งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยุทธศาสตร์ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยุทธศาสตร์ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยุทธศาสตร์ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
รศ.ดร. อัชกรณ์ วงศ์ปรีดี คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)

2 จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
ความสำคัญของโครงการในการใช้เป็นเครื่องมือของการนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ความจำเป็น ความหมายและความสำคัญของโครงการ วงจรโครงการและการกำหนดโครงการ การจัดทำข้อเสนอโครงการโดยใช้หลักตรรกวิทยาโครงการ (Logical Framework) การประเมินโครงการ

3 ขั้นตอนการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ มาตรฐานกระบวนการ วิธีการ
วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ของกิจการ ยุทธศาสตร์ของธุรกิจ ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ (ACTION PLAN) แผนปฏิบัติการที่เกิดขึ้นสม่ำเสมอ แผนปฏิบัติการเฉพาะเรื่อง แผนงาน โครงการ นโยบาย มาตรฐานกระบวนการ วิธีการ กฎเกณฑ์

4 SUCCESS ROULETTE (UNCERTAIN) TROUBLE FAILURE
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติความสัมพันธ์ระหว่าง การกำหนดยุทธศาสตร์และการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ STRATEGY FORMULATION Good Poor SUCCESS ROULETTE (UNCERTAIN) TROUBLE FAILURE Good STRATEGY IMPLEMENTATION Poor Thomas V. Bonoma, The Marketing Edge; Making Strategies Work

5 การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
Norton และ Kaplan กล่าวว่า “ปัญหาส่วนใหญ่ขององค์กร ไม่ใช่เรื่อง การขาดยุทธศาสตร์แต่ขาดการนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลอย่างต่อเนื่อง” Kaplan และ Norton ให้หลัก 5 ประการในการนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ 1. ผู้บริหารระดับสูงต้องผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 2. มีการแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่แผนปฏิบัติการ 3. ปรับองค์กรให้มีความสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกับยุทธศาสตร์ 4. ต้องชักจูง เหนี่ยวนำ จูงใจให้ทุกคนปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ 5. ต้องทำการจัดการเชิงยุทธศาสตร์อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา

6 ผลงานวิจัยของคณะอาจารย์จาก Harvard Business School
ปัญหาและสาเหตุในการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ การกำหนดวิสัยทัศน์ไม่ชัดเจน ผู้บริหารขาดภาวะผู้นำ ขาดการแปลงยุทธศาสตร์ให้เป็นแผนงาน/โครงการ ขาดการประสานสัมพันธ์ของหน่วยงานต่างๆ ในองค์กร เพื่อดำเนินการให้สำเร็จตามยุทธศาสตร์ขององค์กร ความสามารถ และทักษะของพนักงานส่วนใหญ่ในองค์กรไม่เพียงพอในการดำเนินการตามยุทธศาสตร์

7 คุณสมบัติของโครงการ โครงการประกอบด้วยกิจกรรมที่แตกต่างไปจากการดำเนินงานตามปกติของหน่วยงาน มีความเป็นเอกเทศ อันเป็นลักษณะเฉพาะ (Uniqueness) ของโครงการ กิจกรรมมีความสัมพันธ์กันเป็นระบบ (SYSTEMS) มีกำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดที่แน่นอน เป็นงานที่มีลักษณะชั่วคราว มีองค์กรที่รับผิดชอบโดยเฉพาะและสลายตัวลงเมื่อสิ้นสุดโครงการ

8 คุณสมบัติของโครงการ (ต่อ)
มีกลุ่มผู้ใช้ประโยชน์ที่แน่นอน มีการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน สามารถวิเคราะห์ความคุ้มค่าของผลประโยชน์ตอบแทนได้ คำนึงถึงข้อจำกัดในการบริหารและการจัดการด้านเวลา ค่าใช้จ่ายและคุณภาพของผลผลิตที่สำคัญของโครงการ พิจารณาความเชื่อมโยงระหว่างองค์กรเจ้าของโครงการกับองค์การที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการโครงการในแง่มุมของการบริหารข้อตกลง (Contract Management)

