Strategic Line of Sight

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
หมวด4 10 คำถาม.
บทที่ 1 ภาพรวมของการสอบบัญชี
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
Draft Application Report
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
กระบวนการในการประกอบธุรกิจ ( Processes in Business )
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ Thai Qualifications Framework for Higher Education for Higher Education TQF : HEd TQF : HEd Thai Qualifications.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
หมวด 4 การวิเคราะห์และการจัดการความรู้
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
11 ตุลาคม 2559 ห้องประชุมชั้น 4 กรมสุขภาพจิต
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ผอ.เบญจวรรณ ไกรวุฒินันท์ ดร.จารุวัลฐ์ สุทธิสานนท์
หมวด 6 การปฏิบัติการ.
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ผอ.เบญจวรรณ ไกรวุฒินันท์ ดร.จารุวัลฐ์ สุทธิสานนท์
3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
ผู้อำนวยการกองบริหารการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
โครงร่างองค์กร (Organizational Profile : OP)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
รางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน OBECQA
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Office of Basic Education Commission Quality Award (OBECQA)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
8/26/2019 ชื่อบริษัท แผนธุรกิจ.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Strategic Line of Sight 6 5 4 3 2 1

4 หมวด การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ Measurement, Analysis and Knowledge Management) 4

เป็นหมวดหลักของเกณฑ์ในด้านสารสนเทศที่สำคัญทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการ รวมทั้งการจัดการความรู้ของโรงเรียนอย่างมีประสิทธิผล เพื่อผลักดันให้เกิดการปรับปรุง การสร้างนวัตกรรม และการเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน 3

4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 4.1 การวัด การวิเคราะห์และ การปรับปรุงผลการดำเนินการ ของโรงเรียน 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ก. ความรู้ขององค์กร ข. การวิเคราะห์และทบทวนผล การดำเนินการ ข. ข้อมูล สารสนเทศและเทคโนโลยี สารสนเทศ ค. การปรับปรุงผลการดำเนินการ

4.1 การวัด การวิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการของโรงเรียน ก. การวัดผล การดำเนินการ ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ ค. การปรับปรุง ผลการดำเนินการ

การเลือกและใช้ข้อมูลสารสนเทศ ก. การวัดผลการดำเนินการ ตัววัดผล การดำเนินการ -เลือก -รวบรวม -ปรับ -ติดตาม -ระยะสั้น -ระยะยาว ข้อมูลเชิง เปรียบเทียบ -เลือก -ใช้ อย่างมีประสิทธิผล การเลือกและใช้ข้อมูลสารสนเทศ -จากเสียงของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความคล่องตัว ของการวัดผล ที่ระบุใน P 2ก (3) การเลือกตัวเปรียบเทียบเชิงแข่งขัน หรือเปรียบเทียบผล การดำเนินการระหว่าง ร.ร. กับโรงเรียนคู่แข่ง P1 ข (2) (รวมข้อร้องเรียน)

ข. การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ โรงเรียนและผู้นำระดับสูงมีกระบวนการทบทวนเกี่ยวกับ... การประเมินผลสำเร็จของโรงเรียน ตอบสนองอย่างรวดเร็วต่อการเปลี่ยนแปลง ทบทวนผลการดำเนินการและความก้าวหน้า เทียบกับ – วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ - แผนปฏิบัติการ

ค. การปรับปรุงผลการดำเนินการ การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และ วิธีปฏิบัติ ที่เป็นเลิศ ผลการดำเนินการ ในอนาคต การปรับปรุง อย่างต่อเนื่องและ นวัตกรรม

4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ก. ความรู้ขององค์กร ข. ข้อมูล สารสนเทศและ เทคโนโลยีสารสนเทศ

ก. ความรู้ขององค์กร กระบวนการจัดการความรู้ กระบวนการการเรียนรู้ ของโรงเรียน (รวบรวม ถ่ายทอด ผสาน หาแหล่งความรู้ใหม่ ๆ ใช้สร้างนวัตกรรมและ กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์) กระบวนการการเรียนรู้ ระดับองค์กร (ใช้องค์ความรู้และทรัพยากร ฝังลึกในการเรียนรู้และ วิถีการทำงานขององค์กร)

ข. ข้อมูล สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ คุณภาพ ความปลอดภัย ความพร้อมใช้งาน คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ ความพร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน

การปฏิบัติการ Operations หมวด การปฏิบัติการ Operations 6

อรชร จันทร์ผ่อง System Process Sub-processes Process 16

6.1 กระบวนการทำงาน 6.2 ประสิทธิผลของ การปฏิบัติการ ก. การออกแบบหลักสูตรและกระบวนการ ก. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ ข. การจัดการกระบวนการ ข. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน ค. การจัดการนวัตกรรม ค. การเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยและภาวะฉุกเฉิน

6.1 กระบวนการทำงาน ก. การออกแบบหลักสูตรและกระบวนการ ข. การจัดการกระบวนการ ค. การจัดการนวัตกรรม

ก. การออกแบบหลักสูตรและกระบวนการ ข้อกำหนดของหลักสูตรและกระบวนการ แนวคิดในการออกแบบ

