การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนา ซอฟต์แวร์ด้านธุรกิจ ทำไมจึงเรียนสาขานี้ – บุคลาการด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ยังเป็นที่ ต้องการในบริษัทที่ปรึกษา.
Advertisements

รศ.ชัยยศ สันติวงษ์ 28 มิถุนายน 2554
Business System Analysis and Design (BC401)
บทที่ 2 การวางแผนการตลาด
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
การวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายสนับสนุน
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
1 9/25/ ชื่อโครงการ 3 9/25/2016 รายละเอียดผู้ลงทุน ชื่อ : บริษัท คิดแล้วรวย จำกัด ผู้เสนอโครงการ : คุณนวัตกร สุดยอด ( กรรมการบริษัท ) ที่อยู่
เกี่ยวกับ บริษัท อินโนเวทีฟ บิสซิเนส จำกัด
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
Management system at Dell
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด กองทัพอากาศ ทุ่งสีกัน
การวิจัยในชั้นเรียน Classroom action Research
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
Database Planning, Design, and Administration
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การใช้เครื่องมือเตือนภัยทางการเงินและ การวิเคราะห์ผล ( CFSAWS:ss )
จรรยาบรรณ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับการท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพ
Data mining สุขฤทัย มาสาซ้าย.
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics)
กลุ่มประสิทธิภาพกลุ่มที่ 1 (เขตตรวจราชการที่ 1, 2 และ 4)
สื่อการสอนรายวิชา ง30204 โปรแกรมภาษาชี ภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
แนวทางการออกแบบนามบัตร
การพัฒนางานผู้ป่วยนอก
บทที่ 3 ระบบสารสนเทศกับการบริหารองค์กร
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
การพัฒนาระบบการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ National e-Payment
ยินดีต้อนรับสู่ PowerPoint โฉมใหม่
แนวทาง การจัดวางระบบการควบคุมภายใน และการประเมินผลการควบคุมภายใน
ผู้ดำเนินการวิจัย นางสาว นิลุบล สุวลักษณ์ รหัสนักศึกษา
ITA Integrity and Transparency Assessment
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
อนาคตประเทศไทยหลังปี 2560 ผลกระทบจาก AEC ดีกับไทยหรือไม่
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การออกแบบธุรกิจออนไลน์
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product Development or NPD)
กฎหมายธุรกิจ : สัญญาตั๋วเงิน
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
หลักการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
คำถามที่ 1 ๒.๔ การวิเคราะห์ศักยภาพของอำเภอ ๑) ด้านเศรษฐกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
กองคลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.
แนวทางปฏิบัติด้านการเงินของ ศบท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
บทที่ 14 ระบบสารสนเทศ กับการเปลี่ยนแปลงองค์การ
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
ชื่อโครงการ ผู้เสนอโครงการ: บริษัท XX จำกัด โดย: คุณ.
ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตาม วิเคราะห์สถานการณ์น้ำ และจัดสรรน้ำ
การสวัสดิการกองทัพเรือ
หลักการตลาด Principles of Marketing
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
ยุทธศาสตร์ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
ผู้ตรวจราชการกรมการพัฒนาชุมชน และคณะ
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
สังคม วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
บทที่ 2 ขอบเขตของการจัดการเชิงกลยุทธ์
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ เชิงกลยุทธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น วิษณุ วิทยวราวัฒน์ หัวหน้ากลุ่มมาตรฐานการบริหารงานบุคคลท้องถิ่น สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่

วัตถุประสงค์ในการบริหารงานบุคคล สรรหาคนดีมาทำงาน ใช้ประโยชน์สูงสุด รักษาคนดีให้อยู่ในองค์กร พัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพ

หลักการและเหตุผลของการจัดทำแผน ก.กลาง (ก.จ. ก.ท. และก.อบต.) ประกาศมาตรฐานทั่วไป เกี่ยวกับอัตราตำแหน่งและมาตรฐานของตำแหน่ง เพื่อให้ ก.จังหวัด (ก.จ.จ. ก.ท.จ.และ ก.อบต.จังหวัด) กำหนดตำแหน่งข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่นว่าจะมีตำแหน่งใด ระดับใด อยู่ในส่วนราชการใด จำนวนเท่าใด ให้คำนึงถึงภารกิจหน้าที่ ความรับผิดชอบ ลักษณะงานที่ต้องปฎิบัติ ความยากและคุณภาพงาน ตลอดจนภารค่าใช้จ่าย ที่จะต้องจ่ายในด้านบุคคล ทั้งนี้ ตามที่ ก.กลาง กำหนด ก.กลาง กำหนดให้ อปท. จัดทำแผนอัตรากำลัง ของข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น เพื่อเป็นกรอบในการกำหนดตำแหน่ง และการใช้ตำแหน่ง และเสนอ ให้ ก.จังหวัด พิจารณาให้ความเห็นชอบ

ขั้นตอนการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี อปท. ขั้นตอนการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี เมื่อครบรอบระยะเวลาการใช้แผนอัตรากำลัง 3 ปี แล้วให้ อปท.ดำเนินการจัดทำแผนอัตรากำลังของ อปท.เป็น ระยะเวลา 3 ปี ในรอบถัดไป แต่งตั้งคณะกรรมการ ประกอบด้วย นายก เป็นประธาน ปลัด และหน.ส่วนราชการ เป็นกรรมการและมีเลขานุการ 1 คน จัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ยืนยัน ก.กลาง ไม่เห็นชอบ ปรับปรุงแผน ก.จังหวัด ก.จังหวัด เห็นชอบ/ไม่เห็นชอบ เห็นชอบ ประกาศใช้

ขั้นตอนการทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี คะแนนในมติที่ 4 ข้อ 4.1 (3) ได้คะแนน 2 คะแนน คะแนนด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา ข้อ 1.1 การประกาศใช้แผนอัตรากำลัง 3 ปี ประกาศภานในวันที่ 1 ตุลาคมและในปีงบประมาณที่ผ่านมา ไม่มีการขอปรับปรุงแผนอัตรากำลัง ได้ 5 คะแนน

การจัดทำแผนอัตรากำลัง 1. วิเคราะห์ภารกิจ ในช่วง 3 ปี 2. วิเคราะห์ความต้องการกำลังคน 3. ประเมินกำลังคนที่มีอยู่ 4. วิเคราะห์แผนพัฒนากำลังคน 5. จัดโครงสร้างส่วนราชการ 5.1 แบ่งส่วนราชการตามประกาศกำหนดส่วนราชการ 5.2 กำหนดตำแหน่ง สายงานประจำส่วนราชการ /จำนวนต้องให้ ก.จังหวัดเห็นชอบ 5.3 เป็นสายงาน ที่มีมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 5.4 กำหนดแผนในระยะ 3 ปี โดยแสดงกรอบทั้งหมด และกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่ เป็นรอบปีที่ 1 ปี 2 ปี 3

เหตุที่ต้องจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี เพื่อวางแผนด้านกำลังคนขององค์กร เพื่อสรรหาคนและใช้คนให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพื่อกำหนดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์กร

วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ให้มีโครงสร้างการบริหารและระบบงานที่เหมาะสมไม่ซ้ำซ้อน ให้มีการกำหนดตำแหน่ง และจัดอัตรากำลังให้ เหมาะสมกับอำนาจหน้าที่ของ อปท. และกฎหมาย ให้สามารถตรวจสอบการกำหนดตำแหน่งและการใช้ ตำแหน่งว่าเป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสมหรือไม่ เป็นแนวทางในการวางแผนการใช้อัตรากำลัง การพัฒนาบุคลากรของ อปท. ให้เหมาะสม

ขอบเขตและแนวทางในการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี จัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี โดยมีขอบเขตเนื้อหา ครอบคลุมในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ บทวิเคราะห์ภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อปท. การกำหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ตามภารกิจ หน้าที่ ในด้านต่างๆ คกก./คณะทำงาน บทวิเคราะห์ เพื่อกำหนดตำแหน่งที่ต้องการในสายงาน ต่าง ๆ จำนวนตำแหน่งและระดับตำแหน่ง ให้ตรงตามภารกิจ บทวิเคราะห์ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือนและประโยชน์ ตอบแทนอื่น เพื่อไม่ให้เกินร้อยละ 40 ตามมาตรา ๓๕ การจัดคนลงกรอบโครงสร้างอัตรากำลังให้เหมาะสม การพัฒนาบุคลากร

เพื่ออะไร? คกก./คณะทำงาน ต้องวิเคราะห์สภาพปัญหาใน อปท. และความต้องการของประชาชนใน อปท. โดยอาจพิจารณาเป็นด้าน ๆ ไป เพื่ออะไร? เพื่อสามารถกำหนดภารกิจในการแก้ไขปัญหา และความต้องการของประชาชนใน อปท.ได้ตรง กับความต้องการ คกก./คณะทำงาน เพื่อให้ทราบว่าภารกิจในแต่ละด้านต้องการ จำนวนบุคลากรประเภทใด จำนวนเท่าใด ระดับใด ในการดำเนินงานตามภารกิจ นั้น

ภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อปท. เช่น พ.ร.บ. อบจ. พ.ศ.2540 พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2496 พ.ร.บ.สภาตำบลฯ พ.ศ.2537 วิเคราะห์ภารกิจ ตามที่กฎหมายกำหนด โดยคำนึงถึงความต้องการของประชาชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนพัฒนาอำเภอและจังหวัดนโยบาย ของรัฐบาลและผู้บริหารท้องถิ่น คกก./คณะทำงาน พิจารณาเป็นรายด้าน วิเคราะห์ภารกิจ ตามสภาพแวดล้อมองค์กร

สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ศักยภาพในการแก้ปัญหาของ อปท. ฐานะการคลัง - รายได้ ด้านบุคลากร ด้านการบริหารงานทั่วไป

สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร ด้านเศรษฐกิจ - ความยากจน อาชีพ ด้านการเมือง - นโยบายรัฐบาล ด้านสังคม - ปัญหาสังคม ชุมชน

ภารกิจหลักและภารกิจรองที่ อปท.จะต้องดำเนินการ คกก./คณะทำงาน นำภารกิจที่วิเคราะห์ กำหนดเป็น ภารกิจรอง

สรุปแนวทางแก้ไขปัญหา สรุปปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหา ในการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตรากำลัง คกก./คณะทำงาน สรุปปัญหา สรุปแนวทางแก้ไขปัญหา

โครงสร้างการกำหนดส่วนราชการ คกก./คณะทำงาน นำภารกิจที่ได้จากการวิเคราะห์ มากำหนดส่วนราชการ มาวิเคราะห์เพื่อกำหนดตำแหน่ง ในส่วนราชการต่างๆ ตามที่ ก.กลางกำหนด ตำแหน่งใด ระดับใด จำนวน เท่าใด จัดทำเป็นกรอบอัตรากำลัง 3 ปี

เค้าโครงแผนอัตรากำลัง 3 ปี ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ ขอบเขตและแนวทางในการจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี สภาพปัญหา ความต้องการของประชาชนในเขต อปท. ภารกิจหลัก และภารกิจรอง สรุปปัญหาและแนวทางในการบริหารงานบุคคล โครงสร้างการกำหนดตำแหน่ง

ภารค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือน และประโยชน์ตอบแทนอื่น แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการตามแผนอัตรากำลัง 3 ปี แนวทางการพัฒนาข้าราชการ /พนักงาน และลูกจ้าง ประกาศคุณธรรม จริยธรรมของข้าราชการ/พนักงานและลูกจ้าง หนึ่ง ก.มอ.

