14 กรกฎาคม 2560 ห้องประชุมพลับพลึง ชั้น5 อาคารผู้ป่วยนอก รพพ. การพัฒนาระบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขาออร์โธปิดิกส์ จังหวัดพิษณุโลก 14 กรกฎาคม 2560 ห้องประชุมพลับพลึง ชั้น5 อาคารผู้ป่วยนอก รพพ.
ปัญหาที่ผ่านมาของงาน บริการสาธารณสุข ปัญหาที่ผ่านมาของงาน บริการสาธารณสุข ปัญหาความแออัดของหน่วย บริการตติยภูมิ หลายอย่างสามารถดูแลได้ใน หน่วยบริการทุตติยภูมิ และปฐมภูมิ แต่ถูกส่งมารักษาในระดับตติยภูมิ Service plan จำเป็นต้องมีการ พัฒนาทุกระดับเพื่อการกระจายการ รับบริการสุขภาพ ไปยังหน่วยงาน แต่ละระดับได้อย่างเหมาะสม
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 1. เพื่อลดแออัดในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพการให้บริการผู้ป่วยในหน่วยบริการที่เล็กลงให้บริการผู้ป่วยอย่างเต็มที่ และลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้ป่วย 3. เพื่อลดการส่งต่อ และรับการส่งกลับเมื่อผู้ป่วยพ้นระยะวิกฤต
ร้อยละของการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีกระดูกหักไม่ซับซ้อน ในโรงพยาบาลระดับ M2 ลงไป 2560 ผู้ป่วยกระดูกหักไม่ซับซ้อน หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นกระดูกหัก (เฉพาะกระดูกที่กำหนด) คือ 1.Clavicle 2.Distal Phalanx of Finger and Thumb 3.Distal Phalanx of Toe and big Toe 4.Distal End of Radius 5.Distal End of Ulna โรงพยาบาลระดับ M2 ลงไป หมายถึง รพ.ระดับ M2 F1-F3
เกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยที่กระดูกหักไม่ซับซ้อนได้รับการดูแลรักษาใน รพ.ระดับ M2 ลงไป การคำนวณ => AX100/B A = จำนวนผู้ป่วยในโรคที่ได้รับการวินิจฉัย S4200 S6250 S6260 S9240 S9250 S5250 S5260 S5280 และได้รับการรักษาที่โรงพยาบาล B = จำนวนผู้ป่วยในโรคที่ได้รับการวินิจฉัย S4200 S6250 S6260 S9240 S9250 S5250 S5260 S5280
รพ.นครไทย - ไม่มีแพทย์ออโธร์ : แพทย์ออโธร์ฯจากพุทธฯหมุนเวียน 3 วัน/ด (OPD / OR) ให้บริการ off plate, CTS, Trigger fimger, ORIF, Amputate - วิสัญญีพยาบาล 5 คน (ปฏิบัติจริง 4คน) - พยาบาลศัลย์ออโธฯ 1 คน - พยาบาล Standby เวร OR 24 hrs. รพ.วังทอง - ไม่มีศัลย์แพทย์ : แพทย์ออโธร์ฯจากพุทธฯหมุนเวียน 1 วัน/สป. (OPD / OR) - วิสัญญีพยาบาล จำนวน 3 คน (ส่งเรียน 1 คน)
ข้อมูล 6 เดือน ปี 60 (1 ต.ค. 59 - 30 มี.ค.60) ข้อมูลการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีกระดูกหักไม่ซับซ้อน (รหัสโรค S4200 S6250 S6260 S9240 S9250 S5250 S5260 S5280) ข้อมูล 6 เดือน ปี 60 (1 ต.ค. 59 - 30 มี.ค.60) โรงพยาบาล ระดับ จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด (ราย) รักษารพช. Refer รพศ. จำนวน ร้อยละ นครไทย M2 55 50 90.91 5 9.09 ชาติตระการ F2 35 29 82.86 6 17.14 บางระกำ 40 22 55.00 18 45.00 บางกระทุ่ม 28 23 82.14 17.86 พรหมพิราม 54 15 27.78 39 72.22 วัดโบสถ์ 51 51.34 48.66 วังทอง 64 44 68.75 20 31.25 เนินมะปราง 21 2 9.52 19 90.47 รวม 348 214 61.49 134 38.51 ผลการดูแลผู้ป่วย non displaced fx.
