การฟื้นฟูความรู้เรื่อง การดูแลเท้าเบาหวาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
การควบคุมคลัตช์ ด้วยกลไก
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
ทักษะการปฏิเสธ ทักษะการปฏิเสธ •ถ้าฝ่ายชายถูกเนื้อต้องตัวฝ่ายหญิง เช่น จับมือ จับแขน   ฝ่ายหญิงต้องแสดงอาการหวงตัวให้ฝ่ายชายรู้สึกว่าไม่ควรทำเช่นนี้อีก 
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ภาวะ โลก ร้อน.  ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ประวตศาสตร์เป็ นวชาทศี่ ึกษาเกยวกบอดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเกดขึนซึ่งมผล ต่อมนุษยชาตเิ มอื่ เหตุการณ์น้ันเปลยี่
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดศรีสะเกษ
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
เริ่มทำแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
นวัตกรรมทางการพยาบาล “FIFO cautery box”
ความดัน (Pressure).
การออกแบบและนำเสนอบทเรียน
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ศาสนาเชน Jainism.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
การติดตาม (Monitoring)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
Welcome.. ข่าวประชาสัมพันธ์ กองคลัง สาระน่ารู้
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การฟื้นฟูความรู้เรื่อง การดูแลเท้าเบาหวาน

การตรวจคัดกรองเพื่อประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน หัวข้อ

ปัญหาเรื่องเท้าในผู้เป็นเบาหวาน ความชุกของการเกิดแผลที่เท้าจากโรคเบาหวาน พบร้อยละ 2-10 ในผู้เป็นโรคเบาหวาน ผู้ป่วยเบาหวาน 1 ใน 6 ราย จะเคยมีแผลเบาหวานอย่างน้อยหนึ่งครั้ง

เบาหวานเป็นสาเหตุของ การถูกตัดขา ที่พบบ่อยที่สุด

การดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานที่เหมาะสม สามารถลดอัตราการ ถูกตัดขาได้ประมาณ 49-85 %

เริ่มต้นที่เท้า เป็นตำแหน่งแรก !! เป็นสาเหตุหลักของการเกิดแผลที่เท้า 45-60% ของแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวานเป็นแผลจากปลายประสาทเสื่อม ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ได้แก่ ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง การสูบบุหรี่

หลอดเลือดส่วนปลายที่ขา ตีบตัน มีผลต่อการหายของแผลที่เท้า ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ระดับความดันโลหิตสูง ระดับไขมันในเลือดสูง สูบบุหรี่ Sedentary lifestyle อายุมากขึ้น

ผู้เป็นเบาหวานจำเป็นต้องได้รับ การประเมินเท้าโดยละเอียด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาที่เท้า ปัจจัยที่สำคัญ คือ เส้นประสาทที่เท้าดี และหลอดเลือดที่มาเลี้ยงเท้าดี Standard of medical care ADA 2012

การตรวจประเมินเท้าเบาหวาน การตรวจเท้าผู้ป่วยเบาหวาน 1. ควรประเมินลักษณะภายนอกของเท้ารวมถึงเท้าผิดรูป 2. ประเมินปลายประสาทโดยใช้ monofilament น้ำหนัก 10 กรัม 3. คลำชีพจรที่เท้า 4. ตรวจรองเท้าของผู้ป่วย

การตรวจประเมินเท้า ตรวจเท้าทั่วทั้งเท้า หลังเท้า ฝ่าเท้า ส้นเท้า และซอกนิ้วเท้า ว่ามีแผลเกิดขึ้นหรือไม่ ตรวจผิวหนังทั่วทั้งเท้า โดยดูสีผิว มีซีดคล้ำ อุณหภูมิ ขน ผิวหนังแข็ง หรือตาปลาและการอักเสบติดเชื้อ และบริเวณซอกนิ้วเท้า ตรวจเล็บ ดูว่ามีเล็บขบ และดูร่องรอยของวิธีการตัดเล็บว่าถูกต้องหรือไม่ ตรวจลักษณะการผิดรูปของเท้าจากการมีปลายประสาทเสื่อม ได้แก่ นิ้วเท้าจิก เท้าแบน นิ้วหัวแม่เท้าเก

Standard of medical care ADA 2012

การตรวจประเมินเล็บเท้า ตรวจเล็บเท้า : สี ลักษณะรูปร่าง และ เชื้อรา

การตรวจประเมินเท้าเบาหวาน ขั้นตอนการตรวจการรับความรู้สึกโดยใช้ โมโนฟิลาเมน น้ำหนัก 10 กรัม

1) ทำการตรวจในห้องที่มีความเงียบสงบ และอุณหภูมิห้องที่ไม่เย็นจนเกินไป 2) อธิบายขั้นตอนและกระบวนการตรวจให้ผู้ป่วยเข้าใจก่อนทำการตรวจ และใช้ปลายของ โมโนฟิลาเมน แตะ และกดที่บริเวณฝ่ามือหรือท้องแขน ของผู้ป่วยในน้ำหนักที่ทำให้ โมโนฟิลาเมน งอตัวเล็กน้อย ประมาณ 1-1.5 วินาที เพื่อให้ผู้ป่วยทราบและเข้าใจถึงความรู้สึกที่กำลังจะทำการตรวจ

3) ให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอนในท่าที่สบาย และวางเท้าบนที่วางเท้าที่มั่นคง ซึ่งมีแผ่นรองเท้าที่ค่อนข้างนุ่ม 4) เมื่อจะเริ่มตรวจให้ผู้ป่วยหลับตา 5) ใช้ โมโนฟิลาเมน แตะในแนวตั้งฉากกับผิวหนัง ทีละตำแหน่ง ทั้งหมดตรวจ 4 ตำแหน่ง