ข. การจัดการกระบวนการ การนำกระบวนการไปปฏิบัติ กระบวนการสนับสนุน การปรับปรุงหลักสูตรและกระบวนการ

ค. การจัดการนวัตกรรม โรงเรียนมีกระบวนการอย่างไรในการดำเนินการตามโอกาสเชิงกลยุทธ์ที่โรงเรียนกำหนดเป็นความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างรอบด้าน โรงเรียนดำเนินการอย่างไรทำให้ทรัพยากรต่าง ๆ พร้อมสนับสนุนโอกาสเหล่านี้ โรงเรียนมีวิธีการอย่างไรในการพิจารณายุติโอกาสเชิงกลยุทธ์ในเวลาที่เหมาะสมเพื่อไปสนับสนุนโอกาสที่มีลำดับสูงกว่า

6.2 ประสิทธิผลของการปฏิบัติการ ก. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ ข. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน ค. การเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยและภาวะฉุกเฉิน

ก. ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ วิธีการของโรงเรียนในการควบคุมต้นทุนโดยรวมของการปฏิบัติการในเรื่อง... - นำรอบเวลา ผลิตภาพ ปัจจัยด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลมาใช้พิจารณากระบวนการทำงาน - ป้องกันความสูญเสียต่าง ๆ - ลดการสูญเสียผลิตภาพของนักเรียนให้น้อยที่สุด - ลดต้นทุน - สร้างความสมดุลระหว่างความจำเป็นของการควบคุมต้นทุนกับความต้องการของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงานที่โรงเรียนใช้คืออะไร กระบวนการประเมินผลที่โรงเรียนใช้คืออะไร ? กระบวนการเรียนรู้ระดับองค์กรของโรงเรียนคืออะไร? กระบวนการสร้างนวัตกรรมของโรงเรียนคืออะไร ?

การประเมินผลดำเนินการ โรงเรียนใช้เครื่องมือ KPI, Balance Scorecard ระบบการปรับปรุงผลและพัฒนาคุณภาพโรงเรียนใช้ ISO series, PDCA , ผลประเมินคุณภาพ สมศ. การประเมินผลดำเนินการ โรงเรียนใช้เครื่องมือ KPI, Balance Scorecard การเรียนรู้ระดับองค์กร โรงเรียนใช้เครื่องมือ Performance Review System การจัดการความรู้ โรงเรียนใช้เครื่องมือ Community of Practice(CoP), Nonaka Model การสร้างนวัตกรรม โรงเรียนใช้ DMADV Model ของ Six Sigma , R2R(Routine to Reseach)

ข. การจัดการห่วงโซ่อุปทาน โรงเรียนมีวิธีการจัดการห่วงโซ่อุปทานในเรื่องต่อไปนี้อย่างไร เลือกผู้ส่งมอบที่มั่นใจได้ว่ามีคุณสมบัติตอบสนองความจำเป็นด้านการปฏิบัติการ พร้อมที่จะช่วยยกระดับการดำเนินการของโรงเรียนและความพึงพอใจของนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วัดและประเมินผลงานผู้ส่งมอบ ให้ข้อมูลป้อนกลับแก่ผู้ส่งมอบเพื่อนำไปปรับปรุง จัดการกับผู้ส่งมอบที่มีผลการดำเนินการที่ไม่ดี

ค. การเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยและภาวะฉุกเฉิน การเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน ภัยพิบัติ

หมวด ผลลัพธ์ RESULTS 7

7.1 ผลลัพธ์ด้านหลักสูตรและกระบวนการ 7.2 ผลลัพธ์ด้านนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.3 ผลลัพธ์ด้านบุคลากร 7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กรและการกำกับดูแลองค์กร 7.5 ผลลัพธ์ด้านการเงินและตลาด

7.1 ผลลัพธ์ด้านหลักสูตรและกระบวนการ ผลลัพธ์ด้านหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการทำงาน -ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกระบวนการ -การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน ผลลัพธ์ด้านการจัดการห่วงโซ่อุปทาน

7.2 ผลลัพธ์ด้านนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความพึงพอใจ ความผูกพัน

7.3 ผลลัพธ์ด้านบุคลากร ขีดความสามารถและอัตรากำลัง บรรยากาศการทำงาน การทำใหบุคลากรมีความผูกพัน การพัฒนาบุคลากร

7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กรและการกำกับดูแลองค์กร ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร การกำกับดูแลองค์กรและความรับผิดชอบต่อสังคม -การนำองค์กร - การกำกับดูแลองค์กร - กฎหมายและกฎระเบียบข้อบังคับ - จริยธรรม - สังคม ผลลัพธ์ด้านการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ

7.5 ผลลัพธ์ด้านการเงินและตลาด ผลการดำเนินการ.... - ด้านการเงิน - ด้านตลาด

7.1 ผลลัพธ์ด้านหลักสูตรและกระบวนการ 7.2 ผลลัพธ์ด้านนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.3 ผลลัพธ์ด้านบุคลากร 7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กรและการกำกับดูแลองค์กร 7.5 ผลลัพธ์ด้านการเงินและตลาด