ประเด็นปัญหา:จากการทบทวนข้อมูล โรงพยาบาล ระดับ จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด(ราย) Refer รพ.ศูนย์ ศูนย์Referรพพ. จำนวน ร้อยละ นครไทย M2 55 5 9.09 23 ชาติตระการ F2 35 6 17.14 11 บางระกำ 52 8 15.38 21 บางกระทุ่ม 28 17.86 พรหมพิราม 54 39 72.22 วัดโบสถ์ 51 22 48.66 15 วังทอง F1 64 20 31.25 38 เนินมะปราง 19 90.47 รวม 348 134 61.49 165
รูป
(ร่าง) คณะทำงานการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขาออร์โธปิดิกส์ 1. นพ.ไกรสุข เพชระบูรณิน ประธานคณะทำงาน 2. นพ. นายวิบูลย์ วาณิชย์เจริญพร รองประธาน 3. นางพึงจิต สุขะตุงคะ รองประธาน 4. นพ.วิฑูรย์ เตรียมตระการผล 5. นพ.อาทิตย์ กรมประสิทธิ์ 6. นพ.ศักรินทร์ ธนเกียรติสกุล 7. นพ.ศิษฎิคม เบ็ญจขันธ์ 8. นพ.จักริน สมบูรณ์จันทร์ 9. นายวันชัย ทิมชม 10.นายมนัสศักต์ มากบุญ 11.นายพยุง ศิวเมธีกุล 12.นายสำเนา อิ่มอ่อง 13. แพทย์ผู้รับผิดชอบงานออร์โธปิดิกส์ในโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง 14. พยาบาลผู้รับผิดชอบงานออร์โธปิดิกส์ในโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง 15. นางรัชนีวัลย์ รักเกียรติเผ่า เลขานุการ 16. นางศิราภรณ์ คงเมือง ผู้ช่วยเลขานุการ 17. นางศิริลักษณ์ สุดสวาท ผู้ช่วยเลขานุการ 18. นางยุพิน ตั้งสกุลเรืองไล ผู้ช่วยเลขานุการ
บทบาทหน้าที่ 1. ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาการบริการ วางระบบ จัดทำแผนและดำเนินการพัฒนาศักยภาพ คุณภาพบริการและการบริหารจัดการระบบบริการ และระบบส่งต่อทั้งไปและกลับของหน่วยบริการทุกระดับให้มีประสิทธิภาพ และใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการ ลดความแออัดของผู้ป่วยในโรงพยาบาล 2. ประสานงานเพื่อให้เกิดบริการเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างหน่วยบริการภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ 3. พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง เป็นปัจจุบัน สามารถเชื่อมโยงและส่งต่อข้อมูลด้านการรักษาพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. ประเมินผลและรายงานความก้าวหน้าการพัฒนาระบบบริการโรคทางออร์โธ ปิดิกส์ สรุปผลการพัฒนาและวิเคราะห์ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางแก้ไข
การพัฒนา Service plan สาขาออร์โธปิดิกส์ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2561 สาขาออร์โธปิดิกส์ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องรับรอง ชั้น ๕ อาคาร ๑ ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๓. ๒ เป้าหมายการดำเนินงานและตัวชี้วัด ๓. ๒ ๓.๒ เป้าหมายการดำเนินงานและตัวชี้วัด ๓.๒.๑ ประธานชี้แจง : สิ่งที่กระทรวงสาธารณสุขอยากเห็น คือ Service delivery โดยต้องทราบว่ากลุ่มโรคใดเป็นสาเหตุของปัญหา Mortality และ Mobility ซึ่งเมื่อทราบแล้วก็จะได้ทำการเติมทรัพยากร คน/ เงิน/ ของ ลงไป เพื่อให้เกิดความสำเร็จ อย่างไรก็ตามต้องคำนึงถึง Value ด้วย (Goal/Cost = Value)
