Medication Reconciliation

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Medication reconciliation
Advertisements

การจัดการความเสี่ยงด้านยา ปี 2550
หอผู้ป่วย PICU ขอเสนอผลงาน ส.6.
Medication reconciliation
Medication Review.
A3 PROBLEM REPORT A3 PROBLEM SOLVING พญ. พัชร์จิรา เจียรณิชานันท์
การรายงาน ADR/ การป้องกันการแพ้ยาซ้ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
คณะกรรมการเภสัชกรรม และการบำบัด
โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 04. ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก
การจัดการระบบยา เพื่อ ความปลอดภัย บันไดขั้น 2 สู่ ขั้น 3.
Dead case Ward หญิง.
ความสุขที่กลับมาเหมือนเดิม
โดย นสภ. นภาลัย อมรเทพดำรง
Pharmacist‘s role in Warfarin Team
รพ.พุทธมณฑล.
Septic shock part 1 Septic shock part 1 Septic shock part 2.
การขับเคลื่อนงาน ด้านการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุบนท้องถนนในปัจจุบัน 1 นำเสนอโดย นายจุมพฏ วรรณฉัตรสิริ ผู้อำนวยการกองบูรณาการความปลอดภัยทางถนน ข้อมูลประกอบการเสวนา.
 รอบ 3 เดือน,พัฒนาบุคลากร เครือข่ายคณะกรรมการในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล วางแนวทางการ ดำเนินงาน  รอบ 6 เดือน ดำเนินงานตามมาตรฐาน การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้หวัด.
หน่วยงาน ( ชื่อหน่วยงาน......) ประเมินผลการดำเนินงานประจำปี 2556.
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ผ้าห่มไม่หายแค่ใส่ตัวเลข ปัญหาและการปรับปรุงแก้ไข
การจัดบริการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
ยาที่ใช้ในโรคไตเรื้อรัง (Pharmacotherapy in CKD) ประกอบการประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพพยาบาล หน่วยปฐมภูมิ เขต 3 ภญ.จันทกานต์ อภิสิทธิ์ศักดิ์ กลุ่มงานเภสัชกรรม.
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
การอบรมการใช้ยา HAD.
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
งบแสดงสถานะการเงิน รายการ ปีงบ 61 ณ 28 ก.พ. 61
Risk Management System
การดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.
การทดสอบสมมติฐาน.
มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
โรคไข้เลือดออก เห็ดพิษ รณรงค์วัคซีนไข้หวัดใหญ่ คลีนิกวัคซีนผู้ใหญ่
Medication Management System การพัฒนาระบบยาโรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
บทที่ 9 ระบบปฏิบัติการ Windows
การบริหารจัดการประเมินและดูแลผู้ป่วย ก่อนกลับเข้าทำงาน
การขออนุมัติดำเนินโครงการ ภายใต้ข้อบังคับฯ 2559
รูปแบบและขั้นตอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในการรับประทานยาต่อเนื่องสำหรับโรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลจิตเวชนครราชสีมาราชนครินทร์ 19 มกราคม.
โรงพยาบาลคุณธรรม โรงพยาบาลชะอำ
นางเกษรา อุ่นใจ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
เวชระเบียน และ สถิติ Medical Record and Statistics
แนวทางการประเมินผลงานวิชาการ จังหวัดนครศรีธรรมราช
การใช้ยา.
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอแม่ทา
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
คลินิกทันตกรรมคุณภาพ
แนวทางการดำเนินงานให้วัคซีน ชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์สายพันธุ์ SA
สรุปผลงานประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑
สรุปตัวชี้วัด ของหน่วยตรวจพิเศษ ปี 57.
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน การบริการ.
สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การพัฒนา รพ.สต.ตำบลคุณภาพ (ศูนย์เรียนรู้ด้าน IT)
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
Service Profile :บริการหอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง รพร.เดชอุดม
การตรวจราชการและนิเทศงาน
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Medication Reconciliation

