วันที่ ๒๔ -๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
By Duangduan Thiangtham
Advertisements

ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC
กำจัดพยาธิใบไม้ตับ ลดมะเร็งท่อน้ำดี
เพลินพิศ เยาว์พรหมสิริ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ประสบการณ์การเป็น นักเรียนทุนภายใต้ Asian Scholarship Foundation (FORD FOUNDATION) โดย ภาสกร บัวศรี Cohort 2.
ปราณี ประไพวัชรพันธ์ ( ป้าแพรว ) ผอ. รพสต. นาราก ต. อรพิมพ์ อ. ครบุรี ประธานชมรมรพสต. และหน่วยบริการปฐมภูมิ เขตนครชัยบุรินทร์
ความเป็นมา การอ่านเป็นการศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ตามอัธยาศัยหรือตาม ความสนใจจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ เช่น ห้องสมุด ศูนย์การเรียนรู้ เป็นต้น ซึ่งผู้อ่านจะต้องมีความสนใจที่จะเข้ามา.
สรุปจำนวน APN และแผนการส่งศึกษาต่อ APN
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
Siriporn Chitsungnoen
  การสนับสนุนการดำเนินงาน LTC ผ่าน "ศูนย์" ตามประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ.
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
Toward National Health Information System
ครั้งที่ 10/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
ณ ห้องประชุม 6/5 รพ.นครพิงค์
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
แนวทางการพยาบาลผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมอง
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานกราฟิก
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
กลุ่มงานหลักเกณฑ์ฯ สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา
หนังสือ “วารสารศาสตร์เบื้องต้น:ปรัชญาและแนวคิด
1.โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตคนอีสานศตวรรษที่ 21 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ระเบียบวาระการประชุม
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
สาเกตนคร การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
การประชุม ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
การบริการพื้นฐานของห้องสมุด
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) จังหวัดเพชรบุรี ปี 2558
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
สายรัดห่วงใยลด CA-UTI
ณ โรงแรมรัตนโกสินทร์ อ.เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
Mr. Chaiwat Tawarungruang
ระบบข้อมูลของโครงการสืบสานพระราชปณิธานต้านมะเร็งเต้านม
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
แผนงานปี 2561 กลุ่มงานพัฒนารูปแบบบริการ
เวปไซต์การบันทึกผลงาน อสม. ดีเด่น ระดับจังหวัด
แนวทางการประเมินผลงานวิชาการ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คบสอ.ตะพานหิน.
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ ณ ห้องประชุมโรงแรมฮอลิเดย์การ์เด้น
โครงการคัดกรองพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ณ ห้องประชุมศรีเวียงพิงค์
กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ชัยภูมิ
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
Work Smart Award 2017 โครงการชลประทานมุกดาหาร
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
วัน เวลา และห้องสอบ เวลาสอบวันอังคารที่ 30 เมษายน 2562 เวลา 8.00 – สอบที่อาคารคณะนิติศาสตร์ (ห้อง 1401 และ 1404) ที่ปกสมุดคำตอบทุกเล่ม ต้องเขียนsection.
รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ และคณะทีมนิเทศระดับจังหวัด
การวางแผนการจำหน่ายผู้ป่วยใน (IPD)แบบประคับประคอง จังหวัดสกลนคร Discharge planning in Palliative care รายการ Assessment Planning/ผู้บันทึก D: Disease.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วันที่ ๒๔ -๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น การประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานภายใต้โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ วันที่ ๒๔ -๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น

แบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน การบูรณาการแก้ไขพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี แบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

กรอบแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการปี 2560 นายแพทย์โอภาส การ์ยกวินพงศ์ โดย นายแพทย์โอภาส การ์ยกวินพงศ์ ประธานคณะทำงานขับเคลื่อนแผนงานควบคุมป้องกันพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี กรอบแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปี 2560

มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ “กำจัดพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี” ปี 2559 - 2568 มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๗ (๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗) จัดทำแผนยุทธศาสตร์ “ทศวรรษการกำจัดปัญหาพยาธิใบ ไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี” โดยความร่วมมือของภาคีที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์กำจัดพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี มาตรการเชิงนโยบายและการควบคุมกำกับอย่างเข้มข้น การเสริมสร้างความเข้มแข็งและขยายความครอบคลุมของมาตรการเชิงป้องกันทั้งในประเทศและภูมิภาคในลุ่มน้ำโขง การพัฒนาคุณภาพการวินิจฉัย การดูแลรักษา และการส่งต่อทั้งระบบแบบ บูรณาการ ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมและพัฒนาศักยภาพของชุมชนและองค์กรท้องถิ่นในการป้องกันควบคุมและจัดการสิ่งแวดล้อมโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี การศึกษาวิจัยและพัฒนาฐานข้อมูลและการบูรณาการที่มีประสิทธิภาพ โครงการกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับ และมะเร็งท่อน้ำดีถวายเป็นพระราชกุศลฯ ๑๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๕๙ ยุทธศาสตร์ ที่ ๑ ยุทธศาสตร์ ที่ ๒ ที่ ๓ ที่๔ ยุทธศาสตร์ ที่ ๕ ๕ มาตรการ มาตรการที่ ๑ การจัดการสิ่งแวดล้อม ปลาปลอดพยาธิ คนปลอดภัย : ตำบลจัดการสุขภาพ มาตรการที่ ๒ การควบคุมพยาธิใบไม้ตับ : ตรวจค้นหาการติดพยาธิเพื่อนำสู่การรักษา มาตรการที่ ๓ การวินิจฉัยรักษามะเร็งท่อน้ำดี: ตรวจคัดกรอง/รักษาตามชนิดของ CA มาตรการที่ ๔การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน: ผู้ป่วยได้รับการดูแลแบบองค์รวม รพ./ชุมชน มาตรการที่ ๕ การบริหารจัดการการสนับสนุน : จัดทำแผนยุทธศาสตร์ /สื่อสารความเสี่ยง / Isan-cohort ฯ คณะกรรมการ 3 คณะ - อำนวยการ มี รมว.สธ. เป็นประธาน มีอธิบดีกรมควบคุมโรค เป็นเลขานุการ - วิชาการ มี นพ.คำนวณ อึ้งชูศักดิ์ เป็นประธาน มี ผอ.สรต. เป็นเลขานุการ - ขับเคลื่อนมี ปลัด สธ. เป็นประธานมีรองอธิบดีกรมควบคุมโรค เป็นเลขานุการ มติคณะรัฐมนตรี (๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙) จัดทำแผนปฏิบัติการ

มติคณะรัฐมนตรี แผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ตามที่มีการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ ๗ เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้พิจารณารับมติ ๗.๓ การกำจัดพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในประชาชน โดยในมติขอให้กระทรวงสาธารณสุขเป็นเจ้าภาพหลักร่วมกับอีก ๘ กระทรวงและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ประชาชน เอกชน ร่วมกันจัดทำแผนยุทธศาสตร์ “ทศวรรษกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี” คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าวเมื่อวันที่ ๒๑ มิถุนายน พศ๒๕๕๙โดยมีมติให้มีการดำเนินงานดังนี้ ๑.เห็นชอบตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ โดยให้กระทรวงสาธารณสุขรณรงค์ให้ประชาชนรับประทานอาหารปรุงสุก เพื่อลดโอกาสการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับและให้รับความเห็นของกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีและสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ไปพิจารณาดำเนินการต่อไป ส่วนงบประมาณในการดำเนินการให้เป็นไปตามความเห็นของสำนักงบประมาณ ๒.มอบหมายให้กระทรวงสาธารณสุขนำแผนดังกล่าวมาจัดทำเป็นแผนปฏิบัติการตามกรอบระยะเวลาการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล (ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖๐) ทั้งนี้กิจกรรมใดที่เป็นการดำเนินการ ซึ่งเกินกว่ากรอบระยะเวลาการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล ให้นำเรื่องดังกล่าวบรรจุไว้ในแผนปฏิรูป เพื่อให้รัฐบาลชุดต่อไปที่จะเข้ามาบริหาราชการแผ่นดินพิจารณาดำเนินการต่อไป เพื่อให้เป็นไปตามนัยมติคณะรัฐมนตรี

