โดย สมมาต คำวัจนัง รอง ผอ.สพป. สมุทรสาคร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ประวัติ โรงเรียนวัดท่า ข้าม โรงเรียนวัดท่าข้าม ตั้งอยู่เลขที่ 54 หมู่ 3 ตำบลท่า ข้าม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีพื้นที่โรงเรียนทั้งหมดรวม 1 ไร่ 2 งาน.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เทพ สุริยา ( เทพสุริยา ) ( เทพสุริยา ) ส่วนราชการที่รับผิดชอบ ภารกิจการจัดการศึกษาของ อปท. อบจ. เทศบาลอบต. กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนาธรรม.
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ทิศทางการบริหารสำหรับผู้บริหาร มืออาชีพ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
กลุ่มเกษตรกร.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
จังหวัดสมุทรปราการ.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สำหรับตำแหน่งที่มีวิทยฐานะ
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
ขอบเขตของงานการจัดซื้อ
โดย นายธนารัฐ สายเทพ กลุ่มงานวางแผนฯ กองการเจ้าหน้าที่ นอ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย สมมาต คำวัจนัง รอง ผอ.สพป. สมุทรสาคร ประชุม สัมมนา ลูกจ้างประจำสถานศึกษา สพป.สมุทรสาคร ณ โรงแรมลองบีช ชะอำ จ.เพชรบุรี ๑๐ กันยายน ๒๕๕๘ โดย สมมาต คำวัจนัง รอง ผอ.สพป. สมุทรสาคร

ชื่อ – ชื่อสกุล นายสมมาต คำวัจนัง รอง ผอ. สพป. สมุทรสาคร การศึกษา ชื่อ – ชื่อสกุล นายสมมาต คำวัจนัง รอง ผอ. สพป. สมุทรสาคร การศึกษา □ ครุศาสตร์บัณฑิต วิทยาลัยครูจันทรเกษม □ นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ □ นิเทศศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช □ ครุศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประสบการณ์การทำงาน ครู ร.ร. ประสานสามัคคีวิทยา อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี นักประชาสัมพันธ์ สปจ.นนทบุรี / สปจ.ราชบุรี หัวหน้าฝ่ายบริการการศึกษา สปจ. สระบุรี หัวหน้ากลุ่มอำนวยการ สพท. กทม. เขต ๓ รอง ผอ. สพท. สมุทรปราการ เขต ๒ รอง ผอ.สพป.สมุทรสาคร โทร ๐ ๘๑๔๕ ๒๗๔๑๗ e-mail : sommartk99@gmail.com

ที่อยากได้หลังการฝึกอบรม สมรรถนะ ( Competency ) เป้าหมาย ที่อยากได้หลังการฝึกอบรม เครือข่ายการทำงาน ( Network )

ผู้รับบริการ สามเหลี่ยมแห่งการบริการ The Service Triangle กลยุทธ์การบริการ (Strategy) ข้าราชการผู้ให้บริการ (Staff) ผู้รับบริการ ระบบงาน (System)

คุณลักษณะของการบริการที่ดี (Service) S = Smiling & Sympathy ยิ้มแย้ม แจ่มใส เอาใจเขามาใส่ใจเรา E = Early Response ตอบสนองวัตถุประสงค์ บริการรวดเร็ว R = Respectful แสดงความนับถือให้เกียรติผู้รับบริการ V = Voluntariness maner บริการด้วยความเต็มใจ I = Image Enhancing รักษาภาพลักษณ์ผู้ให้บริการ และองค์การ C = Courtesy อ่อนน้อม สุภาพ มีมารยาทดี E = Enthusiasm กระฉับกระเฉง กระตือรือร้นให้บริการ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑๑ ข้อ สู่การปฏิบัติ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาในสังกัด

จุดเน้นการดำเนินงาน ของ สพฐ. ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๙ แบ่งเป็น ๓ ส่วน ๑. จุดเน้นด้านผู้เรียน ๓. จุดเน้นด้านการบริหารจัดการ ๒. จุดเน้นด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา

วิสัยทัศน์ สพป.สมุทรสาคร Vision of Samut Sakhon P.E.S.A.Office ภายในปี พ.ศ. 2562 สพป.สมุทรสาคร และสถานศึกษาเป็นองค์กรชั้นนำ ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน บนพื้นฐาน ความเป็นไทย บริหารจัดการ ด้วยระบบเครือข่ายที่เข้มแข็ง

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ตรวจสอบภายใน บทบาท อำนาจหน้าที่ ขอบข่าย/ภารกิจ เป้าหมายปลายทาง อำนวยการ บริหารงานบุคคล ประสาน บริการ ส่งเสริม สนับสนุน ตรวจสอบ นิเทศ ติดตาม วิจัย ให้คำปรึกษา ให้การช่วยเหลือ ด้าน  วิชาการ  งบประมาณ บริหาร บุคคล  บริหาร ทั่วไป สถานศึกษา จัดการศึกษาได้คุณภาพตามมาตรฐาน นโยบายและแผน ส่งเสริมการจัดการศึกษา นิเทศติดตามประเมินผล การจัดการศึกษา บริหารการเงิน และสินทรัพย์ กฎ / ระเบียบ / นโยบาย / มาตรฐาน แผนพัฒนาการศึกษาของหน่วยงาน/แนวทางการพัฒนา คู่มือการปฏิบัติงาน ฯลฯ ส่งเสริมสถานศึกษาเอกชน ศูนย์ ICT สมมาต,2558

☼ กฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจาย อำนาจ การบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 ☼ ประกาศ สพฐ.เรื่องการกระจายอำนาจการบริหารและ การจัดการศึกษาของเลขาธิการกพฐ.ไปยัง คณะกรรมการ สพท. และสถานศึกษา กระจายอำนาจ 4 ด้าน 1. ด้านวิชาการ 2. ด้านงบประมาณ 3. ด้านบริหารงานบุคคล 4. ด้านบริหารงานทั่วไป

สภาพปัญหาระบบตำแหน่งลูกจ้างประจำ(ของเดิม) มีจำนวนสายงาน/ชื่อตำแหน่งมาก ลักษณะงานเหมือนกันแต่ชื่อต่างกัน ตำแหน่ง/สายงานคล้ายกันแต่จัดอยู่ในหมวด/ ชั้นงานที่ต่างกัน มีการกำหนดหมวดลักษณะงานที่เหมือนกับงานของ ข้าราชการทำให้เกิดความซ้ำซ้อน เมื่อเลื่อนระดับชั้นต้องย้ายหมวด

การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างใหม่ หลักการ หลักความเป็นธรรมที่เทียบเคียงกันได้ ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน หลักการใช้คนให้เหมาะกับตำแหน่งงาน หลักการสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน

การจัดระบบตำแหน่งลูกจ้างใหม่ เดิม ใหม่  ๓๕๖ สายงาน  ๑,๒๖๘ สายงาน  ๔ กลุ่มงาน  ๘ หมวด ๑.บริการพื้นฐาน ๕๕ สายงาน (ชั้นงานไม่เกิน ๒ ระดับ) แรงงาน กึ่งฝีมือ ฝีมือ ฝีมือพิเศษระดับต้น ฝีมือพิเศษระดับกลาง ฝีมือพิเศษระดับสูง ฝีมือพิเศษเฉพาะ เหมือนข้าราชการ ๒. สนับสนุน ๑๕๐ สายงาน (ชั้นงานไม่เกิน ๔ ระดับ) ๓. ช่าง ๑๔๑ สายงาน ( ชั้นงานไม่เกิน ๔ ระดับ) ๔ เทคนิคพิเศษ ๑๐ สายงาน (ชั้นงานไม่เกิน ๓ ระดับ)

