 5 ศอ. 10 54.85 5 เดือนแรก 54 54.5 55 55.5 56 5 เดือนหลัง 53 54.0 56.0 57 ศอ. 11 49.79 49 49.5 50 50.5 51 48 49.0 51.0 52 ศอ. 12 50.43 ศอ. 13 -
ตัวชี้วัดที่ 11 – 18 (8 ตัวชี้วัด) ตัวชี้วัดที่กำหนดให้ทุกหน่วยงานดำเนินการ 7 ตัวชี้วัด
เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนแรก เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนหลัง 11. ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล ระดับ เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนแรก 1 วิเคราะห์และทบทวนตัวชี้วัดเพื่อการถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ระดับกลุ่มงานและรายบุคคล 2 - จัดทำคำรับรองฯ ระหว่างหัวหน้าหน่วยงาน กับหัวหน้ากลุ่ม ระดับบุคคล โดย มีเกณฑ์การประเมินผลอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม - มีการจัดทำแบบมอบหมายงานรายบุคคล 3 มีการสื่อสารตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้กับบุคลากรในหน่วยงานทราบและดำเนินการตามตัวชี้วัด 4 มีการกำกับติดตามความก้าวหน้าของตัวชี้วัดระดับหน่วยงานและระดับบุคคล 5 รายงานผลการดำเนินการความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ตามที่ กพร. กำหนด ระดับ เกณฑ์การประเมิน รอบ 5 เดือนหลัง 1 - วิเคราะห์และทบทวน ตัวชี้วัดเพื่อการถ่ายทอดสู่ระดับกลุ่มงานและรายบุคคล - นำผลการประเมินการปฏิบัติงานของรอบที่ผ่านมา ศึกษา ทบทวน 2 - มีการจัดทำแบบมอบหมายงานรายบุคคล - ถ่ายทอด/ชี้แจง/ทำความเข้าใจให้บุคลากร 3 - มีการสื่อสารตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้กับบุคลากรในหน่วยงานทราบและดำเนินการ - จัดทำแผนพัฒนารายบุคคล และแผนพัฒนาบุคลากรของหน่วยงาน 4 - มีการกำกับติดตามความก้าวหน้าของตัวชี้วัดระดับหน่วยงานและระดับบุคคล - ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานและรายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ 5 - รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ตามที่ กพร. กำหนด - สรุปการดำเนินงานการพัฒนารายบุคคล และรายงานผลการดำเนินงานตามแผนฯ ทั้งระดับบุคคล และดับหน่วยงาน
Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ หน่วยปฏิบัติ ค่าเป้าหมาย • Governance Excellence - คะแนนการประเมิน ITA (PAอธิบดี) 12. ร้อยละการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของบุคลากรในหน่วยงาน สังกัดกรมอนามัย HR 36 หน่วยงาน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือน ขั้นตอน1 ขั้นตอน2 ขั้นตอน3 ขั้นตอน4 ขั้นตอน5 รอบ 10 เดือน 60 65 70 75 80
Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่า เป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ ค่าเป้าหมาย 13. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence Based) (EBIT) HR 36หน่วยงาน ตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมาย 1 2 3 4 5 รอบ 5 เดือน 60 65 70 75 80 รอบ 10 เดือน
Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ • Governance Excellence 14. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ FIN 36 หน่วยงาน วิธีคิด กำหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายตามมติ ค.ร.ม. เป็นรายเดือน เดือนที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 เป้าหมาย งบภาพรวม 30 37 44 52 59 66 73 81 89 96 อัตราเพิ่ม +7 +8 เป้าหมายงบลงทุน 19 26 33 41 48 55 63 71 79 87 หมายเหตุ : ติดตามผลการเบิกจ่าย ในการประชุมผู้บริหารทุกเดือน แต่นำผลการเบิกจ่ายมาใช้ประเมินผล การปฏิบัติราชการ เฉพาะเดือนที่ 5 และ 10