การกำหนดตำแหน่ง ตำแหน่งที่ ก.กลางยังไม่ได้กำหนด (ก.กลาง) ตำแหน่งที่ ก.กลางกำหนดแล้ว (ก.จังหวัด) ตำแหน่งที่ขอกำหนดใหม่เทื่อจัดตั้งส่วนราชการใหม่(ก.กลาง)

กำหนดสายงานข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ดังนี้ ก.กลาง กำหนดตำแหน่งข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ตำแหน่งประเภททั่วไป 2. ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ (ระดับ 7 ขึ้นไป) 3. ตำแหน่งประเภทบริหารระดับสูงและระดับกลาง (ระดับ 6 ขึ้นไป) กำหนดสายงานข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ดังนี้ 1. อบจ. กำหนดสายงานข้าราชการ อบจ. 100 สายงาน 2. เทศบาล กำหนดสายงานพนักงานเทศบาล 123 สายงาน 3. อบต. กำหนดสายงานพนักงานส่วนตำบล 81 สายงาน

1. โครงสร้างส่วนราชการ (กำหนดให้สอดคล้องกับภารกิจ) โครงสร้างปัจจุบัน โครงสร้างใหม่ หมายเหตุ 1. สำนักปลัดเทศบาล 1.1 ฝ่ายอำนวยการ - งานการเจ้าหน้าที่ - งานส่งเสริมการท่องเที่ยว 1.2 ฝ่ายปกครอง - งานทะเบียนราษฎร - งานบัตรประจำตัวประชาชน 1.3 ฝ่ายป้องกันและรักษาความสงบ - งานรักษาความสงบ - งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - งานสวัสดิการสังคม กำหนดเพิ่มเพื่อ หมายเหตุ ให้ระบุทุกส่วนราชการ

2. การวิเคราะห์เพื่อกำหนดตำแหน่งให้สอดคล้องกับภารกิจ ส่วนราชการ กรอบอัตรากำลังเดิม กรอบอัตรากำลังใหม่ เพิ่ม/ลด หมายเหตุ 2555 2556 2557 นักบริหารงานเทศบาล 8 นักบริหารงานเทศบาล 7 1 - รวม สำนักปลัดเทศบาล - นักบริหารงานทั่วไป 7 - นักบริหารงานทั่วไป 3 - บุคลากร 3-5 , 6ว, 7ว - นักสังคมสงเคราะห์ 3-5/6ว - เจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียน และบัตร 3-5/6ว - เจ้าพนักงานธุรการ 2-4/5 - เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย 2-4/5 - เจ้าหน้าที่ทะเบียน 1-3/4 2 3 7 10 13 14 +1 +3

กรอบอัตรากำลัง 3 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2555 – 2557 กรอบอัตรากำลัง 3 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2555 – 2557 ส่วนราชการ กรอบอัตรา กำลังเดิม กรอบอัตรากำลังใหม่ เพิ่ม / ลด หมายเหตุ 2555 2556 2557 ส่วนการคลัง นักบริหารงานคลัง 6 เจ้าหน้าที่พัสดุ 1-3/4 เจ้าหน้าที่การเงินการบัญชี 1-3/4 -เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ 1-3/4 -เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน3-5/6ว 1 - 2 +1 +2 ว่าง รวม 6 5

ตัวอย่าง การจัดโครงสร้างส่วนราชการ ปลัดเทศบาล (นักบริหารงานเทศบาล 8) เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน รองปลัดเทศบาล (นักบริหารงานเทศบาล 7) ผู้อำนวยการกองช่าง (นักบริหารงานช่าง 7) หัวหน้าสำนักปลัดเทศบาล (นักบริหารงานทั่วไป 7) ผู้อำนวยการกองคลัง (นักบริหารงานคลัง 7)

3.การวิเคราะห์ภาระค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น ที่ ชื่อสายงาน ระดับตำแหน่ง จำนวนทั้งหมด จำนวนที่มีอยู่จริง (1) กำลังคนที่ต้องการเพิ่ม ภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น (2) ค่าใช้จ่ายรวม (3) จำนวน คน จำนวนเงิน 2555 2556 2557 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 นักบริหารงานเทศบาล นักบริหารงานทั่วไป บุคลากร นักสังคมสงเคราะห์ เจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร เจ้าพนักงานธุรการ เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เจ้าหน้าที่ทะเบียน 3-5/6ว 2-4/5 1-3/4 378,720 253,320 269,040 451,080 102,000 92,760 - +1 14,760 10,440 10,800 25,560 4,680 205,800 3,720 136,920 15,120 10,560 11,160 25,920 4,560 4560 170,220 139,680 15,720 11,040 11,400 26,280 7,440 173,940 5,520 393,480 263,760 279,840 476,640 106,680 96,480 408,600 274,320 291,000 502,560 111,240 210,360 266,700 276,600 424,320 285,360 302,400 528,840 115,920 214,920 274,140 440,640 283,120 รวม (4) ค่าจ้างพนักงานจ้าง (5) ประโยชน์ตอบแทนอื่น (6) รวม ไม่เกิน ร้อยละ 40 ตามมาตรา 35 (7)

หมายเหตุ (1) รายจ่ายจริง (2) คิดจาก (เงินเดือนขั้นต่ำ+ขั้นสูงของระดับตำแหน่งที่เพิ่มขึ้นหารด้วย 2 คูณด้วย 12+ ขั้นเงินเดือนคนเดิมที่เพิ่มขึ้น (3) คือภาระค่าใช้จ่ายปีที่ผ่านมา + (2) (4) คือค่าใช้จ่ายรวมทั้งหมด (5) คิดจากค่าจ้างพนักงานจ้างตามแผนอัตรากำลัง 4 ปี (6) คิดจาก (4) คูณด้วย 20 % (7) คิดจาก (4)+(5)+(6) หารด้วยจำนวนงบประมาณรายจ่ายประจำปีนั้นคูณด้วย 100

นักบริหารงานการคลัง 1 6 157,920 9,000 9,000 9,240 166,920 175,920 185,160 เจ้าหน้าที่พัสดุ (ว่างเดิม) - 1-3/4 1 1 143,820 5,100 5,100 143,820 148,920 154,020 เจ้าหน้าที่การเงินการบัญชี 1 2 93,600 3,840 3,960 4,320 97,440 101,400 105,720 เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี (ว่างใหม่) - 1-3/4 1 1 - - 143,820 5,100 - 143,820 148,920 1 2 - 93,600 เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ -1 - - 3,840 97,440 - 1 5 180,000 เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน - 7,320 7,560 7,680 187,320 194,880 202,560 1 4 - 134,400 เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน - -1 6,000 6,240 - 140,400 146,640 - - 2-4/5 1 เจ้าหน้าพนักงานการเงิน (ว่างใหม่) 1 - - 174,900 6,420 174,900 - 181,320 ซี 1-3/4 4,870+19,100 x 12 / 2 ( 143,820 ) การคำนวณกรณีตำแหน่งว่าง ลข .ซี 1 (5,100-4,870)+ซี 4(19,100-18,480) x 12 / 2 (5,100) ลข .ซี 2 (6,140-5,810)+ซี 5(23,340-22,600) x 12 / 2 (6,420) ลข .ซึ 3 (7,530-7,140)+ซี 6(28,880-27,960) x12/2 (7,860) ซี 2-4/5 5,810+23,340 x 12 / 2 ( 174,900 ) ซี 3-5/6ว. 7,140+28,880 x 12 / 2 ( 216,120 ) ซี 7 35,220 + 16,190 x 12 / 2 ( 308,460 ) ซี 8 49,830 + 19,860 x 12 / 2 ( 418,140 )

นักบริหารงานคลัง 6 ขั้น 13,160 บาท x 12 นักบริหารงานคลัง 6 ขั้น 13,160 บาท x 12 = 157,920 บาท ขั้นวิ่ง คิดทั้งปี 1 ขั้น = 13,910 – 13,160 = 750 x 12 = 9,000 บาท นำเงิน 9,000 + 157,920 = 166,920 บาท ปีต่อไปนำ (14,660 - 13910 = 750 x 12 =9,000 )+166,920 = 175,920 บาท ปีต่อไปนำ (15,430 – 14,660 =770 x 12 = 9,240) นำขั้น 9,240 + 175,920 = 185,160 บาท

เจ้าหน้าที่พัสดุ 1-3/4 (ว่างเดิม) ซี 1-3/4 4,870 + 19,100 x 12 / 2 ( 143,820 ) (ขั้นต่ำ ซี 1 + ขั้นสูง ซี 4) X 12 หาร 2 การคำนวณกรณีตำแหน่งว่าง (สูงกว่าขั้นต่ำ ซี 1 (1 ขั้น ) – ขั้นต่ำ ซี 1 ) + (ขั้นสูง ซี 4 – ต่ำกว่าขั้นสูง ซี 4 ( 1 ขั้น ) x 12 หาร 2 ลข .ซี 1 ( 5,100 – 4,870 ) + ซี 4 (19,100 – 18,480) x 12 / 2 (5,100)

เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 2 ขั้น 7,800 บาท x 12 เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี 2 ขั้น 7,800 บาท x 12 = 93,600 บาท ขั้นวิ่ง คิดทั้งปี 1 ขั้น = 8,120 – 7,800 = 320 x 12 = 3,840 บาท นำเงิน 3,840 + 93,600 = 97,440 บาท ปีต่อไปนำ (8,450 – 8,120 = 330 x 12 = 3,960) = 3,960 บาท นำขั้น 3,960 + 97,440 = 101,400 บาท ปีต่อไปนำ (8,800 – 8,450 =350 x 12 = 4,320 = 4,320 บาท นำขั้น 4,320 + 101,400 = 105,720 บาท

การวิเคราะห์เงิน 40% ประเภทรายจ่าย งบประมาณ ปี 2555 งบประมาณ ปี 2556 งบประมาณ ปี 2557 เงินเดือน เงินค่าจ้างของ พนง.อบต. 762,600.- (1) 984,720.- (1) 1,111,000.- (1) เงินเดือน เงินค่าจ้างของ พนง.จ้าง 1,470,240.- (2) 1,670,240.- (2) 1,770,240.- (2) ลูกจ้างประจำ (3 ) - (3) เงินประโยชน์ค่าตอบแทนอื่น 446,568- (4) 530992- (4) 576248.- ( 4 ) รวมรายจ่าย 2,679,408- (5) 3185952 (5) 3,457,488.- (5) ประมาณการรายได้ 8,500,000.- (6) 9,500,000.- ( 6 ) ร้อยละของงบประมาณรายจ่าย/ปี 31.52 % ( 7) 37.48 % (7) 36.39 % (7) ( 1 ) + ( 2) + (3) x 20 % = ( 4) เงินประโยชน์ตอบแทนอื่น ( 1 ) + ( 2) + (3) + (4) = ( 5 ) รวมรายจ่าย ( 5 ) x 100 หาร ( 6) = ( 7) ร้อยละของงบประมาณรายจ่าย ต้องไม่เกิน 40 %

การคำนวณ 40 % ตามมาตรา 35 ของ พ. ร การคำนวณ 40 % ตามมาตรา 35 ของ พ.ร.บ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 งบประมาณรายจ่ายประจำปี คือ งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งเป็นข้อบัญญัติงบประมาณ ซึ่งรวมเงินอุดหนุนทั่วไปด้วย เงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ เงินกู้ ไม่สามารถนำมาตั้งจ่ายเป็นงบประมาณ หมวดเงินเดือน ค่าจ้าง และประโยชน์ตอบแทนอื่นได้ ยกเว้นเงินอุดหนุนที่ รัฐจัดสรร เป็นเงินเดือนและสวัสดิการสำหรับพนักงานครูเทศบาล และ การถ่ายโอนตามกฎหมาย แผนกระจายอำนาจ

ประโยชน์ตอบแทนอื่นของข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น มี 18 รายการ ตามประกาศ ก.ถ. ลงวันที่ 26 ก.ค.2544 ได้แก่ ช่วยเหลือบุตร/การศึกษาบุตร /รักษาพยาบาล /ค่าเช่าบ้าน / บำเหน็จลูกจ้างประจำ /เงินสมทบกองทุนประกันสังคม /เงินสมทบกองทุนบำเหน็จข้าราชการ/พนักงานส่วนท้องถิ่น / ฯลฯ ประโยชน์ตอบแทนอื่น ตามที่ ก.กลางกำหนด (โบนัสประจำปี) สวัสดิการสำหรับสำนักงานในพื้นที่พิเศษ เป็นต้น

การคำนวณ 40 % x + y = < 4 , 000 ,000 บาท อปท. ประมาณการรายรับไว้ 10,000,000 บาท (รายได้ 7ล้าน+อุดหนุน 3ล้าน) ม. 35 แห่ง พรบ.บริหารงานบุคคลฯ พ.ศ. 2542 กำหนดให้การจ่ายเงินเดือน ค่าจ้างประโยชน์ตอบแทนอื่นฯไม่เกิน 40% ของเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี โดยจ่ายจากเงินรายได้ที่ไม่รวมเงินอุดหนุนและเงินกู้หรือเงินอื่นใด หมายถึง 40% ของ 10,000,000 บาท = 4,000,000 บาท (แต่ไม่เกินยอดเงินรายได้ 7,00,000 บาท ) แผนอัตรากำลัง 3 ปี อัตรากำลัง 30 ตำแหน่ง = x บาท ประโยชน์ตอบแทนฯ 20 % ของ x = y บาท x + y = < 4 , 000 ,000 บาท เงื่อนไข มีเงินรายรับจริงตามประมาณการรายรับที่ตั้งไว้ ข้อบัญญัติ / เทศบัญญัติ อัตรากำลัง 10 ตำแหน่ง < x บาท ประโยชน์ตอบแทนฯ y บาทหรือ > y บาท < x + y หรือ < x + > y = < 4 , 000 ,000 ( ส่วนใหญ่น้อยกว่าประมาณการในแผนอัตรากำลัง )

กรณีเปอร์เซ็นต์ ไม่น้อยกว่าแผนอัตรากำลัง หรือ เกิน 40 % เพราะ - นำเงินไปเพิ่มใน y มากกว่า 20 % ตามที่กำหนดไว้ในแผนอัตรากำลัง 3 ปี < x + > y = < 4 , 000 ,000 - คำนวณเงินของตำแหน่งว่างต่ำ ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์การคำนวณ เช่น… < x + > y = > 4 , 000 ,000 การคำนวณกรณีตำแหน่งว่าง (สูงกว่าขั้นต่ำ ซี 1 (1 ขั้น ) – ขั้นต่ำ ซี 1 ) + (ขั้นสูง ซี 4 – ต่ำกว่าขั้นสูง ซี 4 ( 1 ขั้น ) x 12 หาร 2 ลข .ซี 1 ( 5,100 – 4,870 ) + ซี 4 (19,100 – 18,480) x 12 / 2 (5,100) ลข .ซี 2 (6,140 – 5,810) + ซี 5 (23,340 – 22,600) x 12 / 2 (6,420) ลข .ซี 3 (7,530 – 7,140) + ซี 6ว (28,880 – 27,960) x 12 / 2 (7,860) ซี 1-3/4 4,870 + 19,100 x 12 / 2 ( 143,820 ) (ขั้นต่ำ ซี 1 + ขั้นสูง ซี 4) X 12 หาร 2 ซี 2-4/5 5,810 + 23,340 x 12 / 2 (174,900 ) ซี 3-5/6ว. 7,140 + 28,880 x 12 / 2 (216,120 ) ซี 7 35,220 + 16,190 x 12 / 2 (308,460) ซี 8 49,830 + 19,860 x 12 / 2 (418,140)

การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ส่วนราชการ อบจ เทศบาล อบต. ปลัด/รองปลัด 00 สำนักปลัด 01 กองกิจการสภา อบจ. 02 - กองแผนและงบประมาณ 03 กองคลัง 04 กองช่าง 05 กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 06 กองวิชาการและแผนงาน 07 กองการศึกษา 08 กองประปา 09

การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ส่วนราชการ อบจ เทศบาล อบต. กองช่างสุขาภิบาล - 10 กองสวัสดิการสังคม 11 หน่วยงานตรวจสอบภายใน 12 แขวง............ 13 กอง............(อื่น ๆ)

การกำหนดเลขที่ตำแหน่ง (นส.ที่ มท 0808.1/ ว 157 ลงวันที่ 7 ก.พ. 2546) เลขที่ตำแหน่ง ประกอบด้วยเลขรหัส 9 หลัก ได้แก่ 00-0000-000 รหัสตัวที่ 1-2 หมายถึง รหัสส่วนราชการ สำนัก กอง รหัสตัวที่ 3-6 หมายถึง รหัสสายงานของตำแหน่งนั้น ตามบัญชีแสดง กลุ่มสายงาน และประเภทตำแหน่งต่าง ๆ รหัสตัวที่ 3-4 หมายถึง รหัสกลุ่มงาน รหัสตัวที่ 5-6 หมายถึง รหัสลำดับที่สายงานในกลุ่มงานนั้น รหัสตัวที่ 7-9 หมายถึง รหัสระดับที่พนักงานส่วนท้องถิ่นในสายงานนั้น

การกำหนดตำแหน่ง

การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ลำดับ ชื่อ - สกุล คุณ วุฒิ กรอบอัตรากำลังเดิม กรอบอัตรากำลังใหม่ เงิน เดือน หมายเหตุ เลขที่ตำแหน่ง ตำแหน่ง ระดับ 1 นาย ก. สกุล ข. ป.ตรี 00-0101-001 ปลัด อบต. (นักบริหาร งาน อบต.) 7 20,180 2 นาย ฮ. สกุล อ. 00-0101-002 รองปลัด อบต. 6 19,790 3 -ว่างเดิม- 12-0301-001 เจ้าหน้าที่ตรวจ สอบภายใน 3-5/6 ว

การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ลำดับ ชื่อ - สกุล คุณ วุฒิ กรอบอัตรากำลังเดิม กรอบอัตรากำลังใหม่ เงิน เดือน หมายเหตุ เลขที่ตำแหน่ง ตำแหน่ง ระดับ 11 นาง ฏ. สกุล ฐ. ป.ตรี ส่วนการคลัง 04-0103-001 หัวหน้าส่วนการคลัง (นักบริหาร งานคลัง 6) 6 13,610

การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี ลำดับ ชื่อ - สกุล คุณ วุฒิ กรอบอัตรากำลังเดิม กรอบอัตรากำลังใหม่ เงิน เดือน หมายเหตุ เลขที่ตำแหน่ง ตำแหน่ง ระดับ 11 นาง ฏ. สกุล ฐ. ป.ตรี ส่วนการคลัง 04-0103-001 หัวหน้าส่วนการคลัง (นักบริหาร งานคลัง 7) 7 13,610

การกำหนดระดับตำแหน่งผู้บริหารใน อบต. ใหญ่ กลาง เล็ก ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล 8 หรือ 7 7 หรือ 6 6 รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล (กำหนดระดับ 8 ได้ต่อเมื่อมีการกำหนดส่วนราชการระดับกองเป็นระดับ 8) ไม่มี หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือส่วนหรือเทียบเท่า ขนาด อบต. ระดับตำแหน่ง ปลัดระดับ 8 : รายได้ 20 ล้านบาทขึ้นไป ผอ.กอง 8 : ต้องมีรายได้ 40 ล้านบาทขึ้นไป มีรองปลัดระดับ 8 ได้ เมื่อมีส่วนราชการระดับ 8

การกำหนดตำแหน่งบริหาร อบต.ตามกรอบ ขนาด อบต. ระดับตำแหน่งปลัด อบต. ตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการ ใหญ่ 8 ผอ.กองระดับ 8 หรือ 7 7 หัวหน้าส่วนระดับ 7 กลาง หัวหน้าส่วนระดับ 7 หรือ 6 6 หัวหน้าส่วนระดับ 6 เล็ก

การกำหนดตำแหน่งตามกรอบโครงสร้างส่วนราชการของ เทศบาล ขนาดเทศบาล ระดับตำแหน่ง ใหญ่ (ชั้น 1 เดิม) กลาง (ชั้น 2-6 เดิม) เล็ก (ชั้น 7 เดิม) รายได้รวมเงินอุดหนุนทั่วไปที่รับจริง ซึ่งมิได้กำหนดวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในกิจการใด ปีงบประมาณที่ผ่านมาตั้งแต่ 80 ล้านบาทขึ้นไป รายได้รวมเงินอุดหนุนปีงบ ประมาณที่ผ่านมา (ไม่รวมเงินกู้) 20 ล้านบาทขึ้นไป รายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนปีงบประมาณที่ผ่านมา 40 ล้านบาทขึ้นไป 20 ล้านบาทขึ้นไป 8 ล้านบาทขึ้นไป ชั้น 7 เดิม ปลัดทศบาล (นักบริหารงานเทศบาล) 10* 9 8 เฉพาะเทศบาลขนาดกลางเดิมมี ระดับ 7 ได้ 7* 6 รองปลัดเทศบาล 9 หรือ 8 หรือ 7 (จำนวน 2- 4 คน ระดับ 7 มีได้ไม่เกิน 1 คน) 8 หรือ 7 (จำนวน 2-3 คน) 7 หรือ 6 (จำนวน 1-2 คน) - หัวหน้าส่วนราชการระดับสำนัก (นักบริหารงาน...9) หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง ส่วนในสำนักหรือเทียบเท่า (นักบริหารงาน...6-8) 7 หัวหน้าฝ่าย (นักบริหารงาน...6-7) ปลัดระดับ 8 : ต้องมีรายได้ 20 ล้านบาทขึ้นไป ผอ.กอง 8 : ต้องมีรายได้ 40 ล้านบาทขึ้นไป จะมีรองปลัดระดับ 8 ได้ เมื่อมีส่วนราชการระดับ 8

การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของเทศบาล ส่วนราชการหลัก ส่วนราชการอื่น เทศบาล - กองส่งเสริมวัฒนธรรมฯ - กองเทคโนโลยีสารสนเทศ - กองนิติการ - กองวิเทศสัมพันธ์ - กองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย - กองส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ - กองส่งเสริมกิจการขนส่ง - กองทรัพยากรธรรมชาติฯ - กองส่งเสริมกิจการพาณิชย์ - กองเทศกิจ - กองส่งเสริมการเกษตร - กองผังเมือง - กองทะเบียนราษฎรและบัตรฯ (รวม 13 กอง) สำนักปลัดเทศบาล กอง/สำนักการคลัง กอง/สำนักการช่าง เล็ก กลาง 20 ล้าน ใหญ่ 150 ล้าน เกณฑ์รายได้ เกณฑ์ชี้วัด ด้านบุคลากร ด้านเศรษฐกิจ สังคม ด้านประสิทธิภาพ ด้านธรรมาภิบาล กองหรือส่วนราชการ ที่จำเป็นต้องมี - กอง/สำนักการสาธารณสุขฯ - กอง/สำนักการศึกษา - กอง/สำนักวิชาการและแผนงาน - กอง/สำนักการประปา - กอง/สำนักการแพทย์ - กอง/สำนักการช่างสุขาภิบาล - กอง/สำนักสวัสดิการสังคม - หน่วยตรวจสอบภายในและแขวง

การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบต. การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบต. อบต. ส่วนราชการหลัก ส่วนราชการอื่น เล็ก กลาง 6 ล้าน ใหญ่ 20 ล้าน สำนักงานปลัด อบต. กองหรือส่วนการคลัง กองช่างหรือส่วนโยธา -กองสวัสดิการสังคม -กองส่งเสริมการเกษตร -กองการศึกษา ฯ -กองสาธารณสุขฯ -กองนิติการ -กองส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ -กองเทศกิจ -กองผังเมือง -กองกิจการพาณิชย์ -กองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (รวม 10 กอง) เกณฑ์รายได้ เกณฑ์ชี้วัด ด้านบุคลากร ด้านเศรษฐกิจ สังคม ด้านประสิทธิภาพ ด้านธรรมาภิบาล กองหรือส่วนราชการ ที่กำหนดตามความเหมาะสม - กองหรือส่วนส่งเสริมการเกษตร - กองหรือส่วนการศึกษาฯ - กองหรือส่วนสาธารณสุขฯ

ตัวอย่าง การจัดโครงสร้างส่วนราชการ (ขนาดเล็ก) หัวหน้ากองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) งานธุรการ - จพง.ธุรการ หรือ จนท.ธุรการ อย่างน้อย 1 อัตรา งานสังคมสงเคราะห์ - นักสังคมสงเคราะห์ หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา งานพัฒนาชุมชน - นักพัฒนาชุมชน - จนท. พัฒนาชุมชน หรือ จพง.พัฒนาชุมชน อย่างน้อย 1 อัตรา งานสวัสดิการเด็กและเยาวชน -เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา

ตัวอย่าง การจัดโครงสร้างส่วนราชการ (ขนาดกลาง) ผู้อำนวยการกองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 7) งานธุรการ - จพง.ธุรการ หรือ จนท.ธุรการ หรือ ในกลุ่มงานปฏิบัติช่วยบริหารจัดการ อย่างน้อย 1 อัตรา ฝ่ายสังคมสงเคราะห์ (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) - นักสังคมสงเคราะห์ หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา ฝ่ายสวัสดิการเด็กและเยาวชน (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) -เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน หรือ กลุ่มงานที่เกี่ยวข้องเกื้อกูลกัน อย่างน้อย 1 อัตรา ฝ่ายพัฒนาชุมชน (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ระดับ 6) - นักพัฒนาชุมชน - จนท. พัฒนาชุมชน หรือ จพง.พัฒนาชุมชน อย่างน้อย 2 อัตรา ควรกำหนดให้มีส่วนราชการภายใน อย่างน้อย 2 ฝ่าย

โครงสร้างส่วนการคลัง 1-3/4 ระดับ 7 7ว 6 6ว 5 4 3 2 1 ลูกจ้างประจำ (เดิม) พนักงานจ้าง ทั่วไป ตามภารกิจ จำนวน -

แผนอัตรากำลัง ความสมบูรณ์ ผลผูกพัน ต้องสรรหา ตั้งงบประมาณตาม 1. จัดทำร่างแผนตามหลักเกณฑ์ 2. ก.จังหวัดเห็นชอบ 3. ประกาศใช้แผน ความสมบูรณ์ ผลผูกพัน ต้องสรรหา ไม่สรรหา ควรยุบ ตั้งงบประมาณตาม อัตรากำลังที่กำหนด สรรหาได้เฉพาะตำแหน่งในแผน

การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น อบจ. ตำแหน่ง เทศบาล แผนอัตรากำลัง ระดับ เล็ก กลาง ใหญ่ หลักการ อบต. การดำเนินการ เล็ก กลาง ใหญ่

ตำแหน่งของข้าราชการท้องถิ่น 1. ตำแหน่งประเภททั่วไป - ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานระดับต้น - ตำแหน่งซึ่งมีลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติโดยอาศัยความรู้ ความชำนาญ และประสบการณ์เฉพาะตัว - ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ 2. ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ และเชี่ยวชาญเฉพาะ 3. ตำแหน่งประเภทบริหารระดับกลาง และระดับสูง

ตำแหน่งมี 3 ประเภท สายผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่ระดับ 1 - 7 ทั่วไป วิชาชีพ ตั้งแต่ระดับ7 เป็นคุณวุฒิที่วุฒิอื่นทำแทนไม่ได้ กระทบต่อชีวิต ทรัพย์สินโดยตรง มีองค์กรกำกับวิชาชีพ วิชาชีพ วช ชช บริหาร ตั้งแต่ระดับ 6 เป็นสายงานนักบริหาร กลาง สูง

การปรับปรุงแผนอัตรากำลัง 3 ปี การปรับปรุงตำแหน่ง การปรับปรุงโครงสร้าง การปรับปรุงทั้งโครงสร้างและตำแหน่ง