ลักษณะงานเป็นอย่างไร ? ๑. กลุ่มงาน บริการพื้นฐาน หมายถึงกลุ่มตำแหน่งในสายงานที่มีลักษณะงานให้บริการหลักหรือเป็นงานพื้นฐานของส่วนราชการ ๒. กลุ่มงานสนับสนุน หมายถึง กลุ่มตำแหน่งในสายงานที่มีลักษณะงานในการช่วยปฏิบัติหรือสนับสนุน

ลักษณะงานเป็นอย่างไร ? ( ต่อ ) หมายถึงกลุ่มตำแหน่งในสายงานที่มีลักษณะงานในการปฏิบัติงานช่าง ได้แก่ สร้าง ใช้ ซ่อมแซม ปรับแก้ ติดตั้ง ประกอบเครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์ ๓.กลุ่มงานช่าง ๔.กลุ่มงานเทคนิคพิเศษ หมายถึงกลุ่มตำแหน่งในสายงานที่มีลักษณะงานที่ต้องใช้ความสามารถเฉพาะตัว ทักษะพิเศษประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในวิชาชีพเฉพาะในการปฏิบัติงาน

ตำแหน่งลูกจ้างประจำในสังกัด สพฐ. มี ๓ กลุ่มงาน ๖๒ สายงาน กลุ่มงานบริการพื้นฐาน ๑๔ สายงาน กลุ่มงานสนับสนุน ๒๙ สายงาน กลุ่มช่าง ๑๙ สายงาน

๑. กลุ่มงานบริการพื้นฐาน จำนวน ๑๔ สายงาน : ๑. พนักงานทั่วไป ๒. คนสวน ๓.พนักงานสถานที่ ๔.แม่บ้าน ๕.พนักงานรักษา ความปลอดภัย ๖.ผู้ดูแลหมวดสถานที่ ๗.พนักงานบริการ ๘. พนักงานรับโทรศัพท์ ๙. พนักงานตรวจปรู๊ฟ ๑๐.พนักงานเข้าเล่ม ๑๑. พนักงานบริการ เอกสารทั่วไป ๑๒. พนักงานบริการสื่อ อุปกรณ์การเรียน ๑๓.พนักงานโสตทัศนศึกษา

๒. กลุ่มงานสนับสนุน มี ๒๙ สายงาน ๑. พนักงานการเงิน และบัญชี ๒. พนักงานพัสดุ ๓. พนักงานธุรการ ๔. พนักงานพิมพ์แบบ ๕. พนักงานพิมพ์ ๖. พนักงานการศึกษา ๗. พนักงานห้องสมุด ๘.พนักงานขยายเสียง ๙. พนักงานแปล ๑๐. ล่ามภาษา ต่างประเทศ ๑๑. ล่ามภาษาจีน ๑๒. ครูสอนดนตรี ๑๓. ครูสอนศิลปะ พื้นเมือง ๑๔. ครูสอนภาษาจีน ๑๕. ครูสอนชาวเขา ๑๖. ครูพี่เลี้ยง ๑๗. พี่เลี้ยง ๑๘. ครูสอนศาสนา อิสลาม ๑๙. ผู้ชำนาญการอิสลาม ๒๐. ครูช่วยสอน ๒๑. ผู้สอนวิชาชีพ ๒๒. ผู้สอนการถนอม อาหาร ๒๓. ผู้สอนคนพิการ ๒๔. พนักงานช่วยการ พยาบาล ๒๕. พนักงานห้องปฏิบัติการ ๒๖. พ่อบ้าน-แม่บ้าน ๒๗.พนักงานจัดการหอพัก ๒๘. พนักงานขับรถยนต์ ๒๙. พนักงานประกอบ