9 การกำหนดแนวคิดโครงการ
การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์เบื้องต้น การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น และไม่สามารถดำเนินการโดยกระบวนการทำงานปกติได้ หรือมีงานใหม่ที่ไม่เคยดำเนินการมาก่อน การกำหนดโครงการต้องใช้กระบวนการแก้ปัญหาเป็นการแปลงรูปสถานการณ์ที่เป็นอยู่ไปสู่สถานการณ์ใหม่ที่ตรงตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ ต้องรู้ถึงทรัพยากรที่มีอยู่จริง ถ้าต้องหามาเพิ่มต้องแน่ใจว่าหามาได้ และต้องรู้ต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นด้วย

10 การกำหนดแนวคิดโครงการ (ต่อ)
การวิเคราะห์ปัญหา และสาเหตุของปัญหา โดยตอบคำถามต่อไปนี้ - ปัญหาคืออะไร ? - ปัญหามีสาเหตุมาจากอะไร ? - วัตถุประสงค์ในการแก้ปัญหาคืออะไร ? - วิธีการแก้ปัญหามีอะไรบ้าง ?

11 กระบวนการแก้ปัญหา ปัญหาคืออะไร ? ปัญหามีสาเหตุมาจากอะไร ?
ปัญหาคืออะไร ? ปัญหามีสาเหตุมาจากอะไร ? จุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหาคืออะไร ? วิธีการแก้ปัญหาคืออะไร ?

12 ความไม่พึงพอใจในผลงาน ข้อขัดข้องหรืออุปสรรค ข้อเรียกร้องต่าง ๆ
ความหมายของปัญหา สิ่งที่ต้องการ/จุดมุ่งหมาย ปัญหา สิ่งที่เกิดขึ้นจริง ความไม่พึงพอใจในผลงาน ข้อขัดข้องหรืออุปสรรค ข้อเรียกร้องต่าง ๆ

13 ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับวัตถุประสงค์
ปัจจุบัน อดีต อนาคต ด้านลบปัญหา ด้านบวก วัตถุประสงค์ สาเหตุ วิธีการ

14 ต้นไม้ปัญหา (Problem Tree)
ปัญหา 1 สาเหตุ สาเหตุ ปัญหา 2 สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ สาเหตุ

15 ความคิดสร้างสรรค์ การเรียนรู้จากประสบการณ์ (Intuition)
การเรียนรู้ในองค์กร (Learning Organization) การเรียนรู้จากผู้อื่น (Learning from others) การวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation Analysis)

16 ต้นไม้วัตถุประสงค์ (Objective Tree) ต้นไม้ปัญหา (Problem Tree) ด้านลบ ด้านบวก ปัญหา วัตถุประสงค์ สาเหตุ สาเหตุ วิธีการ วิธีการ

17 ต้นไม้ปัญหา (Problem Tree)
รายได้สุทธิลดลง รายได้ลดลง รายจ่ายเพิ่มขึ้น ยอดขายลดลง ราคาลดลง ต้นทุนสินค้าเพิ่มขึ้น ค่าบริหารเพิ่มขึ้น ขาดนวัตกรรมในตัวสินค้า ขาดศักยภาพการเจาะตลาด ราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ค่าสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้น ค่าแรงงานเพิ่มขึ้น ค่าการตลาดเพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพแรงงานลดลง ต้นทุนเงินเพิ่มขึ้น โฆษณาไม่ได้ผล ค่าขนส่งเพิ่มขึ้น พนักงานขายขาดทักษะ ขาดเงินทุนหมุนเวียน ใช้เงินผิดประเภท ขาดความรู้ ขาดแรงจูงใจ ขาดการควบคุม

18 ระดับของวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของแผนงาน วัตถุประสงค์ของโครงการ ผลผลิตของโครงการ

