(Instructional Media)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
Advertisements

การเปรียบเทียบความคงทนในบทเรียนระหว่าง วิธีการจัดการเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองกับวิธีการแบบบรรยาย นุชดา ลาทอง.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การสอนโดยเน้นกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
นวัตกรรม และ การประเมินผลการศึกษา
นางนุชจรินทร์ แก้ววงวาล วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
สื่อการสอน.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (C.A.I.)
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
(Instructional Media)
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Integrated Information Technology
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
การใช้สื่อ ICT เพื่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สำหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
Instructional Media Dr.Sumai Binbai College of Teacher Education
SMS News Distribute Service
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
สื่อ การเรียนการสอน โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
หลักสูตรและหลักการสอน ( Curriculum and Instruction )
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Instructional Media) สื่อการเรียนการสอน (Instructional Media) SUMAI BINBAI Ed.D. Educational Technology

ความหมาย ภาษาอังกฤษ: Medium/Media = ระหว่าง สิ่งใดก็ตามที่บรรจุข้อมูลสารสนเทศหรือเป็นตัวกลางให้ข้อมูลส่งผ่านจากผู้ส่งไปยังผู้รับเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับสามารถสื่อสารกันได้ตามวัตถุประสงค์ (กิดานันท์ มลิทอง, 2548)

ความหมาย สื่อการเรียนการสอน (Instructional Media) สื่อใด ๆ ที่บรรจุเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนหรือเป็นวัสดุ อุปกรณ์เพื่อถ่ายทอดเนื้อหา ได้แก่ เทปบันทึกเสียง สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วีดิทัศน์ แผนภูมิ รูปภาพ ของจำลอง เป็นต้น

สรุป สื่อการเรียนการสอน (Instructional Media) ตัวกลางในการส่งผ่านข้อมูลสารสนเทศจากผู้สอนไปยังผู้เรียนหรือตัวกลางให้ความรู้แก่ผู้เรียนเมื่อผู้เรียนเป็นผู้ศึกษาหาความรู้ได้ด้วยตนเอง

การจำแนกสื่อการเรียนการสอน สื่อโสตทัศน์ (Audio-Visual Media) เป็นสื่อการเรียนการสอนชนิดแรก ที่บรรจุหรือถ่ายทอดข้อมูลเพื่อให้การเรียนรู้ด้วยภาพและเสียง

การจำแนกสื่อการเรียนการสอน แบ่งได้ 3 ประเภท สื่อโสตทัศน์ (Audio-Visual Media) 1. สื่อที่ไม่ใช้เครื่องฉาย (non-projected materials สื่อภาพ: ภาพกราฟิก กราฟ แผนภาพ แผนที่ ของจริง กระดาน: กระดานดำ กระดานแม่เหล็ก ไวท์บอร์ด กิจกรรม: การศึกษานอกสถานที่ การสาธิต การจัดนิทรรศการ

การจำแนกสื่อการเรียนการสอน แบ่งได้ 3 ประเภท สื่อโสตทัศน์ (Audio-Visual Media) 2. สื่อที่ใช้เครื่องฉาย (projected materials and equipment) วัสดุและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสื่อสารด้วยภาพ หรือทั้งภาพและเสียง อุปกรณ์เครื่องฉายทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุแต่ละประเภท

การจำแนกสื่อการเรียนการสอน แบ่งได้ 3 ประเภท สื่อโสตทัศน์ (Audio-Visual Media) 3. สื่อเสียง (Audio materials and equipment) วัสดุและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสื่อสารด้วยเสียง อุปกรณ์เครื่องเสียงจะใช้ถ่ายทอดเนื้อหาจากวัสดุแต่ละประเภทที่ใช้เฉพาะกับอุปกรณ์นั้น เพื่อให้ได้ยินเสียง

การจำแนกสื่อการเรียนการสอน สื่อประสม (Multimedia) การนำสื่อหลายประเภทมาใช้ร่วมกันทั้งวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดในการเรียนการสอน โดยใช้สื่อแต่ละอย่างตามลำดับขั้นตอนของการนำเสนอเนื้อหา เดิม การนำเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ในรูปแบบตัวอักขระ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ ใหม่

การจำแนกสื่อการเรียนการสอน สื่อประสม (Multimedia) สื่อประสมแบบเดิม ของจริง ของจำลอง ข้อความ ตัวอักขระ ภาพ กราฟิก เสียง ภาพเคลื่อนไหว

ควบคุมอุปกรณ์ร่วมต่าง ๆ การจำแนกสื่อการเรียนการสอน สื่อประสม (Multimedia) Interactive สื่อประสมแบบใหม่ นำเสนอไฟล์สื่อประสม ผลิตไฟล์สื่อประสม ควบคุมอุปกรณ์ร่วมต่าง ๆ