๓. กลุ่มงานช่าง จำนวน ๑๙ สายงาน ๑. ช่างไฟฟ้า ๒. ช่างอิเลคทรอนิกส์ ๓. ช่างไฟฟ้าอิเลคทรอนิกส์ ๔. ช่างไม้ ๕. ช่างปูน ๖. ช่างสี ๗. ช่างฝีมืองานโลหะ ๘. ช่างฝีมือทั่วไป ๙. พนักงานขับรถงานเกษตร และก่อสร้าง ๑๐. พนักงานขับรถเครื่องจักรกล ขนาดกลาง ๑๑. ช่างระบบน้ำ ๑๒. ช่างประดิษฐ์ดอกไม้ ๑๓. ช่างครุภัณฑ์ ๑๔. ช่างตัดผม ๑๕. ครูฝึกอาชีพสงเคราะห์ ๑๖. ผู้สอนงานประดิษฐ์ดอกไม้และผลิตภัณฑ์ผ้า ๑๗. ช่างปรับซ่อมครุภัณฑ์ สำนักงาน ๑๘. พนักงานพิมพ์แบบเรียน เบรลล์ ๑๙. ผู้ช่วยช่างทั่วไป

อำนาจการบริหารอัตรากำลังลูกจ้างประจำในสถานศึกษาของ ผอ.สพป. / ผอ.สพม. ปรับระดับชั้นงานของลูกจ้างประจำ เมื่อมีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งตามที่กระทรวงการคลังกำหนดไว้สำหรับตำแหน่งที่สูงขึ้น ไม่เกินระดับสูงสุดในแต่ละสายงาน (ชื่อตำแหน่ง) ๒.การเปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง) และกลุ่มงาน ของลูกจ้างประจำทั้งภายในกลุ่มงานและต่างกลุ่มงาน ๓. การตัดโอนอัตรากำลัง / การสับเปลี่ยน ตัวบุคคลของ ลูกจ้างประจำในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่มัธยมศึกษา

๑. การปรับระดับชั้นงานของลูกจ้างประจำ สพฐ. หลักเกณฑ์การพิจารณาปรับระดับชั้นงาน  เป็นระดับชั้นงานของตำแหน่งที่มีคนครอง มีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งครบถ้วนตรงตามที่ กค.กำหนดไว้ สำหรับตำแหน่งที่มีระดับสูงกว่า ๓. ปรับให้สูงขึ้นจาก ระดับ ๑ เป็น ระดับ ๒ หรือ จากระดับ ๒ เป็นระดับ ๓ หรือจาก ระดับ ๓ เป็นระดับ๔ ทั้งนี้ไม่เกินระดับสูงสุดในแต่ละสายงาน มิให้ปรับข้ามสายงาน ๔. ได้รับค่าจ้างไม่ต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำและไม่สูงกว่าอัตราค่าจ้างขั้นสูงของตำแหน่งที่ขอปรับระดับชั้นงานสูงขึ้น

๕. การประเมินบุคคลและผลการปฏิบัติการ ๕.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน ไม่น้อยกว่า ๓ คน : - ผู้บริหารการศึกษาในสพท. - ผู้บริหารสถานศึกษา/ผอ.กลุ่มอำนวยการของ สพท.แล้วแต่กรณี - ผอ.กลุ่มบริหารงานบุคคลของสพท.เป็นกรรมการและเลขานุการ ๕.๒ เกณฑ์ตัดสิน ระดับ ๑ เป็นระดับ ๒ คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๖๐ % ระดับ ๒ เป็นระดับ ๓ คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๗๐ % ระดับ ๓ เป็นระดับ ๔ คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๘๐ % ๕.๓ ตำแหน่งพนักงานพิมพ์ดีด ให้ประเมินความรู้ ความสามารถ และทักษะโดยการทดสอบและต้องผ่านตามที่ กค.กำหนดไว้ ๕.๔ กรณีปรับระดับชั้นสูงขึ้น เป็นระดับ ๓ / หัวหน้า ระดับ๔ และ ระดับ๔/ หัวหน้า นอกจากประเมินบุคคลแล้ว สามารถพิจารณาจาก การสอบ ข้อเขียน / สัมภาษณ์/ ผลงานดีเด่นหรือผลงานสำคัญที่เกี่ยวข้องได้ ตาม ความเหมาะสม หรือ อาจตรวจสอบสภาพการปฏิบัติงานจริง