19 อยู่นอกการควบคุมของผู้จัดการ
LOGICAL FRAMEWORK การตรวจสอบ สรุป OVI MOV IA GOAL PURPOSE IA + P OUTPUTS IA + O INPUTS IA + I ได้..... “อย่างไร” + + มี “ทำไม” + อยู่นอกการควบคุมของผู้จัดการ ผู้จัดการโครงการ ควบคุม

20 ตรรกวิทยาในการวางแผนโครงการ
สรุป NARRATIVE SUMMARY เครื่องแสดงความสำเร็จในการดำเนินงานตามหัวข้อต่างๆ ในช่องสรุป (Objectively verifiable indicators) แหล่งที่จะตรวจสอบความสำเร็จ (Means of Verification) สมมุติฐาน (Assumptions) วัตถุประสงค์ (แผนงาน) (Goal) ข้อความหรือตัวเลขที่สามารถพิสูจน์ได้ว่า ถ้ามีสิ่งดังกล่าวแล้วจะบรรลุ Goal ต้องบ่งบอกถึงปริมาณ คุณภาพ และเวลา ได้ข้อมูลมาอย่างไร แหล่งข้อมูลเพื่อที่จะตรวจสอบความสำเร็จของแผนงาน คำนึงถึงผลของโครงการ แผนงาน หรือแผนที่จะเกิดขึ้นในระยะยาว (Super Goal) วัตถุประสงค์ของโครงการ (Purpose) (โครงการเสร็จสิ้นตามจุดมุ่งหมาย) ข้อความแสดงปริมาณคุณภาพและเวลาของสิ่งต่างๆ ที่จะวัดได้ พิสูจน์ได้ว่า ถ้ามีแล้วก็จะบรรลุประวัตถุประสงค์ คือ โครงการสำเร็จ แหล่งข้อมูลที่จะตรวจสอบความสำเร็จของโครงการ เงื่อนไขที่จะส่งผลให้บรรลุวัตถุประสงค์ของแผนงาน (Goal) ผลิตผลของโครงการ (Outputs) รูปธรรม เช่น ถนน เขื่อน เป็นต้น นามธรรม เช่น การทำประชาสัมพันธ์ การกำจัดแมลง เป็นต้น รายละเอียดของผลิตผลแต่ละอันว่ามีจำนวนเท่าไร คุณภาพอย่างไร ใช้เวลาเท่าไร (บางรายการอาจจะบอกได้เพียงปริมาณ ไม่สามารถบอกคุณภาพได้ แหล่งข้อมูลเพื่อตรวจสอบผลงาน เงื่อนไขที่จะส่งผลให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ (Purpose) ปัจจัยในการผลิต (Inputs) เฉพาะกิจกรรม (Activities) เช่น สำรวจ ออกแบบ ก่อสร้าง รายละเอียด กำลังคน วัสดุอุปกรณ์ งบประมาณ ใส่จำนวนเงินที่ใช้ในแต่ละรายการ เช่น ค่าสำรวจสี่หมื่นบาท ค่าออกแบบสองหมื่นบาท เป็นต้น แหล่งข้อมูลที่จะตรวจสอบงบประมาณ และการใช้จ่าย เงื่อนไขที่จะทำให้เกิดผลสำเร็จในผลงาน (Outputs)

21 การเขียนข้อเสนอโครงการ
หน้าแรก 1. ชื่อโครงการ 2. หน่วยงานที่รับผิดชอบ 3. ปีงบประมาณ พ.ศ ผูกพันถึงปี พ.ศ 4. เป็นโครงการตามแผนงาน

22 รายละเอียดของข้อเสนอโครงการ
หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ (ผลลัพธ์ของโครงการ) เป้าหมาย (ผลผลิตของโครงการ) วิธีดำเนินงาน ระยะเวลาโครงการ 6. สถานที่ตั้งโครงการ 7. งบประมาณ 8. ผู้รับผิดชอบ 9. การติดตามและประเมินผล 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ


ดาวน์โหลด ppt ยุทธศาสตร์ การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google