การปรับปรุงตำแหน่ง กำหนดตำแหน่ง ขึ้นใหม่ ยุบเลิกตำแหน่ง เปลี่ยนแปลง รองรับปริมาณงาน ว่างไม่จำเป็น ว่าง รองรับคุณภาพงาน 6 กรณี

ป้องกันภาวะคนล้นงาน งานล้นคน การปรับปรุงตำแหน่ง เหตุผลความจำเป็นด้านปริมาณงานคุณภาพงานเป็นสำคัญ มิใช่เพื่อเหตุผลด้านตัวบุคคล คำนึงถึงอัตราลูกจ้าง/พนักงานจ้าง ความก้าวหน้าในสายงาน วัตถุประสงค์ ป้องกันภาวะคนล้นงาน งานล้นคน ความคุ้มค่า

การยุบเลิกและเปลี่ยนแปลงตำแหน่ง การปรับปรุงตำแหน่ง สายงาน/นอกควบ/ตำแหน่งบริหาร การยุบเลิก กรณีไม่มีความจำเป็น เป็นตำแหน่งว่าง การปรับลดหรือขยายระดับตำแหน่ง รองรับการบรรจุ/แต่งตั้ง ตัดโอนตำแหน่ง ตัดโอนจากกอง/ฝ่าย ไปอีกแห่งหนึ่ง ก.จังหวัดเห็นชอบ ยกเว้นปรับลด/ขยาย ตำแหน่งปฏิบัติ เปลี่ยนแปลงเลขที่ตำแหน่ง ตำแหน่งเดิม/งานเดียวกัน การปรับปรุงและตัดโอน เกลี่ยตำแหน่งว่าง/ปรังปรุงชื่อ และเลขที่ตำแหน่ง

การปรับปรุงด้านโครงสร้าง การปรับขนาด การกำหนดส่วนราชการ การปรับปรุงทั้งโครงสร้างและตำแหน่ง

การขอจัดตั้งส่วนราชการ

การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการและตำแหน่งตามประเภท อปท. อบจ. ส่วนราชการอื่นที่อาจกำหนดได้ ตามความจำเป็นก.ท.กำหนด 10 กอง เทศบาล ส่วนราชการหลัก ส่วนราชการอื่นที่อาจกำหนดได้ ตามความจำเป็นก.ท.กำหนด 13 กอง เล็ก กลาง ใหญ่ ส่วนราชการอื่น ที่จำเป็นต้องมี ก.กลาง.กำหนด อบต. ส่วนราชการอื่นที่อาจกำหนดได้ ตามความจำเป็นก.ท.กำหนด 10 กอง เล็ก กลาง ใหญ่

การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบจ. การกำหนดโครงสร้างส่วนราชการของ อบจ. ส่วนราชการอื่น ส่วนราชการที่จำเป็นต้องมี - กองสาธารสุข - กองกิจการพานิชย์ - กองกิจการขนส่ง - กองส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม - กองพัฒนาชนบท - กองส่งเสริมคุณภาพชีวิต - กองป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย - กองทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม - กองพัสดุ และทรัพย์สิน (รวม 9 กอง) -สำนักปลัด อบจ. -กองกิจการสภา อบจ. -กองแผนและงบประมาณ -กองคลัง -กองช่าง -หน่วยตรวจสอบภายใน อบจ.

การจัดตั้งส่วนราชการหรือการปรับปรุงโครงสร้าง มี 4 ลักษณะ ดังนี้ 1. สำนัก/กอง 2. ยกฐานะของกองเป็นสำนัก/ฝ่ายเป็นกอง 3. ยุบรวมกองแล้วยกฐานะเป็นสำนัก 4. ปรับระบบงานภายใน

1. แนวทางการดำเนินการขอจัดตั้งส่วนราชการ หรือการปรับปรุงโครงสร้าง การวิเคราะห์ภารกิจ (business analysis) เหตุผลความจำเป็นในการขอจัดตั้ง ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ นโยบาย แผนงานสำคัญของรัฐบาลที่ส่วนราชการต้องรับผิดชอบ ปริมาณงาน ค่าใช้จ่าย อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ ร่างประกาศแบ่งส่วนราชการ คำชี้แจงอื่นๆ (ถ้ามี)

1. การวิเคราะห์ภารกิจ (business analysis) ภารกิจของหน่วยงาน 1. เป็นงานที่จำเป็นต้องปฏิบัติอยู่หรือไม่ 1. การวิเคราะห์ภารกิจ (business analysis) 2. เป็นงานที่มีการปฏิบัติซ้ำซ้อนอยู่ที่ใดหรือไม่ ใช่ ยกเลิก ไม่ใช่ ใช่ ยกเลิก/รวม/โอนงาน 3. เป็นงานที่ถือเป็นหน้าที่หลักใช่หรือไม่ ไม่ใช่ 4. เป็นงานที่มอบ/กระจายอำนาจไปให้ส่วนราชการอื่น/ได้หรือไม่ ใช่ แปรรูป/จ้างเหมา ไม่ใช่ ใช่ โอนงาน 5. เป็นงานที่ดำเนินการโดยจัดตั้งเป็นองค์กรของรัฐรูปแบบอื่นได้หรือไม่ ไม่ใช่ ใช่ จัดตั้งหน่วยงาน 6. เป็นงานที่จำเป็นต้องดำเนินการโดยรัฐทั้งหมดหรือไม่ ใช่ คงภารกิจของส่วนราชการ ไม่ใช่

2. เหตุผลความจำเป็นในการขอจัดตั้ง 2.1 เมื่อจัดตั้งขึ้นแล้วจะเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นในด้านใด 2.2 เหตุผลที่แสดงว่าจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารราชการสามารถแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องในการดำเนินงานที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และ/หรือสามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงในบริบทต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างไร และประชาชนจะได้รับประโยชน์เพิ่มขึ้นอย่างไร 2.3 ชี้แจงสาเหตุที่ต้องขอปรับปรุงส่วนราชการ 2.3.1 หน้าที่ความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น หรือเปลี่ยนแปลงไป โดยชี้แจงรายละเอียด ว่ามีงานเพิ่มขึ้นอย่างไร หรือลักษณะงานเปลี่ยนแปลงไปประการใด 2.3.2 มีการเปลี่ยนแปลงระบบ หรือวิธีการทำงาน เฉพาะหน่วยงานหรือใน ภาพรวมของกรม 2.3.3 ปัญหาการดำเนินงาน หรือการบริหารงานของกรมอันเนื่องมาจากโครงสร้าง ส่วนราชการเดิมไม่เหมาะสม

3. ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ 3.1 ขอบเขตอำนาจหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนด 3.1.1 วัตถุประสงค์ 3.1.2 หน้าที่และความรับผิดชอบ 3.2 การแบ่งส่วนราชการ 3.2.1 ให้แสดงแผนภูมิการแบ่งส่วนราชการในปัจจุบัน 3.2.2 ให้แสดงการเปรียบเทียบการแบ่งส่วนราชการที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่ขอ ปรับปรุงใหม่ โดยให้จัดทำเป็นตารางเปรียบเทียบ ทั้งนี้ ให้ระบุด้วยว่ามี การปรับปรุงอย่างไร 3.3 หน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการ 3.3.1 ให้ชี้แจงหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละส่วนราชการในปัจจุบัน 3.3.2 สำหรับส่วนราชการที่ขอปรับปรุง ให้ชี้แจงหน้าที่และความรับผิดชอบของ ส่วนราชการที่ขอปรับปรุงเปรียบเทียบกับหน้าที่ความรับผิดชอบในปัจจุบัน

4. นโยบายแผนงานสำคัญของท้องถิ่นที่ส่วนราชการต้องรับผิดชอบ ให้แสดงถึงนโยบายและแผนงานสำคัญของท้องถิ่นและตามแผนพัฒนาจังหวัด อำเภอ โดยแสดงความเชื่อมโยงกับแผนระดับชาติ จังหวัด อำเภอ และท้องถิ่น

5. ปริมาณงาน ให้แสดงว่างานสำคัญๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบันได้แก่งานอะไรบ้าง มีปริมาณงานมากน้อยเพียงใด โดยให้แสดงสถิติปริมาณงานย้อนหลัง 3 ปี สำหรับงานใหม่ให้แสดงว่าได้ลงมือทำอะไรไปบ้างแล้วอย่างไรหรือไม่ และให้แสดงประมาณการปริมาณงานล่วงหน้า 3 ปี ตามงานที่จะพึงมี หรือเป้าหมายของงานตามแผน

6. ค่าใช้จ่าย ให้แสดงรายละเอียดงบประมาณค่าใช้จ่ายในปัจจุบัน (ถ้ามี) และประมาณการค่าใช้จ่ายในปีงบประมาณถัดไป (3 ปีข้างหน้า) เฉพาะส่วนราชการที่ขอปรับปรุง โดยจำแนกรายละเอียดงบประมาณตามงบรายจ่าย ได้แก่ งบบุคลากร งบดำเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน และงบรายจ่ายอื่น

7. อัตรากำลังเจ้าหน้าที่ 7.1 ให้สรุปกรอบอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน 7.2 ให้แสดงแผนภูมิอัตรากำลังเฉพาะกอง / สำนักที่เกี่ยวข้องกับการขอปรับปรุงการแบ่งส่วนราชการ โดยให้แสดงถึงอัตรากำลังที่มีอยู่ในปัจจุบัน และอัตรากำลังที่ขอปรับปรุงใหม่

8. ร่างประกาศแบ่งส่วนราชการ ให้เสนอร่างประกาศแบ่งส่วนราชการ พร้อมเหตุผลในการปรับปรุงส่วนราชการ 9. คำชี้แจงอื่นๆ (ถ้ามี)

แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกำหนดโครงสร้างและการกำหนดตำแหน่ง เรื่อง ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ ข้อกฎหมาย การจัดตั้งส่วนราชการระดับกอง สำนัก 1. อปท.นำเสนอรายละเอียดให้ ก.จังหวัดพิจารณา ดังนี้ เหตุผลความจำเป็น ภารกิจ อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบของส่วนราชการเดิม ภารกิจ อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบของส่วนราชการที่จัดตั้ง ลักษณะงานที่ปฎิบัติ คุณภาพ และปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นหรือแตกต่างไปจากเดิม กรอบโครงสร้างอัตรากำลังพนักงานเทศบาล เดิมและใหม่ ร่างประกาศกำหนดส่วนราชการ ประกาศมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับโครงสร้าง ฯ ลงวันที่ 2 มิ.ย.48 วิธีดำเนินการ 1. ก.ท.จ.พิจารณาและทำความเห็นเสนอ ก.ท. พร้อมข้อมูลรายละเอียด และรายงานการประชุม 2. กรณีได้รับความเห็นชอบจึงประกาศกำหนด ส่วนราชการ

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ เรื่อง ขั้นตอนและวิธีการดำเนินการ กฎหมาย การกำหนดฝ่าย 1. อปท.นำเสนอรายละเอียดให้ ก.จังหวัดพิจารณา ดังนี้ (1) เหตุผลความจำเป็น (2) ภารกิจ อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบของส่วนราชการเดิม (3) ภารกิจ อำนาจหน้าที่ ความรับผิดชอบของส่วนราชการที่จัดตั้ง (4) ลักษณะงานที่ปฏิบัติ คุณภาพ และปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น หรือแตกต่างไปจากเดิม (5) กรอบโครงสร้างอัตรากำลังพนักงานเทศบาล เดิมและใหม่ (6) ร่างประกาศกำหนดส่วนราชการ 1.ประกาศมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับโครงสร้าง ฯลงวันที่ 2 มิ.ย.48 2.นส.ก.กลาง ที่ มท 0809.1/ ว 154 ลว 8 พ.ย.45 3.ก.ท.มอบอำนาจให้ ก.ท.จ.ตามมติ 1/2550 เมื่อ 29 ม.ค.50) วิธีดำเนินการ 1. ก.ท.จ.พิจารณาเห็นชอบ 2. กรณีได้รับความเห็นชอบจึงประกาศกำหนดส่วน ราชการ 3. กรณีเป็นฝ่ายที่แตกต่าง ว 154 ให้ ก.ท.เห็นชอบ

การปรับขนาด อปท.

การกำหนดตำแหน่งตามกรอบโครงสร้างส่วนราชการของ อบจ. จำนวน ระดับตำแหน่ง หมายเหตุ ปลัด อบจ. 1 8 หรือ 9 ไม่ยืดหยุ่น รองปลัด อบจ. 1-3 7 หรือ 8 หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หัวหน้าฝ่าย 6 หรือ 7

* ปลัด อบต. 8 มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณ ที่ผ่านมา 20 ล้านบาทขึ้นไป * รองปลัด อบต. 8 มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณ ที่ผ่านมา 40 ล้านบาทขึ้นไป และมี ผอ.กอง 8 ตั้งแต่ 1 กองขึ้นไป * หัวหน้าส่วนราชการ มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณ ระดับกองหรือ ที่ผ่านมา 40 ล้านบาทขึ้นไป เทียบเท่า 8

* ปลัด อบต. 7 มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณ ที่ผ่านมา 6 ล้านบาทขึ้นไป * หัวหน้าส่วน 7 มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณ

วิธีการขอปรับระดับตำแหน่ง 1. เสนอของความเห็นชอบ ก.อบต.จังหวัด เอกสารประกอบด้วย * งบดุลปีงบประมาณที่ผ่านมา * รายจ่ายด้านบุคคลไม่เกินร้อยละ * รายชื่อ ผู้นำชุมชนในเขต อบต.