ขั้นตอนดำเนินการปรับระดับชั้นงาน  ขั้นตอนดำเนินการปรับระดับชั้นงาน หนังสือ สพป.สค. ที่ ศธ 04152/ว 5270 กรณีในสถานศึกษา ยื่นคำขอประเมินตามแบบ สพฐ.ต่อสถานศึกษา แล้ว เสนอ สพป./สพม. พิจารณาดำเนินการ ๒.ผอ.สพท.แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจคุณสมบัติ ๓. ผอ.สพท.แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน ๔. คณะกรรมการประเมินตามแบบ กรณีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ ประกอบกับผลการพิจารณาโดยวิธีอื่น สมควรให้ปรับระดับชั้นได้ ให้ ผอ.สพท.ออกคำสั่งแต่งตั้ง ทั้งนี้ไม่ก่อนวันที่ สพป./สพม.ได้ รับคำขอที่สมบูรณ์ ๕. สพป./สพม. ส่งคำสั่งไป สพฐ. จำนวน ๕ ชุด พร้อม แบบลปจ.๑ ของตำแหน่งเดิมและใหม่ ภายใน ๗ วัน

๒. การเปลี่ยนสายงานของลูกจ้างประจำของ สพฐ. หลักเกณฑ์การพิจารณาเปลี่ยนสายงานงาน  เปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง) และกลุ่มงานของตำแหน่งที่มี คนครอง ๒. ไม่เป็นผู้ที่จะเกษียณอายุราชการในปีงบประมาณนั้น ๓. มีความรู ความสามารถและคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งครบถ้วน ตามที่ กค.กำหนด ๔. เปลี่ยนสายงาน(ชื่อตำแหน่ง) ทั้งภายในกลุ่มงานเดียวกันและต่างกลุ่มงาน โดยไม่เพิ่มจำนวนอัตรากำลัง ๕. เป็นตำแหน่งที่ สพฐ.กำหนดไว้ ตามหนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๐๙/๕๖๔๘ ลว.๒๓ ก.ย.๒๕๕๓

๒. การเปลี่ยนสายงานของลูกจ้างประจำของ สพฐ. ( ต่อ) ๖.ให้คำนึงถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะงาน ความจำเป็น ภารกิจของส่วนราชการ และประโยชน์ราชการเป็นสำคัญ ๗.เมื่อได้รับการเปลี่ยนสายงานแล้ว ต้องปฏิบัติงานให้สอดคล้อง ตรงหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่งตามที่ สำนักงาน ก.พ.กำหนดไว้ ๘.กรณีสายงานในตำแหน่งใหม่มีลักษณะงานใกล้เคียงกับลักษณะงานในตำแหน่งเดิม ให้นำระยะเวลาดำรงตำแหน่งเดิมมานับรวมกัน ๙. การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งใหม่ที่กค.กำหนดกลุ่มบัญชีค่าจ้างไว้มากกว่า ๑ กลุ่ม ให้ใช้กลุ่มบัญชีค่าจ้างเดิมจนถึงขั้นสูงก่อน แล้วจึงเปลี่ยนไปใช้ขั้นวิ่งในกลุ่มบัญชีค่าจ้างที่สูงกว่าโดยให้ได้รับค่าจ้างในกลุ่มบัญชีค่าจ้างใหม่ในขั้นใกล้เคียงในทางที่สูงกว่า ๑๐. การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งใหม่ที่มีอัตราค่าจ้างขั้นสูงต่ำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นสูงของตำแหน่งเดิม ให้ดำเนินการกรณีที่มีความจำเป็น และให้ได้รับค่าจ้างไม่สูงกว่าอัตราค่าจ้างขั้นสูงของตำแหน่งใหม่ โดยให้มีหนังสือแสดงความยินยอมของลูกจ้างประจำ