เกณฑ์การประเมิน : รอบ 5 เดือน 14. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ กำหนดค่าเป้าหมาย ที่ระดับ 4 เกณฑ์การประเมิน : รอบ 5 เดือน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 รายจ่ายภาพรวม 41 42 43 44 45 รายจ่ายลงทุน 30 31 32 33 34 เกณฑ์การประเมิน : รอบ 10 เดือน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนนเทียบกับเป้าหมายการเบิกจ่าย 1 2 3 4 5 รายจ่ายภาพรวม 78 79 80 81 82 รายจ่ายลงทุน 68 69 70 71 72
เฉพาะหน่วยงานส่วนกลาง 15. ระดับความสำเร็จของหน่วยงาน มีงานวิจัยหรือผลงานวิชาการ หรือผลิตภัณฑ์ หรือนวัตกรรมที่ถูกนำไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 อย่าง เฉพาะหน่วยงานส่วนกลาง เกณฑ์การประเมิน : รอบ 5 เดือน ขั้นตอน เกณฑ์การประเมิน คะแนน 1 มีการใช้ข้อมูล หลักฐาน สาเหตุ การวินิจฉัย (Diagnosis) ตามบทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง มาวิเคราะห์ เพื่อกำหนด หัวข้องานวิจัย การผลิตและพัฒนา ผลงานวิชาการ ผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรม 2 เสนอร่างโครงการดำเนินงานการผลิตหรือพัฒนา ผลงานวิชาการฯลฯ และจัดทำแผนปฏิบัติงาน ที่มีความสอดคล้องกับนโยบาย และยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวง กรม โดยต้องได้รับการคัดเลือกจาก Cluster อย่างน้อย 1 โครงการ 3 ดำเนินการโครงการที่ได้รับการคัดเลือกตามแผนปฏิบัติงาน และรายงานผลความก้าวหน้าให้ Cluster ทราบทุกเดือน เกณฑ์การประเมิน : รอบ 10 เดือน ขั้นตอน เกณฑ์การประเมิน คะแนน 4 มีการสรุปรายงานผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ ผลิตภัณฑ์ นวัตกรรม หรือถอดบทเรียนความสำเร็จ เป็นลายลักษณ์อักษรและเผยแพร่เข้าสู่ระบบ (KISS ฯลฯ) ตามเงื่อนไขระยะเวลาของผลงานที่กำหนด 5 ผลงานในขั้นตอนที่ 4 ถูกนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อการเรียนรู้ ต่อยอด พัฒนาและหรือปรับปรุงประบวนการทำงาน
เฉพาะหน่วยงานวิชาการในส่วนกลาง ตัวชี้วัดที่ 16 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานการเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อม เฉพาะหน่วยงานวิชาการในส่วนกลาง เกณฑ์การประเมิน : รอบ 5 เดือน ขั้นตอน เกณฑ์การประเมิน 1 กำหนดผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน 0.5 2 จัดทำแผนการดำเนินงาน การเฝ้าระวัง ที่ครอบคลุมการสำรวจ จัดเก็บ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล 3 ดำเนินตามแผน และรายงานข้อมูลผ่านระบบ วิเคราะห์ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล จากระบบ HDC และให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุง 1.5 4 นำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 3 มา วิเคราะห์ ประเมินสถานะหรือสภาวะของบุคคล ชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม ในระดับเขตสุขภาพและจังหวัด 5 สรุปรายงานผล ที่ใช้ดำเนินการในระดับเขตสุขภาพและจังหวัด เกณฑ์การประเมิน : รอบ 10 เดือน ขั้นตอน เกณฑ์การประเมิน 1 ทบทวนแผนการดำเนินงาน 0.5 2 ดำเนินตามแผน และรายงานข้อมูลผ่านระบบ วิเคราะห์ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล จากระบบ HDC และให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุง 3 นำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 3 มา วิเคราะห์ ประเมินสถานะหรือสภาวะของบุคคล ชุมชนหรือสิ่งแวดล้อม ในระดับเขตสุขภาพและจังหวัด 1.5 4 สรุปผลการดำเนินและถอดบทเรียน
Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน ประเด็น/ตัวชี้วัด Cluster/หน่วยงานรับผิดชอบ ค่าเป้าหมาย หน่วยปฏิบัติ 17. ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนกรมอนามัยสู่องค์กร HPO กพร. 36 หน่วยงาน กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) 5 ระดับ ระดับ แนวทางการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน คะแนน 1 มีแผนการพัฒนาองค์กร โดยใช้เครื่องมือ PMQA 2 มีการดำเนินงงานตามแผนอย่างครบถ้วน และมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลทุกระยะ 3 ระบบข้อมูลสารสนเทศ พร้อมใช้ และเชื่อมโยงกับระบบ KISS ของกรมอนามัย 4 มีการนำความรู้จากระบบ ไปใช้ประโยชน์ 5 แสดงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ว่าความรู้ (ข้อ 4) ถูกนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการเรียนรู้ ต่อยอดและพัฒนา/ปรับปรุงการปฏิบัติงาน หมวด 2 หมวด 4
ตัวชี้วัดที่ 18 ผลงานที่มีความโดดเด่น ระดับนานาชาติ/ระดับชาติ และระดับพื้นที่ ชื่อผลงาน ................................................................................................. 1. ภารกิจ/บทบาท /หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของส่วนราชการ (มีการอธิบายภารกิจ บทบาท หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของหน่วยงาน ที่มีความสาคัญเชิงยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ/นานาชาติ หรือนโยบายสำคัญของรัฐบาลที่กำหนดไว้) 2. ผลงานที่แสดงถึงการเป็นหน่วยงานที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ โดยผลงานนั้นอาจเทียบกับมาตรฐานสากล รางวัลที่เคยได้รับ รวมทั้งผลการประเมินจากองค์กรภายในหรือภายนอกประเทศ หรืออื่นๆ (การประเมินจะพิจารณาจากความพยายามในการดำเนินการเพื่อบรรลุผล โดยผลงานมีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน /ยุทธศาสตร์ของประเทศ มีตัวอย่างที่ชัดเจนแสดงถึงบทบาทของหน่วยงาน อธิบายผลงานที่เกิดจริงโดยนำมาเทียบเคียงกับเป้าหมายตามแผนงานที่กำหนด มีความก้าวหน้าตามแผนงาน มีการแสดงตัวเลขผลงานที่ชัดเจน มีหลักฐานที่เป็นรูปธรรม หรือการเทียบเคียงความสำเร็จกับค่ามาตรฐานของหน่วยงานที่ดำเนินการในมาตรฐานเดียวกัน มีการอ้างอิงมาตรฐานสากล/รางวัลที่เคยได้รับ)
เกณฑ์การประเมิน : (5 เดือนแรก และ 5 เดือนหลัง) หน่วยงานวิชาการ เสนอผลงานระดับระดับนานาชาติ/ระดับชาติ ศูนย์อนามัยที่ 1-13 เสนอผลงาน ระดับพื้นที่ หน่วยงานสนับสนุน เสนอผลงานโดดเด่นของหน่วยงาน เกณฑ์การประเมิน : (5 เดือนแรก และ 5 เดือนหลัง) พิจารณาความครบถ้วนของรายงานผลสำเร็จของการดำเนินงาน ตามหัวข้อการประเมิน ได้แก่ 1 มีการอธิบายบทบาทภารกิจของหน่วยงาน 2 มีสภาพปัญหา/ความจำเป็นที่ดำเนินการเรื่องนี้ มีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน /ยุทธศาสตร์ของประเทศ 3 มีกระบวนการดำเนินงานเพื่อบรรลุผล /มีตัวอย่างที่ชัดเจนแสดงถึงบทบาทของหน่วยงาน/ 4 มีผลงานที่เกิดจริง มีความเชื่อมโยงกับบทบาทภารกิจของหน่วยงาน /ยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยนำมาเทียบเคียงกับเป้าหมายตามแผนงานที่กำหนด /มีความก้าวหน้าตามแผนงาน/มีการแสดงตัวเลขมีความชัดเจน/มีหลักฐานที่เป็นรูปธรรม 5 มีการนำผลไปใช้ หรือการขยายผล 6 มีการเทียบเคียงความสำเร็จกับค่ามาตรฐานของหน่วยงานที่ดำเนินการในมาตรฐานเดียวกัน / มีการอ้างอิงมาตรฐานสากล/ รางวัลที่เคยได้รับ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ (PA) 36 หน่วยงาน (หน้า 1) สส สภ สท สอพ กกส สพด สอส สว สอน กป ศอ. หน่วยอื่นๆ - พัฒนาการสมวัย 1 1. พัฒนาการสงสัยล่าช้า 2. ติดตามพัฒนาการล่าช้า 3. เด็ก 0-5 ปี สูงดี สมส่วน 4. Long Term Care 5. เด็ก6-14 ปี สูงดี สมส่วน - 6. การคลอดในหญิง 15-19 ปี 7. วัยทำงาน30-44ปี มี BMI ปกติ 8. GREEN&CLEAN Hospital 9. ตำบลต้นแบบ บูรณาการ 10. เครือข่ายบริการ ปฐมภูมิ -PCC - รวม หน้า 1 7 6 5 2 4 9
ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ (PA) 36 หน่วยงาน (หน้า 2) สส สภ สท สอพ กกส สพด สอส สว สอน กป ศอ. ทน่วยอื่นๆ 11. ถ่ายทอดตัวชี้วัด จากหน่วยงาน สู่บุคคล 1 1 1 - การประเมิน ITA 12. การรับรู้เรื่องการ ประเมินคุณธรรม และความโปร่งใส 13. ระดับคุณธรรมและ ความโปร่งใส –EBIT 14. การเบิกจ่ายเงิน งบประมาณ 15. งานวิจัย วิชาการ - 16. การเฝ้าระวัง 17. องค์กร HPO 18. ผลงานที่โดดเด่น รวมทั้งสิ้น 15 14 10 13 12 7
ตัวชี้วัดตามคำรับรองฯ (PA) สำนักผู้ทรงคุณวุฒิ 1. พัฒนาการสงสัยล่าช้า 1 2. ติดตามพัฒนาการล่าช้า 3. เด็ก 0-5 ปี สูงดี สมส่วน 4. Long Term Care 5. เด็ก6-14 ปี สูงดี สมส่วน 6. การคลอดในหญิง 15-19 ปี 7. วัยทำงาน30-44ปี มี BMI ปกติ 8. GREEN&CLEAN Hospital 9. ตำบลต้นแบบบูรณาการ 10. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ -PCC 11. ถ่ายทอดตัวชี้วัดจากหน่วยงานสู่บุคคล 15. งานวิจัย วิชาการ 16. การเฝ้าระวัง 18. ผลงานที่โดดเด่น รวม 13
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2560 องค์ประกอบการประเมิน / ตัวชี้วัด Functional Based (1) 12. ร้อยละการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสของบุคลากร (2) 13. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน –EBIT (3) 14. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน) (4) 16. การเฝ้าระวังในระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (วิชาการ/ศูนย์อนามัย) (5) ..... ตัวชี้วัดที่หน่วยงานเสนอเพิ่มเติม (6) (7) ..... ตัวชี้วัดที่หน่วยงานเสนอเพิ่มเติม ตัวชี้วัดทุกตัวมีน้ำหนักเท่ากัน โดยมีคะแนนเต็มตัวละ 5 คะแนน ทุกหน่วยงานมีตัวชี้วัด 10-15 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2560 ลำดับ องค์ประกอบการประเมิน / ตัวชี้วัด Agenda Based (1) 1. ร้อยละของเด็ก มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า (2) 2. ร้อยละของเด็กมีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ได้รับการติดตาม (3) 3. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน (4) 4. ร้อยละของตำบลต้นแบบ Long Term Care (5) 5. ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน (6) 6. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี (7) 7. ร้อยละของประชาชน อายุ 30-44 ปี มีค่า BMI ปกติ (8) 8. ร้อยละของโรงพยาบาล GREEN&CLEAN Hospital (9) 10. เครือข่ายบริการปฐมภูมิ - PCC (10) 11. ความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานสู่ระดับบุคคล