วิธีการขอปรับระดับตำแหน่ง 2. ก.อบต.จังหวัด แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินตัวชี้วัดการกำหนด ระดับตำแหน่งผู้บริหาร ประกอบด้วย * ผู้ทรงคุณวุฒิที่ ก.อบต.จังหวัดคัดเลือก ประธาน * ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องที่ ก.อบต.จังหวัดคัดเลือก 2 คน กรรมการ * ผู้นำชุมชนในเขต อบต. ที่เสนอขอ ปรับขนาด โดย ก.อบต.จังหวัดเป็น ผู้คัดเลือก 1 คน กรรมการ * ท้องถิ่นจังหวัดหรือผู้แทน เป็นกรรมการและเลขานุการ

วิธีการขอปรับระดับตำแหน่ง 3. คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ประเมินตามแบบที่ ก.กลางกำหนด ประกอบด้วย 3.1 เกณฑ์ปริมาณงาน (ประชากร พื้นที่ ค่าใช้จ่ายด้านบุคคล) ต้องมีคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวมทั้งหมด 100 คะแนน 3.2 เกณฑ์ประสิทธิภาพ (ใช้แบบประเมินโบนัส) ต้องมีคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของคะแนน รวม 100 คะแนน

วิธีการขอปรับระดับตำแหน่ง 4. สรุปผลคะแนนเสนอให้ ก.อบต.จังหวัด พิจารณาให้ความเห็นชอบ 5. ก.อบต.จังหวัด พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้ว อบต.ประกาศ ปรับปรุงแผนตามมติ ก.อบต.จังหวัด (กรณีปรับขนาดให้ประกาศ กำหนดขนาด อบต. และระดับตำแหน่งปลัด อบต.)

* ปลัดเทศบาล 9 มีรายได้รวมเงินอุดหนุนทั่วไปที่รับจริง ซึ่งมิได้ กำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ในกิจการใด และ ต้องนำมาตราเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปี ของงบประมาณที่ผ่านมาตั้งแต่ 80 ล้านบาทขึ้นไป * รองปลัดเทศบาล 9 สามารถมีรองปลัดเทศบาล ระดับ 9 หรือระดับ 8 หรือระดับ 7 (จำนวน 2 – 4 คน ระดับ 7 มีได้ ไม่เกิน 1 คน)

วิธีการขอปรับขนาดเทศบาลเป็นขนาดใหญ่ 1. เสนอของความเห็นชอบ ก.ท.จ. เอกสารประกอบด้วย * งบดุลปีงบประมาณที่ผ่านมา * รายจ่ายด้านบุคคลไม่เกินร้อยละ * รายชื่อ ผู้นำชุมชนในเขต อบต.

วิธีการขอปรับขนาดเทศบาลเป็นขนาดใหญ่ 2. ก.ท.จ. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการประเมินเกณฑ์การปรับขนาด เทศบาลเป็นขนาดใหญ่ ประกอบด้วย * ผู้ทรงคุณวุฒิที่ ก.ท.จ. คัดเลือก ประธาน * ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องที่ ก.ท.จ. คัดเลือก 2 คน กรรมการ * ผู้นำชุมชนในเขต เทศบาล ที่เสนอขอ ปรับขนาด โดย ก.ท.จ. เป็น ผู้คัดเลือก 1 คน กรรมการ * เลขานุการ ก.ท.จ.หรือผู้แทน เป็นกรรมการและเลขานุการ

วิธีการขอปรับขนาดเทศบาลเป็นขนาดใหญ่ 3. คณะอนุกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ประเมินตามแบบที่ ก.กลางกำหนด ประกอบด้วย 3.1 เกณฑ์รายได้ 100 คะแนน 3.2 เกณฑ์ปริมาณงาน 100 คะแนน 3.3 เกณฑ์ประสิทธิภาพ 100 คะแนน ต้องได้คะแนนรวมเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75

วิธีการขอปรับขนาดเทศบาลเป็นขนาดใหญ่ 4. สรุปผลคะแนนเสนอให้ ก.ท.จ.พิจารณาให้ความเห็นชอบ 5. ก.ท.จ. พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้ว เสนอให้ ก.ท. พิจารณาให้ความเห็นชอบ แล้วแจ้งให้เทศบาล ประกาศปรับปรุงแผนตามมติ ก.ท. ทั้งนี้ การปรับขนาดเทศบาลหากมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับตำแหน่งผู้บริหารให้ถือว่าเป็นการปรับปรุงแผนอัตรากำลัง 3 ปี ในคราวเดียวกัน

* ปลัดเทศบาล 8 มีรายได้รวมเงินอุดหนุนทั่วไปในปีงบประมาณ ที่ผ่านมา (ไม่รวมเงินกู้) 20 ล้านบาทขึ้นไป * รองปลัดเทศบาล 8 มีรายได้รวมเงินอุดหนุนทั่วไปในปีงบประมาณ ที่ผ่านมา (ไม่รวมเงินกู้) 40 ล้านบาทขึ้นไป และ มีหัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือเทียบเท่า เป็นระดับ 8 อย่างน้อย 1 กอง * ผอ.กอง มีรายได้รวมเงินอุดหนุนทั่วไปในปีงบประมาณ ที่ผ่านมา (ไม่รวมเงินกู้) 40 ล้านบาทขึ้นไป

วิธีการขอปรับขนาดเทศบาลเป็นขนาดกลาง 1. เสนอของความเห็นชอบ ก.ท.จ. เอกสารประกอบด้วย * งบดุลปีงบประมาณที่ผ่านมา * รายจ่ายด้านบุคคลไม่เกินร้อยละ * รายชื่อ ผู้นำชุมชนในเขต อบต.

วิธีการขอปรับขนาดเทศบาลเป็นขนาดกลาง 2. ก.ท.จ. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการประเมินเกณฑ์การปรับขนาด เทศบาลเป็นขนาดกลาง ประกอบด้วย * ผู้ทรงคุณวุฒิที่ ก.ท.จ. คัดเลือก ประธาน * ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องที่ ก.ท.จ. คัดเลือก 2 คน กรรมการ * ผู้นำชุมชนในเขต เทศบาล ที่เสนอขอ ปรับขนาด โดย ก.ท.จ. เป็น ผู้คัดเลือก 1 คน กรรมการ * เลขานุการ ก.ท.จ.หรือผู้แทน เป็นกรรมการและเลขานุการ

วิธีการขอปรับขนาดเทศบาลเป็นขนาดกลาง 3. คณะอนุกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ประเมินตามแบบที่ ก.กลางกำหนด ประกอบด้วย 3.1 เกณฑ์รายได้ 100 คะแนน 3.2 เกณฑ์ปริมาณงาน 100 คะแนน 3.3 เกณฑ์ประสิทธิภาพ 100 คะแนน ต้องได้คะแนนรวมเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70

วิธีการขอปรับขนาดเทศบาลเป็นขนาดกลาง 4. สรุปผลคะแนนเสนอให้ ก.ท.จ.พิจารณาให้ความเห็นชอบ 5. ก.ท.จ. พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้ว แจ้งให้เทศบาล ประกาศปรับปรุงแผนตามมติ ก.ท.จ. ทั้งนี้ การปรับขนาดเทศบาลหากมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับตำแหน่งผู้บริหารให้ถือว่าเป็นการปรับปรุงแผนอัตรากำลัง 3 ปี ในคราวเดียวกัน

* ปลัดเทศบาล 7 มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนตั้งแต่ 8 ล้านบาทขึ้นไป * ผอ.กอง ระดับ 7 มีรายได้ไม่รวมเงินอุดหนุนตั้งแต่ 8 ล้านบาทขึ้นไป

วิธีการขอปรับตำแหน่งบริหารในเทศบาลขนาดเล็ก 1. เสนอของความเห็นชอบ ก.ท.จ. เอกสารประกอบด้วย * งบดุลปีงบประมาณที่ผ่านมา * รายจ่ายด้านบุคคลไม่เกินร้อยละ

วิธีการขอปรับตำแหน่งบริหารในเทศบาลขนาดเล็ก 2. ก.ท.จ. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินเกณฑ์การปรับระดับ ตำแหน่ง จำนวนไม่น้อยกว่า 5 คน โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิใน ก.ท.จ. เป็นประธานและท้องถิ่นจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการ

วิธีการขอปรับตำแหน่งบริหารในเทศบาลขนาดเล็ก 3. คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ประเมินตามแบบที่ ก.กลางกำหนด 7 ด้าน ต้องได้คะแนนรวมเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 (คะแนนเต็ม 600 คะแนน)

วิธีการขอปรับตำแหน่งบริหารในเทศบาลขนาดเล็ก 4. สรุปผลคะแนนเสนอให้ ก.ท.จ.พิจารณาให้ความเห็นชอบ 5. ก.ท.จ. พิจารณาให้ความเห็นชอบแล้ว แจ้งให้เทศบาล ประกาศปรับปรุงแผนตามมติ ก.ท.จ.

การปรับปรุงตำแหน่งลูกจ้างประจำ * มีคุณสมบัติครบถ้วนในหมวดชื่อตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง * อปท. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินบุคคล (มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ คุณวุฒิตรงตาม คุณสมบัติของตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง) * ได้รับความเห็นชอบจาก ก.จังหวัด

การคำนวณจำนวนตำแหน่ง

วิธีคำนวณ การคำนวณจำนวนตำแหน่งที่ต้องการจากปริมาณงาน และมาตรฐานการทำงาน โดยปกติจะคำนวณจากสูตร ต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 วันทำงานมาตรฐานของข้าราชการปีหนึ่ง = 230 วัน เวลาทำงานราชการ 8 ชั่วโมง หัก เวลาธุระส่วนตัว 2 ชั่วโมง = 6 ชั่วโมง ดังนั้น เวลาการทำงานในหนึ่งปี คือ 230 x 6 = 1,380 ชั่วโมง จำนวนคน = ปริมาณงานทั้งหมด 1 ปี x เวลามาตรฐานต่องาน 1 ชิ้น เวลาทำงานมาตรฐานต่อคนต่อปี

ตัวอย่างที่ 2 การคำนวณจำนวนตำแหน่ง เช่น ตัวอย่างที่ 2 การคำนวณจำนวนตำแหน่ง เช่น ในฝ่ายหนึ่งมีงานพิมพ์เฉลี่ยปีละ ๖,๔๔๐ หน้า มีเจ้าหน้าที่พิมพ์ดีด อยู่ ๑ ตำแหน่ง ซึ่งต้องทำงานล่วง เวลา และมีงานคั่งค้างอยู่เป็นประจำ ฝ่ายดังกล่าว จึงประสงค์จะเพิ่มตำแหน่งเจ้าหน้าที่พิมพ์ดีดอีก กรณีเช่นนี้ ต้องคิดมาตรฐานการทำงานก่อนว่า ใน ๑ วันทำการ เจ้าหน้าที่พิมพ์ดีด ๑ คน พิมพ์หนังสือ ได้กี่หน้า ซึ่งตามมาตรฐานที่ ก.พ.กำหนดไว้ การทำงานพิมพ์ดีด ๑ คน ควรจะพิมพ์ได้วันละ ๑๕ หน้า จึงมีวิธีการคำนวณ ดังนี้ ทั้งปีมีงานพิมพ์ ๖,๔๔๐ หน้า ปีหนึ่งทำงาน ๒๓๐ วัน ใน ๑ วัน จะมีงานพิมพ์ = ๖๔๔๐ = ๒๘ หน้า ๒๓๐ งานพิมพ์ดีด ๑๕ หน้า จะต้องใช้เจ้าหน้าที่พิมพ์ดีด ๑ ตำแหน่ง งานพิมพ์ดีด ๒๘ หน้า จะต้องใช้เจ้าหน้าที่พิมพ์ดีด ๒๘ = ๑.๙ ตำแหน่ง ๑๕ กรณี เช่นนี้ สามารถขอกำหนดตำแหน่งเพิ่มใหม่ได้ ๒ ตำแหน่ง