๓.๒.๒ มติที่ประชุม ๓.๒.๒.๑ กลุ่มโรคที่จะทำการพัฒนาจำแนกตามระดับศักยภาพของโรงพยาบาลแต่ละแห่งในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ การดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีกระดูกหักไม่ซับซ้อนในโรงพยาบาลระดับ M๒ ลงไป มากกว่าร้อยละ ๗๐ เขต ๑ รับผิดชอบ KPI Template Fast track for open long bone fracture ได้รับการผ่าตัดภายใน ๖ ชั่วโมง ใน โรงพยาบาล ระดับ M๑ มากกว่าร้อยละ ๒๐ และในโรงพยาบาลระดับ A, S มากกว่าร้อยละ ๒๕ เขต ๑ รับผิดชอบ KPI Template Fast track fracture around the hip (ไม่ รวมSubtrochanteric fracture) ในผู้ป่วยอายุ มากกว่า ๖๐ ปี ได้รับการผ่าตัดภายใน ๗๒ ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M๑ มากกว่าร้อยละ ๒๕ เขต ๑ รับผิดชอบ KPI Template
Spine: การลดอัตราการเสียชีวิตของ ผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกสันหลัง (Cervical, Thoracic,Lumbar) ใน โรงพยาบาลระดับ A และ S โดยที่ โรงพยาบาลระดับ A จะต้องทำการ ผ่าตัดรักษาได้ และมี Spinal unit ส่วน โรงพยาบาลระดับ S ต้องมี Spinal unit เขต ๗ (ขอนแก่น) KPI Template Trauma excellence : สิ่งที่ต้องทำการ พัฒนา คือ การเพิ่มศักยภาพให้กับ โรงพยาบาลระดับ S และ A ให้ สามารถทำการผ่าตัดรักษา Complex pelvic fracture ได้ ดังนั้น c-arm fluoroscopy ในโรงพยาบาลระดับ S ต้องมีอย่างน้อย ๓-๔ เครื่อง และ โรงพยาบาลระดับ A ต้องมีอย่างน้อย ๕ เครื่อง เขต ๒ (พิษณุโลก) รับผิดชอบ KPI Template
สรุปประเด็นการประชุมคณะทำงาน Service plan สาขา ออร์โธปิดิกส์ พิษณุโลก 1. การจัดเก็บตัวชี้วัด Non dis. ในรหัสโรค 8 ตัว (รหัสโรค S4200 S6250 S6260 S9240 S9250 S5260 S5280 S5250)เกณฑ์เป้าหมายมากกว่าร้อยละ 70โดยระบบสารสนเทศ ใช้ Pdx. (Principle Diag.) และนับผู้ป่วยเป็นราย (ตัด Visit F/u) โดยนับทั้งผู้ป่วยOPD/IPD 2. โรงพยาบาลทุกแห่งตรวจสอบข้อมูล (Verify) เพื่อให้เกิดความถูกต้องและนำข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ โดยระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 9 เดือน (ต.ค. 59- มิ.ย.60)เพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจราชการฯ รอบ 2 ปี 60 จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 1 – 3 ส.ค.60(จัดส่งข้อมูลภายในวันที่ 15 ก.ค.60 ส่งทางไลน์) 3. การตั้ง Group line SP Ortho พิษณุโลก มอบคุณรัชนีวัลย์ (เลขานุการ) เป็นผู้ตั้งกลุ่มไลน์และเชิญคณะทำงานเข้ากลุ่มเพื่อประสานสื่อสารการพัฒนางาน