ภาพเคลื่อน ไหวแบบ วีดิทัศน์ การจำแนกสื่อการเรียนการสอน รูปแบบของเนื้อหาในสื่อประสม (Multimedia) ข้อความ ภาพกราฟิก ภาพ แอนิเมชั่น Interactive การเชื่อมโยง ภาพเคลื่อน ไหวแบบ วีดิทัศน์ เสียง ส่วนต่อประสาน

การจำแนกสื่อการเรียนการสอน ประโยชน์ของสื่อประสมในการเรียนการสอน (Benefits of Multimedia) สื่อสารข้อมูลความรู้ ได้อย่างชัดเจนมากกว่า ใช้กับการเรียนรู้ทุกรูปแบบและสถานการณ์ Interactive กระตุ้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกับบทเรียน

การจำแนกสื่อการเรียนการสอน สื่อหลายมิติ (Hypermedia) การนำเสนอข้อมูลในลักษณะไม่เป็นเส้นตรง เพิ่มความสามารถในการบรรจุข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบมากกว่าเดิม รวมถึงการโต้ตอบระหว่างสื่อกับผู้ใช้ผ่าน “จุดเชื่อมโยงหลายมิติ” (Hyperlink) ซึ่งมีลักษณะเป็นปุ่ม สัญรูป และ/หรือลักษณะต่าง ๆ Interactive

สื่อประสมและสื่อหลายมิติ (Technology Convergence) เดิม: สื่อประสมกับสื่อหลายมิติมีความแตกต่างกันเนื่องจากสื่อประสมนำเสนอเป็นเส้นตรง แต่สื่อหลายมิติเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเนื้อหาหรือหัวข้อที่ต้องการได้ ความแตกต่างระหว่าง สื่อประสมและสื่อหลายมิติ ใหม่: สื่อประสมกับสื่อหลายมิติไม่มีความแตกต่างกันชัดเจนเนื่องจากการบรรจบกันของเทคโนโลยีที่สามารถสร้างสื่อประสมให้สามารถเชื่อมโยงหลายมิติได้ทั้งในรูปแบบออฟไลน์และออนไลน์ และมีการรวมกันระหว่างสื่อมัลติมีเดียและสื่อหลายมิติทำให้สามารถเรียกดูเนื้อหาบทเรียนได้หลากหลายรูปแบบจากอุปกรณ์เดียว (Technology Convergence)

ประโยชน์ของสื่อหลายมิติ (Benefits of Hypermedia) สามารถเชื่อมโยงการค้นหาได้ไม่มีจุดสิ้นสุด กระตุ้นผู้เรียนให้อยากเรียนรู้ เหมาะกับรูปแบบผู้เรียนที่แตกต่างกัน ทำให้สามารถข้ามสิ่งที่ไม่ต้องการได้ ไม่เสียเวลาในการเรียนรู้ เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ เรียนรู้พร้อมกันได้หลายช่องทางด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5

ประโยชน์ของสื่อหลายมิติ (Benefits of Hypermedia) เร้าความสนใจของผู้เรียนได้มากกว่าสภาพแวดล้อมแบบเดิม ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน เพราะต้องวิเคราะห์เลือกบทเรียนต่อไป ว่าจะเรียนอะไรก่อนหลัง ส่วนต่อประสานใช้งานง่ายกระตุ้นการตอบสนองและปฏิสัมพันธ์โต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับบทเรียน เหมาะสำหรับการเรียนการสอนทางไกล เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา

การจำแนกสื่อตามประสบการณ์การเรียนรู้

การจำแนกสื่อตามประสบการณ์การเรียนรู้ ขั้นที่ 1 ประสบการณ์ตรงและมีความมุ่งหมาย(Direct Purposeful Experience) ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง  ได้เห็น ได้ยินเสียง ได้สัมผัสด้วยตนเอง เช่น การเรียนจากของจริง (Real object) ได้ร่วมกิจกรรมการเรียนด้วยการลงมือกระทำ เป็นต้น ขั้นที่ 2 ประสบการณ์จำลอง (Contrived Simulation Experience) ของจริงมีขนาดใหญ่หรือเล็กเกินไป มีความซับซ้อน มีอันตราย จึงใช้ประสบการณ์จำลองแทน เช่น การใช้หุ่นจำลอง (Model) ของตัวอย่าง (Specimen) เป็นต้น  ขั้นที่ 3 ประสบการณ์นาฏการ (Dramatized Experience) เป็นประสบการณ์ที่จัดขึ้นแทนประสบการณ์จริงที่เป็นอดีตไปแล้ว หรือเป็นนามธรรมที่ยากเกินกว่าจะเข้าใจและ ไม่สามารถใช้ประสบการณ์จำลองได้ เช่น การละเล่นพื้นเมือง ประเพณีต่างๆ เป็นต้น  ขั้นที่ 4 การสาธิต (Demonstration) คือการอธิบายข้อเท็จจริง ความจริงและกระบวนการที่สำคัญ  ด้วยการแสดงให้เห็นเป็นลำดับขั้น การสาธิตอาจทำได้โดยครูเป็นผู้สาธิต  นอกจากนี้อาจใช้ภาพยนตร์ สไลด์และฟิล์มสตริป แสดงการสาธิตในเนื้อหาที่ต้องการสาธิตได้