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน ปีงบประมาณ 2560 องค์ประกอบการประเมิน / ตัวชี้วัด Area Based (1) 9. ร้อยละตำบลต้นแบบบูรณาการ ด้าน HP และ Env. Innovation Based 15. งานวิจัยหรือผลงานวิชาการ ฯลฯ ถูกนำไปใช้ประโยชน์ (2) 17. การดำเนินงานเพื่อสนับสนุนกรมอนามัยสู่องค์กร HPO Potential Based 18. ผลงานที่มีความโดดเด่น
ตัวชี้วัดตาม 5 องค์ประกอบ Functional Based Agenda Based Area Based Innovation Based Potential Based
Functional Based 1 1. งานตามหลักภารกิจพื้นฐาน งานประจำ งานตามหน้าที่ปกติ หรืองานตามหน้าที่ความรับผิดชอบ Functional Based : ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามหลักภารกิจพื้นฐาน งานประจำ งานตามหน้าที่ปกติ หรืองานตามความรับผิดชอบหลัก งามตามกฎหมาย กฎนโยบายของรัฐบาล หรือมติคณะรัฐมนตรี (Functional Based) ประเด็น การประเมิน 2. การดำเนินงานตามกฎหมาย 3. การดำเนินงานตามนโยบายและแผนของรัฐบาล และมติคณะรัฐมนตรี 4. การดำเนินการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน
1. การดำเนินการข้อสั่งการ ของอธิบดี 2. Agenda Based : ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามหลักภารกิจยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิรูปภาครัฐ นโยบายเร่งด่วน หรือภารกิจที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ (Agenda Besed) ประเด็น การประเมิน 2. การดำเนินการตามวาระการขับเคลื่อนของการปฏิรูปประเทศ/กระทรวง 3. การแก้ไขปัญหาสำคัญเฉพาะเรื่องหรือภารกิจที่ได้รับมอบหมายพิเศษจากนายกรัฐมนตรี/รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีที่กำกับและติดตามการปฏิบัติราชการ
3. การดำเนินการตามนโยบายประชารัฐ Area Based 3 1. การดำเนินงานตามภารกิจในพื้นที่/ท้องถิ่น ภูมิภาค จังหวัด กลุ่มจังหวัด 3. Area Based : ประสิทธิภาพในการดำเนินงานตามหลักภารกิจพื้นที่/ท้องถิ่น ภูมิภาค จังหวัด กลุ่มจังหวัด หรือการบูรณาการการดำเนินงานหลายพื้นที่หรือหลายหน่วยงาน ประเด็น การประเมิน 2. การบูรณาการระบบการปฏิบัติงานร่วมกันหลายหน่วยงาน ที่มีภารกิจ ร่วมกันในพื้นที่ 3. การดำเนินการตามนโยบายประชารัฐ
ตัวอย่างประเด็นการประเมิน : 1. การบริหารจัดการพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการ ระบบงาน งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล Innovation Based 4 4. Innovation Based : ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการ ระบบงาน งบประมาณ ทรัพยากรบุคคล และการให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐ (Innovation Based) ประเด็น การประเมิน 2. การบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรมในการให้บริการประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐ 3. ประสิทธิภาพการเบิกจ่ายงบประมาณ (บังคับ) 4. การจัดการข้อร้องเรียนหรือเรื่องราวร้องทุกข์ (ถ้ามี) Innovation Based ตัวอย่างประเด็นการประเมิน : ไม่ใช่นวัตกรรมที่เป็นเรื่องใหม่ก็ได้ อาจเป็นเพียงการบริหารจัดการใหม่ การใช้เทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและเห็นผลเป็นที่ประจักษ์ เช่น การทำ passport ใช้ Outsource แทนการทำเอง - การพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล - การพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการบุคลากรภายในหน่วยงาน - การเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการใช้ทรัพยากรทั้งหมดของหน่วยงาน