โดยหลีกเลี่ยงบริเวณหนังหนาหรือตาปลา หรือแผลเป็น และค่อยๆ กดลงจน โมโนฟิลาเมน มีการงอตัวเพียงเล็กน้อย แล้วกดค้างไว้นาน 1-1.5 วินาที

ในการตรวจแต่ละตำแหน่งให้ทำการตรวจ 3 ครั้ง โดยเป็นการตรวจจริง ( คือมีการใช้ โมโนฟิลาเมน แตะและกดลงที่เท้าผู้ป่วยจริง) 2 ครั้ง และตรวจหลอก ( คือ ไม่ได้ใช้ โมโนฟิลาเมน แตะที่เท้าผู้ป่วย แต่ให้ถาม ผู้ป่วยว่า “รู้สึกว่ามี โมโนฟิลาเมน มาแตะหรือไม่?”) 1 ครั้ง ซึ่งลำดับการตรวจจริงและหลอกไม่จำเป็นต้องเรียงลำดับที่เหมือนกันในการตรวจแต่ละตำแหน่ง Disadvantages

Plantar Pressure Evaluation 6) ถ้าผู้ป่วยสามารถตอบการรับความรู้สึกได้ถูกต้องอย่างน้อย 2 ครั้ง ใน 3 ครั้ง (ซึ่งรวมการตรวจหลอกด้วย 1 ครั้ง ดังกล่าวในข้อ 5) ของการตรวจแต่ละตำแหน่ง แปลผลว่าการรับความรู้สึกในการป้องกันตนเองที่เท้า ของผู้ป่วยยังปกติ 7) ถ้าผู้ป่วยสามารถตอบการรับความรู้สึกได้ถูกต้องเพียง 1 ครั้ง ใน 3 ครั้ง (ซึ่งรวมการตรวจหลอกด้วย 1 ครั้ง ดังกล่าวในข้อ 5) หรือตอบไม่ถูกต้องเลย ให้ทำการตรวจซ้ำใหม่ที่ตำแหน่งเดิม ตามข้อ 5 ข้อพึงระวัง ผู้ป่วยที่มีเท้าบวม หรือเท้าเย็นอาจให้ผลตรวจผิดปกติได้ Plantar Pressure Evaluation

8) การตรวจพบการรับความรู้สึกในการป้องกันตนเองที่เท้าผิดปกติ แม้เพียงตำแหน่งเดียว แปลผลว่าผู้ป่วยสูญเสียความรู้สึกในการป้องกันตนเองที่เท้า 9) สำหรับผู้ป่วยที่มีผลการตรวจปกติ ควรได้รับการตรวจซ้ำปีละ 1 ครั้ง

ปัญหาของหลอดเลือดที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน คลำชีพจรหลอดเลือดที่เท้า ได้แก่ เส้นเลือดแดงที่อยู่บริเวณหลังเท้า ชีพจร ที่จับได้จะอยู่หลังเท้าระหว่างนิ้วหัวแม่เท้ากับนิ้วชี้ และเส้นเลือดแดงที่อยู่บริเวณหลังปุ่มกระดูกข้อเท้าด้านใน

การเลือกลักษณะรองเท้าที่เหมาะสมสําหรับผู้ป่วยเบาหวาน

การตรวจประเมิน: รองเท้า ลักษณะรองเท้า หุ้มส้น สวมใส่พอดี ไม่คับ ไม่หลวมจนเกินไป รองเท้าหน้ากว้าง สิ่งแปลกปลอมในรองเท้า ถุงเท้า และตะเค็บ Insoles, orthoses

Neuropathic Ulcer

การดูแลเท้าด้วยตนเอง รักษาเท้าให้แห้งสะอาดอยู่เสมอ ตรวจดูเท้าตนเองทุกวัน ถ้ามีปัญหาให้รีบปรึกษาแพทย์ทันที ทาโลชั่นที่เท้าเพื่อให้ความชุ่มชื้น ยกเว้นที่ง่ามนิ้ว ถ้าจำเป็นต้องแช่เท้าในน้ำ ให้ใช้มือหรือข้อศอกทดสอบอุณหภูมิ ของน้ำก่อน

การดูแลเท้าด้วยตนเอง ให้สวมถุงเท้าเสมอในเวลากลางวัน และ เปลี่ยนถุงเท้าทุกวัน ให้สวมถุงเท้าหากเท้าเย็นในเวลากลางคืน ไม่ควรใช้กระเป๋าน้ำร้อนวางบนเท้า เลือกรองเท้าให้เหมาะสม ไม่แน่นคับ หรือหลวมเกินไป ตรวจดูรองเท้า ทั้งภายนอกและภายใน ก่อนการสวมใส่เสมอ

ติดตามการรักษาอย่างสม่ำเสมอ ปรึกษาแพทย์ทันที เมื่อมีปัญหาใด ๆ

สิ่งที่ไม่ควรกระทำ... การสูบบุหรี่ การปล่อยให้เท้าเปียก โดยไม่เช็ดให้แห้ง ตัดเล็บจนลึก และสั้นจนเกินไป การขูดตาปลา หรือใช้สารเคมีเพื่อลอกตาปลาด้วยตนเอง การเดินเท้าเปล่า ไม่ใส่รองเท้า การเดินบนพื้นที่ร้อน การใส่รองเท้าคีบ

บทสรุป ปัญหาเรื่องเท้าเบาหวานเป็นสิ่งที่ป้องกันได้ ถ้าได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม ตรวจประเมินเท้าเบาหวานอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง เพื่อประเมินหาความผิดปกติที่เท้าและเล็บ ความผิดปกติทางระบบประสาท และ ความผิดปกติของหลอดเลือด การดูแลเท้าด้วยตนเองเป็นสิ่งที่ควรทำเป็นประจำทุกวัน