อัตราเสียชีวิตด้วยมะเร็งท่อน้ำดีลดลงครึ่งหนึ่งในพ.ศ.๒๕๗๘ กรอบการทำแผนปฏิบัติการกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ปี ๒๕๖๐ หน่วยงานรับผิดชอบ กระบวนการ แผน/ตัวชี้วัด เป้าหมาย มีแผนยุทธศาสตร์จัดการปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี มีแผนงานโครงการระดับชาติ/จังหวัด ตัวชี้วัด:จำนวนจังหวัดที่มีการดำเนินงานตามแผนงาน (๒๗ จังหวัด ๑๙๐ ตำบล) กระทรวงสาธารณสุขโดย กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์ กรม สบส. กรมนามัย เป็นเจ้าภาพหลักร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ / มหาดไทย / วัฒนธรรม /คมนาคม/ เครือข่ายองค์กรท้องถิ่น /สถาบันวิชาการ / สปสช / สช/ CASCAP/สสส/และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดทำแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี อัตราเสียชีวิตด้วยมะเร็งท่อน้ำดีลดลงครึ่งหนึ่งในพ.ศ.๒๕๗๘ อัตราการติดพยาธิใบไม้ตับลดลงน้อยกว่าร้อยละ ๑ ในปี พ.ศ.๒๕๖๘ ปลาปลอดเชื้อ น้อยกว่าร้อยละ ๑ ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ฯ พัฒนาองค์ความรู้ จัดระบบเฝ้าระวังโรค และติดตามความก้าวหน้าร่วมกับภาคีเครือข่ายภาครัฐ สังคม และประชาชน จัดทำแผนปฏิบัติการแผนนิเทศติดตามประเมินผลกับภาคีตามแผนยุทธศาสตร์ จัดระบบการเฝ้าระวังโรค/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ตัวชี้วัด: มีรายงานความก้าวหน้า กรมควบคุมโรค โดยสำนักโรคติดต่อทั่วไปและสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑, ๖,๗,๘,๙ และ๑๐ /กรมสบส. จัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีที่เป็นปัจจุบัน (อบรม ฐานข้อมูล Isan-cohort เป้า ๒๐๐ คน) จัดทำแผนการพัฒนาบุคลากรในการคัดกรอง วินิจฉัย และรักษาผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี (มีการฝึกอบรมแพทย์ รังสีแพทย์ พยาบาล เป้า ๒๐๐ คน) ตัวชี้วัด: พบผู้ป่วยในระยะแรกเพิ่มขึ้น พัฒนาระบบทะเบียนมะเร็งท่อน้ำดีและสนับสนุนวิชาการเพื่อการคัดกรอง วินิจฉัย รักษา กรมการแพทย์ โดย สถาบันมะเร็งแห่งชาติ/CASCAP/รพ.ร้อยเอ็ด พัฒนา อสม.ให้เป็นนักจัดการสุขภาพชุมชน จัดกระบวนการสร้างสุขนิสัย รณรงค์และทำตัวเป็นแบบอย่างในชุมชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขร่วม /สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ/คร/กรมการแพทย์/CASCAP พัฒนาเครือข่ายหน่วยบริการในการตรวจวินิจฉัย การคัดกรอง และการรักษาอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ คัดกรองพยาธิใบไม้ตับ มะเร็งท่อน้ำดี กลุ่มป่วยเข้าถึงการรับบริการและได้รับการดูแลรักษาประคับประคองอย่างเหมาะสม -OV เป้า ๑๒๙,๒๐๐ ราย -CCA เป้า ๑๖๐,๐๐๐ ราย -ผ่าตัด เป้า ๘๐๐ ราย -ดูแล palliative care เป้า ๗,๕๐๐ ราย (ตัวชี้วัด: จำนวนผู้ป่วยที่รอดชีวิตเพิ่มขึ้น) การดูแลรักษาแบบประคับประคอง โดยใช้สมุนไพรไทยและภูมิปัญญาไทยแบบผสมผสาน อบรมพยาบาลเป้า 100 คน/อบรมอสม.840คน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯและร่วมกับภาคีเครือขายฯ/วัดคำประมง/กรมการแพทย์ /กรมสนับสนุนบริการ