ตัวอย่างที่ 3 งานหนังสือเข้า ตัวอย่างที่ 3 งานหนังสือเข้า ขั้นตอนในการปฏิบัติงาน เวลาเฉลี่ยในการปฎิบัติงานต่อหนังสือเข้า ๑ ฉบับ แยกชนิดหนังสือ 18 วินาที ประทับตรา 12 วินาที รับลงทะเบียน 30 วินาที รวมใช้เวลาดำเนินการ 60 วินาที ต่อ ฉบับ หรือ 1 นาที ต่อ 1 ฉบับ เฉพาะฉะนั้น ใน 1 วัน เจ้าหน้าที่ทำงาน 8 ชั่วโมง หักเวลาส่วนตัว 2 ชั่วโมง เหลือเวลาปฏิบัติงานจริง 6 ชั่วโมง อย่างไรก็ตาม เจ้าหน้าที่ต้องการเวลาสำหรับธุระส่วนตัว หรืออาจมีเหตุการณ์อื่นเข้ามาแทรกระหว่างปฎิบัติงาน ในการคำนวณเวลา จึงต้องนำเวลาเหล่านี้เผื่อบวกไว้ด้วย ประมาณ 25 % ( 2 x100 / 8 = 25 %) ดังนั้น เวลาที่ใช้ในการปฎิบัติงานหนังสือเข้า 60 วินาที เวลาธุระส่วนตัว 25 % (60 x 25 %) 15 วินาที รวม 75 วินาที ต่อ ฉบับ หรือ 1.25 วินาที ต่อ ฉบับ ถ้าหาก ใน 1 วัน มีหนังสือเข้า 500 ฉบับ ต่อ วัน จะต้องใช้เวลาในการปฎิบัติงาน = 500 x 1.25 = 625 = 10.40 ชั่วโมง 60 แต่ใน 1 วัน เจ้าหน้าที่ 1 คน จะทำงานเพียง 6 ชั่วโมง ดังนั้น จำเป็นต้องใช้คนสำหรับงานหนังสือเข้า = 10.40 = 1.70 คน 6 หรือประมาณ 2 คน

ตัวอย่างที่ 4 แผนกสารบรรณแห่งหนึ่งมีหนังสือเข้าออกปีละ ๘๒๘,๐๐๐ ฉบับเจ้าหน้าที่ธุรการ ๑ คน ใช้เวลาลงทะเบียน ๒ นาที อยากทราบว่า จะต้องใช้เจ้าหน้าที่ลงทะเบียนทั้งหมด กี่คน สูตร การคำนวณ จำนวนคน = ปริมาณงานทั้งหมดใน ๑ ปี X เวลามาตรฐานต่องาน ๑ ชิ้น เวลาทำงานมาตรฐานต่อคนต่อปี X เวลาเฉลี่ยต่อการปฎิบัติงานหนังสือเข้าออก แทนค่าในสูตร จำนวนคน = ๘๒๘,๐๐๐ X ๒ = ๒๐ คน ๑,๓๘๐ X ๖๐

ป้องกันภาวะคนล้นงาน งานล้นคน การปรับปรุงตำแหน่ง * เหตุผลความจำเป็นด้านปริมาณงาน คุณภาพงานเป็นสำคัญ * มิใช่เพื่อเหตุผลด้านตัวบุคคล * คำนึงถึงอัตราลูกจ้าง/พนักงานจ้าง * ความก้าวหน้าในสายงาน วัตถุประสงค์ ป้องกันภาวะคนล้นงาน งานล้นคน ความคุ้มค่า

การเลื่อนขั้นเงินเดือน

ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงานและเลื่อนขันเงินเดือน ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นประเมิน หลักเกณฑ์ อบต. ข้อ 303 เทศบาล ข้อ 334 ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น แจ้งผลการประเมินและเปิดโอกาส ให้ผู้รับการประเมิน ชี้แจงหรือขอคำปรึกษา ระบบ เปิด หลักเกณฑ์ อบต. ข้อ 304 เทศบาล ข้อ 335 กรรมการกลั่นกรองผลการประเมิน (พิจารณาว่าคะแนนเหมาะสมแล้วหรือไม่) ประกาศผู้ได้คะแนนดีเด่น ดี นายก ฯ มีความเห็นต่อผลการประเมิน หลักเกณฑ์ อบต. ข้อ 217 เทศบาล ข้อ 242 กรรมการเลื่อนขั้นเงินเดือน (พิจารณาจากคะแนนประเมินว่าใครได้เลื่อนกี่ขั้น กี่คน) นายก ฯ ออกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน

ข้อสังเกต 1. การประเมินผลการปฏิบัติงานผู้บังคับบัญชาชั้นต้นจะเริ่มประเมินได้ ต่อเมื่อสิ้นรอบประเมินแต่ละรอบแล้ว เช่น รอบที่ 1 (1 ตุลาคม ถึง 31 มีนาคม) เริ่มประเมินวันที่ 1 เมษายน 2. เมื่อพิจารณาถึงหลักเกณฑ์การประเมินจะต้องใช้ระบบเปิด หาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใด ออกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนในวันที่ 1 เมษายน หรือ 1 ตุลาคม พิจารณาได้ว่าไม่ถูกต้องแน่นอน 3. ผู้ที่ได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนในครึ่งปีหลัง 1.5 ขั้น (1 ตุลาคม) จะต้องได้คะแนนประเมินในรอบแรกในระดับดีเด่น (หลักเกณฑ์ อบต. ข้อ 209 เทศบาล ข้อ 234)

การเลื่อนขั้นเงินเดือนกรณีปลัดรักษาการนายก อปท. * กกต. รับรองผลหลังวันที่ 1 เมษายน หรือ 1 ตุลาคม * กกต. รับรองผลก่อนวันที่ 1 เมษายน หรือ 1 ตุลาคม กรณีดังกล่าว ปลัดสามารถปฏิบัติหน้าที่ของนายก อปท. ในระหว่างที่ยังไม่มีนายก อปท. ได้เป็นการชั่วคราวจนถึงวันประกาศ ผลการเลือกตั้งเท่านั้น (น. มท 0804.3/4410 ลว. 28 เมษายน 2552)

การเลื่อนขั้นเงินเดือน 1 เมษายน * ประเมินผลงานครึ่งปีแรก 1 ตุลาคม – 31 มีนาคม * โควตา 1 ขั้น ไม่เกินร้อยละ 15 ของข้าราชการ ณ วันที่ 1 มีนาคม * ประกาศรายชื่อข้าราชการที่อยู่ในระดับดีเด่น

การเลื่อนขั้นเงินเดือน 1 ตุลาคม * ประเมินผลงานครึ่งปีแรก 1 เมษายน – 30 กันยายน * โควตา 1 ขั้น ไม่เกินร้อยละ 15 ของข้าราชการ ณ วันที่ 1 มีนาคม * วงเงินไม่เกินร้อยละ 6 ของเงินเดือนข้าราชการ ณ วันที่ 1 กันยายน * ให้นำเงินที่ได้เลื่อนขั้นเงินเดือน ณ 1 เมษายน มาหักออกก่อน (รวมทั้งข้าราชการที่ย้ายมาหลังวันที่ 1 เมษายน) * ข้าราชการที่จะได้รับการพิจารณา 1.5 ขั้น จะต้องอยู่ในประกาศ รอบเดือนเมษายนระดับดีเด่น

การเลื่อนขั้นเงินเดือน กรณีเงินเดือนเต็มขั้น * ประเมินผลงานครึ่งปีแรก 1 ตุลาคม – 31 มีนาคม * โควตา 1 ขั้น ไม่เกินร้อยละ 15 ของข้าราชการ ณ วันที่ 1 มีนาคม * มีคำสั่งให้ได้รับเงินค่าตอบแทนกรณีเงินเดือนเต็มขั้น (แยกคนละคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน)

การเลื่อนระดับ

เลื่อนระดับในระดับควบ 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง 2. คัดเลือกโดยการประเมินบุคคลและผลการปฏิบัติงาน 3. เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำ และได้รับเงินเดือนไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำสำหรับตำแหน่งที่จะเลื่อนขึ้น โดยไม่เปลี่ยนสายงาน ควบขั้นต้น ไม่มีผลก่อนวันที่ผู้บังคับบัญชา ชั้นต้นบันทึกความเห็นว่าควร เลื่อนระดับได้ 1. เป็นผู้มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง 2. คัดเลือกโดยการประเมินบุคคลและผลการปฏิบัติงาน 3. ได้รับเงินเดือนยังไม่ต่ำกว่าขั้นต่ำกว่าขั้นต่ำของเงินเดือน สำหรับตำแหน่งที่จะเลื่อนและแต่งตั้ง ควบขั้นสูง

เลื่อนระดับนอกระดับควบ มีคุณสมบัติครบถ้วนนับถึงวันยื่นแบบ 1. มีคุณวุฒิ คุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 2. ดำรงตำแหน่งที่ต่ำกว่า 1 ระดับไม่น้อยกว่า 2 ปี 3. มีระยะเวลาขั้นต่ำที่ดำรงตำแหน่งในสายงานตามคุณวุฒิ 4. มีเงินเดือน ถึงระดับ สายงานเริ่มต้น ระดับ 1,2 มีคุณสมบัติครบถ้วนนับถึงวันยื่นแบบ สายงาน เริ่มต้นจากระดับ 3 1. มีคุณวุฒิคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 2. มีระยะเวลาขั้นต่ำที่ดำรงตำแหน่งในสายงานตามคุณวุฒิ 3. มีเงินเดือนในปีงบประมาณที่ผ่านมาไม่ต่ำกว่าอัตราเงินเดือน

การแต่งตั้งให้สูงขึ้น นอกระดับควบ สำหรับตำแหน่งผู้ปฏิบัติที่มีประสบการณ์ อปท. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อปท. แต่งตั้งกรรมการพิจารณาคุณสมบัติ และ ประเมินผลงาน

การแต่งตั้งกรรมการพิจารณาคุณสมบัติและประเมินผลงาน กรณีเทศบาล ให้เทศบาลแต่งตั้ง ประธาน จากข้าราชการหรือพนักงานเทศบาล หรือ เคยเป็นข้าราชการหรือพนักงานเทศบาล ที่เคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่ประเมินสูงกว่าอย่างน้อย 1 ระดับ หรือผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้านที่มีความชำนาญในสายงานนั้น ๆ ซึ่งไม่เคยเป็นข้าราชการมาก่อน กรรมการ จากข้าราชการหรือพนักงานเทศบาล หรือเคยเป็น ข้าราชการหรือพนักงานเทศบาล ที่เคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่ประเมินอย่างน้อยเท่ากับระดับที่ประเมิน หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ฯ จำนวนไม่น้อยกว่า 2 แต่ไม่เกิน 5 คน เลขานุการให้เทศบาลแต่งตั้ง จำนวน 1 คน

การเลื่อนนอกระดับควบขั้นสูง ต้องปรับปรุงตำแหน่งก่อน นายกเป็นผู้สั่งเลื่อนและแต่งตั้งโดยผ่านความเห็นชอบจาก ก.ท.จ. ให้มีผลไม่ก่อนวันที่ผ่านการประเมินจากคณะกรรมการประเมินผลงาน น

การแต่งตั้งกรรมการพิจารณาคุณสมบัติและประเมินผลงาน กรณี อบต. ให้ อบต การแต่งตั้งกรรมการพิจารณาคุณสมบัติและประเมินผลงาน กรณี อบต. ให้ อบต. แต่งตั้ง ประธาน จากข้าราชการหรือพนักงาน อบต. หรือ เคยเป็นข้าราชการหรือพนักงาน อบต. ที่เคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่ประเมินสูงกว่าอย่างน้อย 1 ระดับ หรือผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้านที่มีความชำนาญในสายงานนั้น ๆ ซึ่งไม่เคยเป็นข้าราชการมาก่อน กรรมการ จากข้าราชการหรือพนักงาน อบต. หรือเคยเป็น ข้าราชการหรือพนักงาน อบต. ที่เคยดำรงตำแหน่งในสายงานที่ประเมินอย่างน้อยเท่ากับระดับที่ประเมิน หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ฯ จำนวนไม่น้อยกว่า 2 แต่ไม่เกิน 5 คน เลขานุการให้ อบต. แต่งตั้ง จำนวน 1 คน

การเลื่อนนอกระดับควบขั้นสูง ต้องปรับปรุงตำแหน่งก่อน นายกเป็นผู้สั่งเลื่อนและแต่งตั้งโดยผ่านความเห็นชอบจาก ก.อบต.จังหวัด ให้มีผลไม่ก่อนวันที่ผ่านการประเมินจากคณะกรรมการประเมินผลงาน น

คุณวุฒิ คุณวุฒิ เลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่ง ระดับ 6 ระดับ 7 คุณวุฒิปริญญาตรีหรือเทียบเท่า คุณวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเท่าคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า 6 ปี 7 ปี 4 ปี 5 ปี 2 ปี 3 ปี ตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และ 2 ปวท. หรืออนุปริญญา 2 ปี หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ ปวส. หรืออนุปริญญา 3 ปี หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ เลื่อนขึ้นดำรงตำแหน่ง คุณวุฒิ ระดับ 4 ระดับ 5 ระดับ 6 ตำแหน่งในสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และ 2 ม3 ม.ศ.3 ม6 หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิชาอาชีพ 1) หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ ปวช. หรือประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิชาอาชีพ 2) หรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ 9 ปี 11 ปี 13 ปี 8 ปี 10 ปี 12 ปี 6 ปี 8 ปี 10 ปี 7 ปี 9 ปี 6 ปี 8 ปี

อัตราเงินเดือนในการเลื่อนระดับนอกระดับควบ เงินเดือนปีงบที่แล้ว เงินเดือนปีงบปัจจุบัน 4 7,530 7,940 5 9,210 9,700 6 11,920 7 14,660 แก้ไขตามหนังสือ มท.0809.2/ว 89 ลงวันที่ 29 มิถุนายน 2554