การจำแนกสื่อตามประสบการณ์การเรียนรู้  ขั้นที่ 5 การศึกษานอกสถานที่ (Field Trip) การพานักเรียนไปศึกษายังแหล่งความรู้นอกห้องเรียน เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนรู้หลายๆด้าน ได้แก่ การศึกษาความรู้จากสถานที่สำคัญ เช่น โบราณสถาน โรงงาน อุตสาหกรรม เป็นต้น ขั้นที่ 6 นิทรรศการ (Exhibition) คือ การจัดแสดงสิ่งต่าง ๆ รวมทั้งมีการสาธิต และการฉายภาพยนตร์ประกอบเพื่อให้ประสบการณ์ในการเรียนรู้แก่ผู้เรียนหลายด้าน ได้แก่ การจัดป้ายนิทรรศการ การจัดแสดงผลงานนักเรียน   ขั้นที่ 7 ภาพยนตร์ และโทรทัศน์ (Motion Picture and Television) ผู้เรียนได้เรียนด้วยการเห็นและได้ยินเสียงเหตุการณ์และเรื่องราวต่างๆ ได้มองเห็นภาพในลักษณะการเคลื่อนไหวเหมือนจริงไปพร้อมๆ กัน ขั้นที่ 8 การบันทึกเสียง วิทยุ และภาพนิ่ง  (Recording, Radio and Picture) ได้แก่ เทปบันทึกเสียง แผ่นเสียง วิทยุ ซึ่งต้องอาศัยเรื่องการขยายเสียง ส่วนภาพนิ่ง ได้แก่รูปภาพทั้งชนิดโปร่งแสงที่ใช้กับเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Overhead projector) สไลด์ (Slide) ภาพนิ่งจากคอมพิวเตอร์ และภาพบันทึกเสียงที่ใช้กับเครื่องฉายภาพทึบแสง (Overhead  projector) 

การจำแนกสื่อตามประสบการณ์การเรียนรู้  ขั้นที่  9 ทัศนสัญลักษณ์ (Visual Symbol) มีความเป็นนามธรรมสูง จำเป็น ที่จะต้องคำนึงถึงประสบการณ์ของผู้เรียนเป็นพื้นฐานในการเลือกนำไปใช้ สื่อเหล่านี้คือ แผนภูมิ แผนสถิติ ภาพโฆษณา การ์ตูน แผนที่ และสัญลักษณ์ ต่าง ๆ  เป็นต้น ขั้นที่ 10  วจนสัญลักษณ์ (Verbal Symbol) เป็นประสบการณ์ขั้นสุดท้าย ซึ่งเป็นนามธรรมที่สุด ไม่มีความคล้ายคลึงกันระหว่าง วจนสัญลักษณ์กับของจริง ได้แก่  การใช้ตัวหนังสือแทนคำพูด

หลักการเลือก“สื่อการเรียนการสอน” 1. เลือกสื่อการสอนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 2. เลือกสื่อที่ตรงกับลักษณะเนื้อหาบทเรียน 3. เลือกสื่อที่สอดคล้องกับวิธีการสอน 4. เลือกสื่อให้เหมาะกับลักษณะและวัยของผู้เรียน

หลักการเลือก“สื่อการเรียนการสอน” 5. เลือกสื่อให้เหมาะกับจำนวนผู้เรียนและกิจกรรมการเรียนการสอน 6. เลือกสื่อให้เหมาะกับสภาพแวดล้อม 7. เลือกสื่อที่น่าสนใจและดึงดูดความสนใจ 8. เลือกสื่อที่มีวิธีการใช้งาน เก็บรักษาและบำรุงรักษาได้สะดวก

หลักการใช้ “สื่อการเรียนการสอน” 1. เตรียมตัวผู้สอน ทำความเข้าใจเนื้อหา ขั้นตอนกิจกรรมและวิธีการใช้สื่อ 2. เตรียมจัดสภาพแวดล้อม เช่น สถานที่ ห้อง Lab เครื่องอำนวยความสะดวก 3. เตรียมตัวผู้เรียนให้พร้อม อธิบายวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์และเครื่องมือ 4. ใช้สื่อให้เหมาะกับขั้นตอนและวิธีการตามที่ได้เตรียมไว้และควบคุมการนำเสนอให้เป็นไปด้วยความราบรื่น 5. การติดตามผล ทดสอบผู้เรียนว่าเข้าใจสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปหรือไม่ เพื่อดูว่าสื่อมีประสิทธิภาพไหม

ค้นคว้าเกี่ยวกับสื่อ CAI การบ้าน ค้นคว้าเกี่ยวกับสื่อ CAI 1. ความหมาย 2. คุณลักษณะและรูปแบบ 3. ขั้นตอนการพัฒนาสื่อ CAI 4. ประโยชน์ของสื่อ CAI ในการจัดการเรียนการสอน