กรอบการทำแผนปฏิบัติการกำจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีปี ๒๕๖๐ หน่วยงานรับผิดชอบ กระบวนการ แผนงาน /ตัวชี้วัด เป้าหมาย ระดมศักยภาพกับหน่วยงานต่างๆ ในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเรื่องพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี แบบบูรณาการ อปท.ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น สู่การปฏิบัติ การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ ประชาชน เรื่องอาหารปลาปลอดเชื้อ คนปลอดภัย มีการสุ่มตรวจแหล่งผลิตอาหารปลา การเฝ้าระวังหอย ปลา สุนัข แมว (ตัวชี้วัด : อาหารเสี่ยงลดดลงการปนเปื้อนอุจจาระน้อยลงปลาติดพยาธิน้อยลง) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น & องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อัตราเสียชีวิตด้วยมะเร็งท่อน้ำดีลดลงครึ่งหนึ่ง ในปี พ.ศ. ๒๕๗๘ อัตราการติดพยาธิใบไม้ตับลดลง น้อยกว่าร้อยละ ๑ ในปีพ.ศ. ๒๕๖๘ ปลาปลอดเชื้อ น้อยกว่าร้อยละ ๑ ๗ พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ ปชช ให้มีความรู้การจัดการอาหารปลาปลอดภัย &ตระหนัก ส่งเสริมให้ท้องถิ่นดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมและกำจัดสิ่งปฏิกูล การเฝ้าระวังสัตว์รังโรค หอย ปลา แมว สุนัข กรมอนามัย อย. ร่วมกับ(ก.มหาดไทย กรมประมง กรมปศุสัตว์ มข มห ก.คมนาคม กรมเจ้าท่า การรถไฟ ) แผนงานและงบประมาณสนับสนุน ตัวชี้วัด: จำนวนจังหวัดที่ได้รับสนับสนุนงบประมาณ สปสช. กำหนดเป็นปัญหาสำคัญ และจัดสรรงบประมาณ จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาด้วยหนังสืออิเลคทรอนิคส์ (E-Book) ทุกโรงเรียนใน ๑๙๐ ตำบลและนิเทศติดตามผล) (ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมโรงเรียนเป้าหมาย) กระทรวงศึกษาธิการ พัฒนากระบวนการเรียนการสอน ในโรงเรียนที่สอดคล้องกับบริบทเด็กวัยเรียน ประชาชนผู้อยู่นอกระบบโรงเรียนมีค่านิยมไม่กินปลาน้ำจืดดิบ สถาบันอุดมศึกษา หน่วยงานวิจัย /สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข/CASCAP /วช./สกว. มีองค์ความรู้ในการจัดการปัญหา มีแนวทางในการดำเนินงาน (มีการทำวิจัยผ่านโครงการท้าทายไทยของ วช.) (ตัวชี้วัด: จำนวนความรู้ คู่มือ แนวทาง คำแนะนำ) ศึกษาวิจัยทางการแพทย์ สังคม ทางพฤติกรรม นิเวศน์วิทยา กรมประชาสัมพันธ์ /กระทรวงวัฒนธรรม /สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ/สช/สธ ขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ เพื่อให้ประชาชน เข้าใจ ตระหนักถึงภาวะเสี่ยง ป้องกันตนเองจากการติดพยาธิ การสำรวจพฤติกรรมประชาชน จัดทำแผนและสนับสนุนผลิตสื่อในการปชส.(ตัวชี้วัด: ร้อยละของประชาชนมีพฤติกรรมในการกินปลาดิบ และอาหารเสี่ยงลดลง

กรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ปี ๒๕๖๐ พื้นที่ดำเนินงาน พื้นที่เสี่ยง ๒๗ จังหวัด ขยายอำเภอละ ๑ ตำบล จาก ๘๔ ตำบลในปี ๒๕๕๙ เพิ่มเป็น ๑๙๐ ตำบล ในปี ๒๕๖๐ ได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือทุกจังหวัด ภาคเหนือ ๖ จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ น่าน แม่ฮ่องสอน ลำปาง พะเยา ภาคกลาง ๑ จังหวัด ได้แก่ สระแก้ว

เป้าหมายการดำเนินการ กรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ปี ๒๕๖๐ เป้าหมายการดำเนินการ การตรวจคัดกรองพยาธิใบไม้ตับด้วยการตรวจอุจจาระหาพยาธิใบไม้ตับ ประชาชนอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๑๒๙,๒๐๐ ราย ๒. การตรวจคัดกรองมะเร็งท่อน้ำดีด้วยอัลตร้าซาวด์ ประชาชนอายุ ๔๐ ปีขึ้นไป จำนวน ๑๖๐,๐๐๐ ราย ๓. การรักษาด้วยการผ่าตัดผู้ป่วยใหม่ จำนวน ๘๐๐ ราย ๔. การดูแลประคับประคอง จำนวน ๗,๕๐๐ ราย ๕. จัดการสิ่งแวดล้อมและสิ่งปฏิกูล ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมาย ๑๙๐ ตำบล ๖. การจัดการเรียนการสอน ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมาย ๑๙๐ ตำบล

ขอบคุณครับ