อปท. ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง การเพื่อแต่งตั้งให้สูงขึ้น นอกระดับควบ ตำแหน่งสายงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสายงานนิติการ อปท. ดำเนินการตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อปท. แต่งตั้งกรรมการ ประเมินบุคคลและผลงาน

การปรับตำแหน่ง ระดับ 7 ว หรือ 7 วช 1 การปรับตำแหน่ง ระดับ 7 ว หรือ 7 วช 1. เป็นผู้มีผลงานและมีคุณสมบัติครบถ้วน 2. ลักษณะหน้าที่ ความรับผิดชอบ ปริมาณและคุณภาพของงานเปลี่ยนไปจากเดิม 3.ผ่านการประเมินผลงาน 3 ปี โดยให้เทศบาลแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลงาน 3 ปี คณะกรรมการ 1.ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ ก.ท.จ. คัดเลือก เป็นประธาน 2. ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาชีพนั้น 2 คน 3.ผอ.สำนัก/กองที่เกี่ยวข้อง 1 คน 4.ท้องถิ่นจังหวัด เป็นกรรมการ/เลขา ฯ

กรณีได้รับความเห็นชอบจาก ก. ท. จ กรณีได้รับความเห็นชอบจาก ก.ท.จ. ให้ปรับปรุงตำแหน่งเป็นระดับ 7 ว หรือ 7 วช แล้ว ให้เทศบาลดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลงาน ประกอบด้วย คณะกรรมการ 1.ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาชีพที่ขอประเมินซึ่งมีระดับสูงกว่าผู้ขอประเมิน 1 ระดับ เป็นประธาน 2. ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาชีพนั้น 2 คน 3. ผอ.สำนัก/กองที่เกี่ยวข้อง 1 คน 4. ท้องถิ่นจังหวัด เป็นกรรมการ/เลขา ฯ

การปรับตำแหน่งที่สูงขึ้นตั้งแต่ระดับ 8 ว หรือ 8 วช 9 ว หรือ 9 ชช ให้ดำเนินการได้ต่อเมื่อ 1. เป็นผู้มีผลงานและมีคุณสมบัติครบถ้วน 2. ลักษณะหน้าที่ ความรับผิดชอบ ปริมาณและคุณภาพของงานเปลี่ยนไปจากเดิม 3.ผ่านการประเมินผลงาน 3 ปี โดยให้เทศบาลแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลงาน 3 ปี คณะกรรมการ 1.ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ ก.ท.จ. คัดเลือก เป็นประธาน 2. ผู้แทนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาชีพนั้น 2 คน 3. ปลัดเทศบาล 4.ผู้อำนวยการสำนัก/กองที่เกี่ยวข้อ 1 คน 5. ท้องถิ่นจังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ

กรณีได้รับความเห็นชอบจาก ก. ท. จ กรณีได้รับความเห็นชอบจาก ก.ท.จ. ให้ปรับปรุงตำแหน่งเป็นระดับ 8 ว 8 วช หรือ 9 ว หรือ 9 วช แล้ว ให้ ก.ท.จ.ทำความเห็นสอบ ก.ท. พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนที่ เทศบาลจะประกาศปรับปรุงตำแหน่ง คณะกรรมการ 1.ผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาชีพจากสถาบันการศึกษา หรือส่วนราชการหรือองค์กรวิชาชีพ ที่ ก.ท. คัดเลือก จำนวน 3 คน เป็นกรรมการประเมินผลงานความชำนาญการและความเชี่ยวชาญ

การสอบคัดเลือกเปลี่ยนสายงานผู้ปฏิบัติเป็นสายงานผู้บริหาร เทศบาล ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง เทศบาล.แต่งตั้งกรรมการสอบคัดเลือก ไม่น้อยกว่า 5 คน ดังนี้ 1. ปลัดเทศบาล เป็นประธาน 2. ผู้ทรงคุณวุฒิ 3. ผู้แทนหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง 4. ผู้แทนพนักงานเทศบาล

การดำเนินการของคณะกรรมการ ส่งสำเนาคำสั่งแต่งตั้งกรรมการสอบ ,ประกาศรับสมัครสอบ ให้ ก.ท.จ. ก่อนรับสมัครไม่น้อยกว่า 7 วันทำการ กำหนดวัน / เวลา / สถานที่คัดเลือก ประกาศก่อน ไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ/กรรมการ เป็นผู้ประกาศรับสมัคร จัดเจ้าหน้าที่รับสมัครไม่น้อยกว่า 10 วันทำการ ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิก่อนสอบไม่น้อยกว่า 10 วันทำการ นายกแต่งตั้ง / ภายหลังมีตำแหน่งว่างภายใน 60 วัน นับแต่ประกาศ อาจแต่งตั้งที่เหลือในบัญชีได้

การสอบคัดเลือกเปลี่ยนสายงานผู้ปฏิบัติเป็นสายงานผู้บริหาร อบต. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อบต. แต่งตั้งกรรมการสอบคัดเลือก ไม่น้อยกว่า 7 คน ดังนี้ 1. ผู้ทรงคุณวุฒิ ใน ก.อบต.จังหวัด 1 คน เป็นประธาน 2. ผู้แทนส่วนราชการ ใน ก.อบต.จังหวัด 2 คน 3. ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน 4. นายก อบต. หรือผู้แทน นายก อบต. 1คน 5. ท้องถิ่นจังหวัด 6. ปลัด อบต. 7. ผู้แทนพนักงานส่วนตำบล เป็นเลขานุการ

การดำเนินการของคณะกรรมการ ส่งสำเนาคำสั่งแต่งตั้งกรรมการสอบ ,ประกาศรับสมัครสอบ ให้ ก.อบต.จังหวัด ก่อนรับสมัครไม่น้อยกว่า 7 วันทำการ กำหนดวัน / เวลา / สถานที่คัดเลือก ประกาศก่อน ไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ/กรรมการ เป็นผู้ประกาศรับสมัคร จัดเจ้าหน้าที่รับสมัครไม่น้อยกว่า 10 วันทำการ ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิก่อนสอบไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ นายกแต่งตั้ง / ภายหลังมีตำแหน่งว่างภายใน 60 วัน นับแต่ประกาศ อาจแต่งตั้งที่เหลือในบัญชีได้

การแต่งตั้งให้สูงขึ้น กรณีการคัดเลือก อปท. ดำเนินการ ตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข มีคุณสมบัติตาม มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง อปท.แต่งตั้งกรรมการคัดเลือก ไม่น้อยกว่า 7 คน ดังนี้ 1. ผู้ทรงใน ก.จว. เป็นประธาน 2. ผู้แทนส่วนราชการใน ก.จว. 2 คน 3. ผู้ทรงคุณวุฒิเชี่ยวชาญการสอบ 1 คน 4. นายก/หรือผู้แทน 1 คน 5. ท้องถิ่นจังหวัด และ 6. พนักงานท้องถิ่น 1 คนเป็นกรรมการ/เลขา ฯ

การดำเนินการของคณะกรรมการ ส่งสำเนาคำสั่งแต่งตั้งกรรมการสอบ ,ประกาศรับสมัครสอบ ให้ ก.จว. ก่อนรับสมัครไม่น้อยกว่า 7 วันทำการ กำหนดวัน / เวลา / สถานที่คัดเลือก ประกาศก่อน ไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ/กรรมการ เป็นผู้ประกาศรับสมัคร จัดเจ้าหน้าที่รับสมัครไม่น้อยกว่า 15 วันทำการ ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิก่อนสอบไม่น้อยกว่า 10 วันทำการ (อบต. ไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ) นายกแต่งตั้ง / ภายหลังมีตำแหน่งว่างภายใน 60 วัน นับแต่ประกาศ อาจแต่งตั้งที่เหลือในบัญชีได้

เส้นทางความก้าวหน้าสายนักบริหารงานเทศบาล คัดเลือกเลื่อนระดับสูงขึ้น ปลัด 10 8 ปี สอบคัดเลือกเปลี่ยนสายงาน 1 ปี 1 ปี ปลัด 9 รองปลัด 9 ผอ.สำนัก 9 2 ปี 2 ปี 4 ปี 4 ปี ปลัด 8 4 ปี ป.โท 3ปี 2 ปี 2 ปี ผอ.กอง 8 ผอ.ส่วน 8 6 ปี 8 ว/8วช รองปลัด 8 4 ปี ป.โท 3ปี 2 ปี 2 ปี 4 ปี ปลัด 7 2 ปี ผอ.กอง 7 ป.โท 3ปี 2 ปี 2 ปี 4 ปี 4 ปี หน.ฝ่าย 7 7ว/7วช รองปลัด 7 ป.โท 3ปี 4 ปี 2 ปี 2 ปี ป.โท 3ปี รอง/ปลัด 6 หน.กอง/ฝ่าย 6 6ว

หลักเกณฑ์การบรรจุและแต่งตั้ง การสอบ การคัดเลือก กรณีอื่น ผู้พ้นจากราชการทหาร บรรจุผู้สอบแข่งขันได้ บรรจุผู้ได้รับการคัดเลือก รับโอน บรรจุผู้เชี่ยวชาญ/ชำนาญการ บรรจุผู้สอบคัดเลือกได้ บรรจุผู้ได้รับทุน เหตุพิเศษ บรรจุผู้มีวุฒิที่ ก.กลาง

การบรรจุผู้สอบแข่งขันได้ หนังสือสำนักงาน ก.จ. ก.ท. ก.อบต. ที่ มท 0809.1/ว 54 ลว. 24 ต.ค. 2545 การบรรจุผู้สอบแข่งขันได้ บัญชี อปท./ก.จังหวัด บรรจุในตำแหน่งที่สอบได้หรือเกื้อกูล คุณวุฒิที่สมัครสอบตรงกับคุณสมบัติเฉพาะ สำหรับตำแหน่ง บรรจุตามลำดับ บัญชีส่วนราชการอื่น บรรจุในตำแหน่งที่สอบได้ คุณวุฒิที่สมัครสอบตรงกับคุณสมบัติเฉพาะ สำหรับตำแหน่งที่บรรจุ กรณี อปท. สอบ กรณี ก.จังหวัด สอบ บรรจุเฉพาะ อปท. นั้น อปท. ที่ร้องขอห้ามปฏิเสธการบรรจุ สามารถให้ อปท. ในจังหวัดใช้บัญชีได้ ห้าม อปท.อื่น / ส่วนราชการอื่นใช้บัญชี อปท. ขอใช้บัญชีไปบรรจุในระดับที่ต่ำกว่าได้ หากผู้สอบได้สมัครใจ การเรียกมารายงานตัวเพื่อบรรจุ ทำเป็นหนังสือส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 10 วัน (นับแต่วันลงทะเบียน)

การแต่งตั้งจากการขอรับรองผลการสอบ การสอบคัดเลือก (สายปฏิบัติ) (มท 0809.2/ว 163 ลว. 29 ก.ย. 2549) อปท. มีตำแหน่งที่เริ่มจากระดับ 3 ว่าง และมีข้าราชการส่วนท้องถิ่นระดับ 3-5 ในสังกัดได้รับการขึ้นบัญชีเป็นผู้สอบได้ การสอบแข่งขัน การสอบคัดเลือก (สายปฏิบัติ) - แต่งตั้งในตำแหน่งที่สอบได้ / เกื้อกูลและวุฒิตรง - แต่งตั้งในระดับเดิม - ไม่ต้องเรียงลำดับ - แต่งตั้งในตำแหน่งที่สอบได้ - แต่งตั้งในระดับเดิม - ไม่ต้องเรียงลำดับ

การบรรจุผู้ไปรับราชการทหารกลับเข้ารับราชการ ข้าราชการส่วนท้องถิ่นออกจากราชการไปรับราชการทหาร ผู้นั้นขอกลับเข้ารับราชการให้ยื่น คำขอ/หนังสือรับรองประวัติตามแบบ อปท.ตรวจสอบเอกสารและประวัติ หากเห็นว่าผู้นั้น  มิได้กระทำการอันเสียหายร้ายแรง  มิได้ขาดคุณสมบัติ  ขอกลับภายใน 180 วัน ให้ อปท. สงวนตำแหน่ง ในระดับเดียวกันไว้ นายก อปท.โดยความเห็นของ ก.จังหวัด  สั่งบรรจุและแต่งตั้งในตำแหน่งระดับเดิมที่สงวนไว้ ให้ได้รับเงินเดือนในขั้นที่เทียบเท่าเหมือนผู้นั้นมิได้ออก จากราชการและได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนครึ่งปีละ 0.5 ขั้น ทั้งนี้ ต้องไม่สูงกว่าขั้นสูงของอันดับ