สรุปประเด็นการประชุมคณะทำงาน Service plan สาขา ออร์โธปิดิกส์ 4. Fast track for open long bone fracture ได้รับการผ่าตัดภายใน ๖ ชั่วโมง - open long bone fractureหมายถึงผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ในกลุ่ม ICD๑๐รหัสS4231, S5231, S5221, S5241, S7231, S8221, S8271fast track หมายถึงผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดภายใน ๖ ชั่วโมงโดยการนับระยะเวลาตั้งแต่มาถึง โรงพยาบาล (เปิด VN) จนได้รับการผ่าตัดเกณฑ์เป้าหมายใน รพ.M๑ มากกว่าร้อยละ ๒๐ ใน รพ.A/S มากกว่าร้อยละ ๒๕ 5. Fast track fracture around the hip ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า ๖๐ปี ได้รับการผ่าตัดภายใน ๗๒ชั่วโมง - fracture around the hip หมายถึงผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ในกลุ่ม ICD๑๐รหัสS7200, S7210 - Fast track หมายถึงผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดภายใน ๗๒ชั่วโมง โดยการนับระยะเวลาตั้งแต่มาถึง โรงพยาบาล (เปิด VN) จนได้รับการผ่าตัด เกณฑ์เป้าหมาย ใน รพ. A/S/M๑ มากกว่าร้อยละ ๒๕
สรุปประเด็นการประชุมคณะทำงาน Service plan สาขา ออร์โธปิดิกส์ 6. Spine: การลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยบาดเจ็บกระดูกสันหลัง (Cervical, Thoracic,Lumbar) ในโรงพยาบาลระดับ A และ S โดยที่โรงพยาบาลระดับ A จะต้องทำการผ่าตัดรักษาได้ และมี Spinal unit ส่วน โรงพยาบาลระดับ S ต้องมี Spinal unit ข้อค้นพบ โรงพยาบาลพุทธชินราชฯ ไม่มี Spinal unit ชัดเจน แต่มีการจัดแบ่งโซนผู้ป่วย เป็น Spinal Corner (Spine อยู่ Lock กลาง เป็น โซน Observe ใกล้ชิด)
สรุปประเด็นการประชุมคณะทำงาน Service plan สาขา ออร์โธปิดิกส์ 7. Trauma excellence(Case complex acetabulum): การเพิ่มศักยภาพในโรงพยาบาลระดับ S และ A(ร่างตัวชี้วัด) เพื่อนำเสนอกระทรวงฯ 1. รพ.ระดับ S/ARefer Out ผู้ป่วย ลดลงจากปีที่ผ่านมา ร้อยละ 10 2. รพช. Consult รพศ. ใน Case complex acetabulum ร้อยละ 100 3. การ Refer back รพช. Case complex acetabulum (ค่าเป้าหมาย.............) 4. รพช.สามารถดูแลผู้ป่วย ดึง Traction ในผู้ป่วยRefer back ร้อยละ 100 มติที่ประชุมมอบ อ.วิบูลย์และทีมรพ.พุทธฯ ทบทวนการกำหนดตัวชี้วัดและจัดทำTemplate 8.การพัฒนางาน SP นอกจากเรื่องการรักษา ควรมีการพัฒนาในเชิงการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู ที่เชื่อมโยงในทุกระดับสถานบริการ ปฐมภูมิ ตติยภูมิ ทุติยภูมิ มติที่ประชุม มอบรพ.วังทองและรพร.นครไทยเป็นแกนหลักในการทำแผนพัฒนา SP Ortho (คน เงิน ของ) เชื่อมระหว่างปฐมภูมิ ตติยภูมิ ทุติยภูมิ 9. นัดหมายการประชุม ครั้ง ที่ 2/ 2560 ในเดือน กันยายน 2560
Thank you for your attention คณะทำงานการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) สาขาออร์โธปิดิกส์ จังหวัดพิษณุโลก