กระบวนการ Medication Reconciliation ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก 1. รวบรวมประวัติการใช้ยาที่ถูกต้องสมบูรณ์ของผู้ป่วย เพื่อจัดทำรายการการใช้ยา 2. ตรวจสอบความถูกต้องของรายการยาและขนาดยาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย 3. ตรวจสอบความแตกต่างของรายการยา โดยเปรียบเทียบรายการยาที่ผู้ป่วยเคยได้รับกับรายการยาที่แพทย์สั่งเมื่อมีการเปลี่ยนระดับการรักษา เช่น การรับเข้า ส่งต่อ หรือจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล ในกรณีที่พบความแตกต่างจะต้องสอบถามแพทย์ว่า เป็นความคลาดเคลื่อนทางยาหรือไม่ และต้องประสานงานกับแพทย์เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดจากความคลาดเคลื่อนทางยาด้วย

ร.พ.ศรีสังวรสุโขทัย กำลังดำเนินการอยู่ ร.พ.ศรีสังวรสุโขทัย กำลังดำเนินการอยู่

/เภสัชกร

แพทย์สั่งใช้ ยาเดิมของผู้ป่วย ซึ่งมีในบัญชียาโรงพยาบาล ห้องยาจ่ายยาของโรงพยาบาลแทน ถุงยาเดิมของผู้ป่วย (เป็นยาที่มีในบัญชียาโรงพยาบาล : ใช้ยาของโรงพยาบาลจัดให้) ชื่อ-สกุลของผู้ป่วย ...................................หอผู้ป่วย ............... กรุณาเก็บถุงยาเดิมนี้ไว้ที่หอผู้ป่วย [วันกลับบ้าน กรุณานำถุงยานี้มาที่ห้องยา]

แพทย์สั่งใช้ยาเดิมของผู้ป่วย ซึ่งไม่มีในบัญชียาโรงพยาบาล เก็บยาไว้ห้องยา จ่ายยาตามระบบการกระจายยา one-day ตั้งราคา 0 บาท

สำหรับการสื่อสารกันระหว่างเจ้าหน้าที่ห้องยา จะได้ไม่ลืมคืนยาให้ผู้ป่วย

กระบวนการที่ขาดหายไป / ยังไม่สมบูรณ์ ช่วง admit – ภายหลัง admit 24 ชั่วโมง การรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทำรายการการใช้ยาของผู้ป่วยยังไม่สมบูรณ์ การส่งต่อข้อมูลยังไม่เป็นระบบที่ชัดเจน ขาดการส่งต่อข้อมูล เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผู้ดูแลผู้ป่วย/ย้าย ward การส่งต่อข้อมูลเมื่อ D/C หรือ Refer

ช่วง admit – ภายหลัง admit 24 ชั่วโมง รอผลการยืนยันการสั่งใช้ยา Atenolol 50 mg / 1 x 1 pc 1 x 1 pc **ยาในบ/ช ร.พ. [ใช้ยาร.พ. จัดแทน]** Glibenclamide ไม่ได้นำมา 1 x1 ac ยังไม่ได้สั่งใช้ รอผลการยืนยันการสั่งใช้ยา / Gemfibrozil 600 mg 1 x 2 ac 1 x 2 ac **ยานอกบ/ช ร.พ. [เก็บยาไว้ห้องยา]** Lipitor 20 mg / 1 x 1 hs 1 x 1 hs **ยานอกบ/ช ร.พ. [เก็บยาไว้ห้องยา]**

ป้อนรายการยานอกบ/ช ร.พ. ใน HOS-XP 2 1

Print out จาก โปรแกรม HOS-XP ยานอกบ/ช ร.พ. (ยาเดิมผู้ป่วย) Medication Reconciliation IPD ร.พ. ศรีสังวรสุโขทัย (ภายหลัง admit ไม่เกิน 24 ชั่วโมง) วันรับยาล่าสุด 20/06/52 ประวัติการรับยา OPD * 20/06/52 * 20/06/52 Print out จาก โปรแกรม HOS-XP * 20/06/52 20/06/52 * 20/06/52 ยานอกบ/ช ร.พ. (ยาเดิมผู้ป่วย) แหล่งที่มา 1. Gemfibrozil 600 mg 1x2 ac คลินิก 2. Lipitor 20 mg 1x1 hs ประวัติการรับยาอื่นๆ ที่คีย์เข้าไป