Potential Based 1. การเสนอภารกิจ/บทบาท/หน้าที่หลักด้านใดด้านหนึ่งของหน่วยงาน ที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ นโยบายที่สำคัญของรัฐบาลที่กำหนดไว้ 5 5. Potential Based : ศักยภาพในการเป็นส่วนราชการที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามแผนหรือนโยบายระดับชาติ นโยบายที่สำคัญของรัฐบาล (Potential Based) โดยให้ผู้ประเมินนำผลการประเมินส่วนราชการนั้น ซึ่งประเมินโดยองค์กรภายในหรือภายนอกประเทศ ที่ได้รับความเชื่อถือมาประกอบการประเมินด้วย ประเด็น การประเมิน 2. ผลงานที่แสดงถึงการเป็นหน่วยงานที่มีความสำคัญทางยุทธศาสตร์ โดยผลงานนั้นอาจเทียมกับมาตรฐานสากล รางวัลที่เคยได้รับ รวมทั้งผลการประเมินจากองค์กรภายในหรือภายนอกประเทศ หรืออื่นๆ ซึ่งการประเมินจะพิจารณาจากความพยายามในการดำเนินการเพื่อบรรลุผลดังกล่าว และอาจนำผลการประเมินมาพิจารณาประกอบด้วย - ผลประเมินของสำนักงบประมาณ/สศช. ผลประเมินของ Institution of Management Development (IMD) เช่น อันดับความสามารถทางการแข่งขัน Scientific Infrastructure (วท.) ผลประเมินของ World Economic Forum (WEF) เช่นอันดับผลการประเมินคุณภาพโครงสร้างพื้นฐาน (คค.), อันดับขีดความสามารถด้านโครงสร้างพลังงานของประเทศ (Global Energy Architecture Performance Index : EAPI) (พน.) อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยว (TTCI) ของเอเชียแปซิฟิค (กก.) ผลประเมินของ United Nations (UN) เช่น อันดับความสามารถในการแข่งขัน e-Government Readiness ของประเทศไทย (ทก.) อื่นๆ เช่น ดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์ปัญหาคอรัปชั่น (CPI) (ยธ.), ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (DHI) (พม.)
ตัวอย่างการเขียนมาตรการสำคัญและ Small Success ตัวชี้วัด : ร้อยละเด็กอายุ 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด proxy : 1.ร้อยละเด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ไม่น้อยกว่า 20 2.ร้อยละเด็กอายุ 9, 18, 30 และ 42 เดือนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาการไม่น้อยกว่า 90
มาตรการสำคัญที่ทำให้ตัวชี้วัดบรรลุผล : 1. ใช้กลไกการบริหารจัดการโดยคณะอนุกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัย ระดับจังหวัด และ MCH Boardกำกับติดตามให้การจัดระบบบริการเป็นไปตามมาตรฐานบริการอนามัยแม่และเด็กคุณภาพ (Safe mather hood and baby friendly Hospital) (Health สุขภาพดี สมวัย สูงสมส่วน) 2. ส่งเสริมการเรียนรู้ ความเข้าใจให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง เลี้ยงดูเด็กโดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็ก (Passport of life) ใช้กระบวนการ กิน กอด (นมแม่และอาหารตามวัย) เล่น(ต่ำว่า 2 ปี ไม่ใช้สื่ออิเลคโทรนิคเล่นกับลูก อายุ 3 – 5 ปี เล่นอิสระตามวัย) เล่า (ล่านิทานตามอายุเด็ก) เฝ้าดูช่องปาก นอน (Heart ดี มีวินัย) 3. ส่งเสริมการใฝ่เรียนรู้ของเด็ก ด้วยการอ่านเล่านิทาน การเล่น ศิลปะ ดนตรี และฝึกภาษาที่ ๒ ในศูนย์เด็กเล็ก (Head ใฝ่เรียนรู้) 4. ส่งเสริมทักษะความเป็นเลิศตามความถนัด และความชอบของเด็กปฐมวัย โดยความร่วมมือทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (Hand มีทักษะ) 5. การใช้มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก (ร่าง พรบ. ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พศ.....)