การบรรจุผู้ออกจากราชการไปแล้วให้กลับเข้ารับราชการ อปท. ตรวจสอบ ผู้ประสงค์ขอกลับเข้ารับราชการ (ไม่ได้ออกระหว่างทดลอง)  ยื่นคำขอตามแบบ  เอกสารประกอบ 1. เอกสาร 2. ประวัติการรับราชการ 3, การทำงานทุกแห่ง การพิจารณาการขอกลับเข้ารับราชการ นายก อปท. โดยความเห็นของ ก.จังหวัด 1. ใบรับรองแพทย์ 2. สำเนาทะเบียนประวัติ 3. หนังสือรับรอง ผบ.เดิม (ผอ.กอง) 4. สำเนาคุณวุฒิ 5. สำเนาทะเบียนบ้าน 6. สำเนาบัตร 7. สำเนาการสมรส/เปลี่ยนชื่อ/สกุล 8. สำเนาคำสั่งให้ออกจากราชการ 1. มีคุณสมบัติทั่วไป/ไม่มีลักษณะต้องห้าม 2. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 3. ไม่มีผู้สอบแข่งขันได้ ผู้สอบคัดเลือกได้ ผู้ได้รับการคัดเลือกรอการบรรจุ/แต่งตั้ง ยกเว้น  ไปดำรงตำแหน่งการเมือง/ส.ส./ส.ว./ สมาชิกท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น  ลาออกติดตามคู่สมรส  ออกจากราชการเพราะยุบเลิกตำแหน่ง สั่งบรรจุและแต่งตั้ง 1. ในระดับที่ไม่สูงกว่าเดิม 2. เงินเดือนในขั้นไม่สูงกว่าขั้น ที่เคยได้รับอยู่ก่อนออก

การบรรจุแต่งตั้งจากการรับโอน

การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ทดลอง 6 เดือน ประเมินทุก 3 เดือน รายงานการให้รับราชการต่อไป ให้ออกจากราชการ ทันทีที่เห็นว่า ความประพฤติไม่ดี ไม่มีความรู้ความสามารถ ลาคลอดบุตร ลาป่วยนับเป็นเวลาทดลองฯ ความเห็นไม่ควรให้รับราชการ

การทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการฯ ผู้ที่ต้องทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ นายก อปท. ตั้งกรรมการ 3 คน ระยะเวลาทดลอง 1. นายก อปท. 2. ผู้มีหน้าที่ดูแลการทดลอง 3. พนักงานส่วนท้องถิ่นผู้เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน 1. ผู้บรรจุจากผู้สอบแข่งขันได้ 2. ผู้บรรจุจากผู้ได้รับคัดเลือก กรณีพิเศษ 3. ผู้โอนมาระหว่างทดลองฯ 1. กำหนด 6 เดือน 2. อาจขยายได้อีก 3 เดือน ประเมินผู้ทดลองฯ (รายงานนายก อปท.) ครั้งที่ 1 ปฏิบัติงานครบ 3 เดือน ครั้งที่ 2 ปฏิบัติงานครบ 6 เดือน ครั้งที่ 3 กรณีขยายเวลา สูงกว่าเกณฑ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ สูงกว่าเกณฑ์ ต่ำกว่าเกณฑ์ สูงกว่าเกณฑ์ ต่ำกว่าเกณฑ์  ให้ทดลองต่อ  ให้ทดลองต่อ  ให้ออก  ผ่านทดลอง  สั่งให้ออก  ต่ออีก 3 เดือน  ผ่านทดลอง  สั่งให้ออก

การย้าย ผู้บริหารท้องถิ่นออกคำสั่งย้าย โดยความเห็นชอบของ ก. จังหวัด การย้ายไปดำรงตำแหน่งในสายงานเดิม ตำแหน่งผู้ปฏิบัติงาน ตำแหน่งบริหาร การย้ายไปดำรงตำแหน่งในสาย งานที่ต่ำกว่าตำแหน่งสายงานเดิม การย้ายไปดำรงตำแหน่งต่างสายงาน ตำแหน่งผู้ปฏิบัติการ ตำแหน่งบริหาร สายงานเริ่มต้นระดับเดียวกัน * ต้องดำเนินการคัดเลือก สายงานเริ่มต้นต่างระดับกัน (ยกเว้นย้ายไปสาย 3) แต่งตั้งตำแหน่งสายงานผู้มี ประสบการณ์ (เลื่อนไหล)

บัญชีจัดกลุ่มงานที่เกี่ยวข้องและเกื้อกูลกันของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และ ระดับ 2 กลุ่มที่ ตำแหน่ง 1 เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล -เจ้าหน้าที่ทะเบียน เจ้าหน้าที่ธุรการ -เจ้าพนักงานทะเบียน เจ้าพนักงานธุรการ 2 -เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ -เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว -เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ -เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว 3 -เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย -เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย -เจ้าหน้าที่เทศกิจ

กลุ่มที่ ตำแหน่ง 4 -เจ้าหน้าที่การคลัง -เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ -เจ้าพนักงานคลัง -เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ -เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี -เจ้าหน้าที่พัสดุ -เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี -เจ้าพนักงานพัสดุ -เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี 5 -ช่างโยธา -ช่างเขียนแบบ -เจ้าหน้าที่บริหารงานช่าง -นายช่างโยธา -นายช่างเขียนแบบ -ช่างผังเมือง -ช่างสำรวจ -นายช่างผังเมือง -นายช่างสำรวจ 6 -ช่างศิลป์ -ช่างภาพ -นายช่างศิลป์ -นายช่างภาพ

กลุ่มที่ ตำแหน่ง 7 -ช่างเครื่องยนต์ -ช่างไฟฟ้า -เจ้าหน้าที่บริหารงานช่าง -นายช่างเครื่องยนต์ -นายช่างไฟฟ้า -ช่างเครื่องกล -เจ้าหน้าที่การประปา -นายช่างเครื่องกล -เจ้าพนักงานการประปา 8 -เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน -เจ้าหน้าที่ศูนย์เยาวชน -เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน -เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน 9 -เจ้าหน้าที่ห้องสมุด -เจ้าพนักงานห้องสมุด 10 -ทันตสาธารณสุข -ทันตนามัย 11 -เจ้าหน้าที่สุขาภิบาล -เจ้าหน้าที่โภชนาการ -เจ้าพนักงานสุขาภิบาล -เจ้าพนักงานโภชนาการ

กลุ่มที่ ตำแหน่ง 12 -เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสุขภาพ -การพยาบาลเทคนิค -เจ้าพนักงานส่งเสริมสุขภาพ -เจ้าหน้าที่พยาบาล -เจ้าหน้าที่ผดุงครรภ์สาธารณสุข -ผู้ช่วยเภสัชกร -เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน 13 - เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์การแพทย์ - เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ - เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ - เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ 14 -เจ้าหน้าที่สวนสาธารณะ -เจ้าพนักงานสวนสาธารณะ 15 -เจ้าหน้าที่เอ็กซเรย์ -เจ้าหน้าที่รังสีเทคนิค -เจ้าพนักงานรังสีการแพทย์

กับสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 บัญชีกลุ่มงานเกี่ยวข้องและเกื้อกูลของสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 1 และระดับ 2 กับสายงานที่เริ่มต้นจากระดับ 3 กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 1 -เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล -เจ้าหน้าที่ธุรการ -เจ้าพนักงานธุรการ -เจ้าหน้าที่ทะเบียน -เจ้าพนักงานทะเบียน -เจ้าหน้าที่บริหารงานทะเบียนและบัตร -เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป -บุคลากร -เจ้าหน้าที่บริหารงานธุรการ -เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน -เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ 2 -เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ -เจ้าพนักงานประชาสัมพันธ์ -เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการท่องเที่ยว -เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว -นักวิชาการประชาสัมพันธ์ -นักวิชาการพัฒนาการท่องเที่ยว -นักพัฒนาการท่องเที่ยว -เจ้าหน้าที่พัฒนาการท่องเที่ยว

กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 3 -เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทา ฯ -เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาฯ -เจ้าหน้าที่เทศกิจ -เจ้าพนักงานเทศกิจ 4 -เจ้าหน้าที่การคลัง -เจ้าพนักงานการคลัง -เจ้าหน้าที่การเงินและบัญชี -เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี -เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้ -เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ -เจ้าหน้าที่พัสดุ -เจ้าพนักงานพัสดุ -เจ้าหน้าที่บริหารงานการเงินและบัญชี -เจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน -นักวิชาการคลัง -นักวิชาการเงินและบัญชี -นักวิชาการจัดเก็บรายได้ -นักวิชาการพัสดุ

กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 5 -ช่างโยธา -เจ้าหน้าที่บริหารงานช่าง -นายช่างโยธา -ช่างผังเมือง -นายช่างผังเมือง -ช่างเขียนแบบ -นายช่างเขียนแบบ -ช่างสำรวจ -นายช่างสำรวจ -วิศวกรโยธา -นักผังเมือง -สถาปนิก -นักวิจัยการจราจร

กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 6 -ช่างเครื่องยนต์ -นายช่างเครื่องยนต์ -ช่างเครื่องกล -นายช่างเครื่องกล -ช่างไฟฟ้า -นายช่างไฟฟ้า -เจ้าหน้าที่การประปา -เจ้าพนักงานการประปา -เจ้าหน้าที่บริหารงานช่าง -วิศวกรเครื่องยนต์ -วิศวกรสิ่งแวดล้อม -วิศวกรสุขาภิบาล -วิศวกรไฟฟ้า

กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 7 -เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน -เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน -เจ้าหน้าที่ศูนย์เยาวชน -เจ้าพนักงานศูนย์เยาวชน -นักสังคมสงเคราะห์ -นักพัฒนาชุมชน -เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป -เจ้าหน้าที่สันทนาการ -สารวัตรนักเรียน 8 -เจ้าหน้าที่ห้องสมุด -เจ้าพนักงานห้องสมุด -บรรณารักษ์ 9 -เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข -ทันตนามัย -ทันตแพทย์ 10 -สัตวแพทย์ -นายสัตวแพทย์

กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 11 -เจ้าหน้าที่สุขาภิบาล -เจ้าพนักงานสุขาภิบาล -โภชนาการ -เจ้าพนักงานโภชนาการ -นักวิชาการสุขาภิบาล -นักวิชาการสิ่งแวดล้อม 12 -เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสุขภาพ -เจ้าพนักงานส่งเสริมสุขภาพ -ผดุงครรภ์สาธารณสุข -พยาบาลเทคนิค -เจ้าหน้าที่พยาบาล -เจ้าพนักงานสาธารณสุขชุมชน -นักวิชาการส่งเสริมสุขภาพ -พยาบาลวิชาชีพ 13 -ผู้ช่วยเภสัชกร -เภสัชกร

กลุ่มที่ ตำแหน่ง (สาย 1, 2) ตำแหน่ง (สาย 3) 14 -เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์การแพทย์ -เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ -เจ้าหน้าที่วิทยาศาสตร์ -เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์ -นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ -นักวิทยาศาสตร์ 15 -เจ้าหน้าที่สวนสาธารณะ -เจ้าพนักงานสวนสาธารณะ -นักวิชาการสวนสาธารณะ -นักวิชาการเกษตร

การโอน ก. จังหวัดพิจารณา อปท. ที่จะรับโอนแจ้งความประสงค์ที่จะรับโอน การโอนข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ผู้สอบแข่งขันได้หรือผู้ได้รับคัดเลือกกรณีพิเศษ ผู้สอบคัดเลือกได้ ผู้ได้รับการคัดเลือก ผู้ขอโอน ก. จังหวัด มีมติให้โอน อปท. ที่จะรับโอนแจ้งความประสงค์ที่จะรับโอน ให้ต้นสังกัด ของผู้ที่จะโอนทราบ ก. จังหวัดพิจารณา ผู้บริหารท้องถิ่น (ต้นทาง) ออกคำสั่งให้พ้นจากตำแหน่ง โดยความเห็นชอบของ ก.จังหวัด ต้นทางและปลายทางประสาน ออกคำสั่งรับโอนและให้พ้นจาก ตำแหน่งเป็นวันเดียวกัน ปลายทางออกคำสั่งรับโอน โดยความเห็นชอบของต้น สังกัด / ก. จังหวัด

การคัดเลือกเพื่อรับโอน (เทศบาล) เมื่อตำแหน่งผู้บริหารว่าง และ เทศบาลจะดำเนินการรับโอน เทศบาล แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกเพื่อรับโอน ประกอบด้วย ผู้ทรงใน ก.จังหวัด เป็นประธาน ผู้แทนส่วนราชการ 1 คน /ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน / นายกหรือ ผู้แทน 1 คน / ปลัดเทศบาล 1 คน / ท้องถิ่น จว. 1 คน ผู้แทนพนักงาน 1 คน เป็นกรรมการ (กรณีรับโอนปลัด ให้เปลี่ยนเป็น หน.ส่วนราชการอื่นในเทศบาล)

การคัดเลือกเพื่อรับโอน (อบต.) เมื่อตำแหน่งผู้บริหารว่าง และ เทศบาลจะดำเนินการรับโอน เทศบาล แต่งตั้งคณะกรรมการคัดเลือกเพื่อรับโอน ประกอบด้วย ผู้ทรงใน ก.จังหวัด เป็นประธาน ผู้แทนส่วนราชการ 2 คน /ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน / นายกหรือ ผู้แทน 1 คน / ปลัด อบต. 1 คน / ท้องถิ่น จว. 1 คน ผู้แทนพนักงาน 1 คน เป็นเลขานุการ

ตอบปัญหาการปฏิบัติงาน