๑๑. การประเมินบุคคลและผลการปฏิบัติงาน ๑) แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน ไม่น้อยกว่า ๓ คน : - ผู้บริหารการศึกษาในสพท. - ผู้บริหารสถานศึกษา/ผอ.กลุ่มอำนวยการของ สพท.แล้วแต่กรณี - ผอ.กลุ่มบริหารงานบุคคลของสพท.เป็นกรรมการและเลขานุการ ๒) เกณฑ์ตัดสิน เปลี่ยนไปดำรงตำแหน่งระดับ ๒ คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๖๐ % เปลี่ยนไปดำรงตำแหน่งระดับ ๓ คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๗๐ % เปลี่ยนไปดำรงตำแหน่ง ระดับ ๔ คะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๘๐ % ๓) ตำแหน่งพนักงานพิมพ์ดีด ให้ประเมินความรู้ ความสามารถ และทักษะโดยการทดสอบและต้องผ่านตามที่ กค.กำหนดไว้ ๔) การเปลี่ยนสายงานนอกจากประเมินบุคคลแล้ว สามารถพิจารณา จากการสอบข้อเขียน สัมภาษณ์ ผลงานดีเด่นหรือผลงานสำคัญที่เกี่ยวข้อง ได้ตามความเหมาะสม หรืออาจตรวจสอบสภาพการปฏิบัติจริงตามที่เห็นสมควร

ขั้นตอนดำเนินการเปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง)  ขั้นตอนดำเนินการเปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง) กรณีในสถานศึกษา หนังสือ สพป.สค. ที่ ศธ 04152/ว 5270 ยื่นคำขอประเมินตามแบบ สพฐ.ต่อสถานศึกษา แล้ว เสนอ สพป./สพม. พิจารณาดำเนินการ ๒.ผอ.สพท.แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจคุณสมบัติ ๓. ผอ.สพท.แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน ๔. คณะกรรมการประเมินตามแบบ กรณีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ ประกอบกับผลการพิจารณาโดยวิธีอื่น สมควรให้เปลี่ยนสายงาน ได้ให้ ผอ.สพท.ออกคำสั่งแต่งตั้ง ทั้งนี้ไม่ก่อนวันที่ สพป./สพม. ได้รับคำขอที่สมบูรณ์ ๕. สพป./สพม. ส่งคำสั่งไป สพฐ. จำนวน ๕ ชุด พร้อมแบบลปจ.๑ ของตำแหน่งเดิมและใหม่ ภายใน ๗ วัน

๓. การตัดโอนอัตรากำลัง/การสับเปลี่ยนตัวบุคคลของลูกจ้างประจำ สพฐ. หลักเกณฑ์การพิจารณา ตัดโอนอัตรากำลังตำแหน่งที่มีคนครอง ไม่เป็นผู้เกษียณอายุราชการในปีงบประมาณนั้น ตัดโอนในสายงาน (ชื่อตำแหน่ง)และกลุ่มงานเดียวกัน ให้พิจารณาเหตุผลความจำเป็น ความเหมาะสม สอดคล้องกับลักษณะงาน และภารกิจ โดยคำนึงถึงประโยชน์ของส่วนราชการ ๕. ต้องได้รับความยินยอมให้ตัดโอนจากหน่วยงานต้นสังกัด ๖.ให้ตัดโอนตำแหน่งเลขที่และอัตราค่าจ้างตามตัว ทั้งนี้การสับเปลี่ยนตัวบุคคลให้ดำเนินการเช่นเดียวกัน ๗. ให้ได้รับค่าจ้างในอัตราค่าจ้างเท่าเดิม

ขั้นตอนดำเนินการตัดโอนอัตรา/สับเปลี่ยน ในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน กรณีลูกจ้างประจำในสถานศึกษา ยื่นคำขอประเมินตามแบบ สพฐ.ต่อสถานศึกษา แล้ว เสนอ สพป./สพม.แล้วแต่กรณี พิจารณาดำเนินการ ๒.ผอ.สพท.พิจารณาเหตุผลความจำเป็นและประโยชน์ ของ ส่วนราชการ ๓. สพป./สพม.ออกคำสั่งแต่งตั้งทั้งนี้ไม่ก่อนวันที่สั่งแต่งตั้ง ๔. สพป./สพม.จัดส่งคำสั่งให้ สพฐ. จำนวน ๕ ชุด พร้อม แบบลปจ.๑ ของตำแหน่งเดิมและตำแหน่งใหม่ ภายใน ๗ วัน