Small Success : รอบ 3 เดือน 1.ประชุมคณะอนุกรรมการเด็กปฐมวัยระดับจังหวัดขับเคลื่อนงาน และMCH board และมีรายงานการประชุม 2. มีแผนงานโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามบริบทปัญหาของพื้นที่ 3.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการหากพบพัฒนาการสงสัยล่าช้าติดตามเกระตุ้นพัฒนาการ 4.ให้ความรู้การปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์และการเลี้ยงดูบุตรอายุต่ำกว่า 6 ปีด้วยการสมัครรับข้อความสั้น ตามโครงการ SMSครอบครัวผูกพันเฉลิม พระเกียรติพระนางเจ้า สิริกิตต์ฯ และจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ในสถานบริการสุขภาพทุกระดับ 5.จังหวัดสนับสนุนศูนย์เด็กเล็กจัดบริการตามมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ
Small Success : รอบ 6 เดือน 1.ให้ความรู้การปฏิบัติตัวของหญิงตั้งครรภ์และการเลี้ยงดูบุตรอายุต่ำกว่า 6 ปีด้วยการสมัครรับข้อความสั้น ตามโครงการ SMSครอบครัวผูกพันเฉลิมพระเกียรติ พระนางเจ้า สิริกิตต์ฯ และจัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่ในสถานบริการสุขภาพทุกระดับ 2.พัฒนาระบบริการตามมาตรฐานบริการอนามัยแม่และเด็กคุณภาพ (Safe motherhood and baby friendly Hospital) และให้สถานบริการประเมินตนเอง แล้วส่งผลการประเมินมายังกรมอนามัยเพื่อรับการสุ่มประเมิน 3.ส่งเสริมการใฝ่เรียนรู้ของเด็ก ด้วยการอ่านเล่านิทาน การเล่น ศิลปะ ดนตรี และฝึกภาษาที่ ๒ โดยศูนย์เด็กเล็ก 4.ประสานศูนย์เด็กเล็กโรงเรียน และเทศบาล เพื่อจัดทำโครงการส่งเสริมทักษะความเป็นเลิศตามความถนัด และความชอบของเด็กปฐมวัย 5.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการหากพบพัฒนาการสงสัยล่าช้าติดตามกระตุ้นพัฒนาการ
Small Success : รอบ 9 เดือน Small Success : รอบ 12 เดือน 1.พ่อ แม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก ใช้สมุดสีชมพูในการดูแลสุขภาพตนเองและเด็ก 2.จังหวัดคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบศูนย์เด็กเล็กวัยเตาะแตะ (3เดือน-2ปีครึ่ง) จังหวัดละ 1 แห่ง 3.จังหวัดมีต้นแบบมุมเล่นตามรอยพระยุคลบาทฯ ใน WCC อย่างน้อย 1 แห่ง 4.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการหากพบพัฒนาการสงสัยล่าช้าติดตามกระตุ้นพัฒนาการ Small Success : รอบ 12 เดือน 1.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ทุกคนได้รับการประเมินคัดกรองพัฒนาการและพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า(ตรวจครั้งแรก) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ20 2.เด็กอายุ 9,18,30 และ 42 เดือน ที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตามกระตุ้นพัฒนาร้อยละ 90 3. เด็กมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 85 4.รายงานสถานการพัฒนาการณ์เด็กปฐมวัยครั้งที่ 6 (DENVER II ) 5.จังหวัดมีต้นแบบศูนย์เด็กเล็กวัยเตาะแตะ (3เดือน-2ปีครึ่ง)
ปฏิทินการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560 ก.สาธารณสุข กิจกรรมการดำเนินการ กรมอนามัย 11 ต.ค. 59 ทุกกรม เสนอ (ร่าง) มาตรการ เป้าหมาย Small Success รอบ 3,6,9 และ 12 เดือนในที่ประชุม TBM Workshopการจัดทำคำรับรองระดับหน่วยงาน 13-14 ต.ค. 59 28 ต.ค. 59 พิธีลงนามในคำรับรองการปฏิบัติราชการ (PAกระทรวง) กรมอนามัย - พิธีลงนามคำรับรอง 1 พ.ย. 59 พัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานคำรับรอง ฯ 16-17 พ.ย. 59