Print out จาก โปรแกรม HOS-XP Medication Reconciliation IPD (สำหรับการส่งต่อข้อมูลเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผู้ดูแลผู้ป่วย /ย้าย ward) Print out จาก โปรแกรม HOS-XP

การส่งต่อข้อมูลเมื่อมีการ Refer หรือ D/C งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยในจะพิมพ์ใบแสดงรายละเอียดการใช้ยาวันที่แพทย์สั่งยากลับบ้านให้กับผู้ป่วยแนบไปกับใบนัดหรือใบส่งตัวเพื่อรักษาต่อที่โรงพยาบาลอื่นให้ด้วย แต่ไม่ได้พิมพ์ให้ทุกรายจะพิมพ์ก็ต่อเมื่อเข้าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ดังนี้ ผู้ป่วยมีโรคเรื้อรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เบาหวาน ที่จำเป็นต้องได้รับยาเพื่อการรักษาอย่างต่อเนื่อง และนัดรับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน แพทย์ส่งตัวผู้ป่วยให้ไปรักษาต่อที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน เช่น ส่งตัวผู้ป่วยและนำยาจากโรงพยาบาลศรีสังวร ไปฉีดต่อที่โรงพยาบาลสวรรคโลก เป็นต้น ผู้ป่วยมีแนวโน้มว่าจะใช้ยาไม่ถูกต้อง หรือไม่ใช้ยาตามที่แพทย์สั่ง เพราะมีการใช้ยาหลายชนิด มีหลายโรค เป็นต้น

Print out จาก โปรแกรม HOS-XP * * * * * การส่งต่อข้อมูล ระหว่างโรงพยาบาล นัด F/U วันที่ 12 มิ.ย. 2552 เพื่อรับยาและรักษาต่อเนื่องที่โรงพยาบาล...........ของท่าน

แนวทางปฏิบัติและจัดการ Emergency Drug Stat Drug Now order drug

Stat vs Emergency Drugs Stat drug หมายถึง ยาที่ให้แก่ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน แต่ไม่ใช่ยาฉุกเฉิน (Emergency drug) Emergency drug หมายถึง ยาที่ใช้ในการช่วยชีวิต ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจและหลอดเลือดล้มเหลว มีอาการแพ้ยาอย่างรุนแรง มีอาการชัก หรือมีภาวะหลอดลมหดเกร็ง หากไม่ได้รับยาอย่างทันท่วงที อาจทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้

Emergency drug มีระบบที่แยกออกจากยาอื่นๆ ที่สำรองในหอผู้ป่วย เนื่องจากเป็นยาช่วยชีวิตจึงต้องมีระบบการสำรองยาและ นำยามาใช้ได้อย่างรวดเร็ว มีระบบที่แยกออกจากยาอื่นๆ ที่สำรองในหอผู้ป่วย ใส่ไว้ใน รถเข็นยาฉุกเฉิน/กล่องยาฉุกเฉิน ตัวอย่างยา เช่น Sodium bicarbonate ,Calcium gluconate ,Adrenaline ,Glucose ,Atropine เป็นต้น

ยังมี Now order อีก แต่ dose ต่อไป สามารถให้ตามเวลาปกติได้ แต่ Now order ไม่ใช่ Stat และไม่ใช่ Emergency

Stat ให้ด่วน จนท. ส่ง order ไปห้องยา มิฉะนั้นเพิ่มโอกาสตาย ขอยาด่วน ความเร่งด่วน การจัดการ Emergency ต้องให้ทันที มีรถ/กล่องยาฉุกเฉิน ไม่เช่นนั้นตายทันที ส่งorder ไปห้องยาตามปกติ Stat ให้ด่วน จนท. ส่ง order ไปห้องยา มิฉะนั้นเพิ่มโอกาสตาย ขอยาด่วน Now ให้เร็วที่สุดเท่าที่ทำได้ ญาติ ถือ order ไปห้องยา ไม่เกี่ยวกับกับตาย

มิฉะนั้นเพิ่มโอกาสตาย Stat Drugs “ขอยาด่วน!” สภาวะโรคของผู้ป่วยจำเป็นต้องรับยาอย่างรีบด่วน มิฉะนั้นเพิ่มโอกาสตาย