ขั้นตอนดำเนินการตัดโอนอัตรา/สับเปลี่ยน ในต่างเขตพื้นที่การศึกษา ขั้นตอนดำเนินการตัดโอนอัตรา/สับเปลี่ยน ในต่างเขตพื้นที่การศึกษา กรณีลูกจ้างประจำในสถานศึกษา ยื่นคำขอประเมินตามแบบ สพฐ.ต่อสถานศึกษา แล้วเสนอ สพป./สพม.แล้วแต่กรณี พิจารณาดำเนินการ ๒.ผอ.สพท.พิจารณาเหตุผลความจำเป็นและประโยชน์ของส่วนราชการ แล้วเสนอไปยัง สพฐ.พร้อมเอกสารประกอบการพิจารณา ๓.สพร.เสนอสพฐ.สั่งแต่งตั้งลูกจ้างประ ทั้งนี้ไม่ก่อนวันที่สั่งแต่งตั้ง ๔. สพฐ. ส่งคำสั่งให้ สำนักงาน ก.พ. กรมบัญชีกลาง หน่วยงานละ ๓ ชุดพร้อมแบบ ลปจ.๑ ของตำแหน่งเดิมและตำแหน่งใหม่ ภายใน ๗ วัน และแจ้ง สพป./สพม. แล้วแต่กรณีทราบ

รายการในแบบประเมิน ลูกจ้างประจำ กรณีปรับระดับชั้นงาน กรณีเปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง)และกลุ่มงาน กรณีตัดอัตรากำลัง/สับเปลี่ยน

รายการประเมิน : คุณภาพของลูกจ้างประจำ ความรับผิดชอบ - เอาใจใส่การทำงานที่ได้รับมอบหมายและหรือที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ - ยอมรับผลงานของตนเองทั้งสำเร็จและผิดพลาด - พัฒนาและปรับปรุงงานให้ดีขึ้นและหรือแก้ไขปัญหา หรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น - การร่วมมือทำงานและประสานงานกันเป็นทีม ๒. ความคิดริเริ่ม - แสวงหาความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติมในสายงานของตน - ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไข หรือดัดแปลงวิธีทำงาน ให้มีประสิทธิภาพและก้าวหน้า - แสดงความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะอย่างสมเหตุผล และสามารถปฏิบัติได้

รายการประเมิน : คุณภาพของลูกจ้างประจำ (ต่อ) ๓. การแก้ไขปัญหาและการตัดสินใจ - หาสาเหตุก่อนเสมอเมื่อประสบปัญหา - หาทางแก้ปัญหาโดยมีทางเลือกปฏิบัติได้หลายวิธี - เลือกทางปฏิบัติในการแก้ปัญหาได้ถูกต้องเหมาะสม ๔. ความประพฤติ - รักษาวินัย - ให้ความร่วมมือกับเพื่อร่วมงาน - มีความรัก ความสามัคคีและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในหน้าที่การงาน - มีจรรยาบรรณเหมาะสมกับการเป็นลูกจ้างประจำ

รายการประเมิน : คุณภาพของลูกจ้างประจำ (ต่อ) ๕. ความสามารถในการสื่อสารความหมาย - สื่อสารกับบุคคลต่าง ๆ เช่น ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้องได้ดี - สื่อสารกับบุคคลต่าง ๆได้เข้าใจถูกต้องตรงกัน - ใช้ภาษาอย่างถูกต้องเหมาะสม ๖. การพัฒนาตนเอง - ติดตาม ศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ใหม่ ๆ หรือสิ่งที่เป็น ความก้าวหน้าทางวิชาชีพอยู่เสมอ - สนใจและปรับตนเองให้ก้าวทันวิทยาการ ใหม่ ๆ ตลอดเวลา - นำความรู้และวิทยาการใหม่ ๆ มาประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สวัสดีครับ