งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย
คณะ 4 การตรวจราชการแบบบูรณาการ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย

2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเมืองสมุนไพร
ปี 2561 ปี 2562 ต้นทาง มีพื้นที่ปลูกสมุนไพร ผ่านมาตรฐาน GAP 250 ไร่ มีกลุ่มแกนนำด้านสมุนไพร 4 กลุ่ม ที่ผ่าน GAP มีข้อมูลความต้องการวัตถุดิบสมุนไพร เพื่อส่งเสริมการใช้ยาระดับเขต จำนวน 20 ชนิด ขยายพื้นที่ปลูกสมุนไพรมาตรฐาน GAP 100 ไร่ สำนักงานจังหวัดจัดอบรมเกษตรกรเรื่องการปลูกแบบอินทรีย์ สสจ. ร่วมกับรพ มหาสารคาม และศูนย์พืชไร่ ลงพื้นที่ตรวจวิเคราะห์ดินและให้ความรู้การปลูกแก่เกษตรกร กลางทาง มีโรงงานผลิตยาผ่านมาตรฐาน GMP 2 แห่ง ได้แก่ รพ.มหาสารคาม และคณะเภสัชศาสตร์ ม.มหาสารคาม การผลิตยาแผนไทย (ยาน้ำ) รองรับการใช้ของสถานบริการสาธารณสุข เขต 7 จำนวน 13 รายการ กำลังก่อสร้างโรงงานผลิตยามาตรฐาน GMP เพิ่มอีก 1 แห่ง ปลายทาง มีร้านค้าจัมปาศรี เป็น Shop/Outlet ด้านผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร มีการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในสถานบริการทุกระดับ มีผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรในท้องถิ่น 7 อำเภอ รวม 21 รายการ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรในท้องถิ่น 7 อำเภอ รวม 21 รายการ ให้ได้มาตรฐานและขึ้นทะเบียนจดแจ้งผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักแห่งชาติ ทดแทนยาแผนปัจจุบัน เช่น ยาธาตุบรรจบ และฟ้าทลายโจรที่จะนำมาใช้ใน RDU ในรูป “มูลนิธิ” พัฒนาการบริหารจัดการธุรกิจสมุนไพร รง.GMP แห่งใหม่ และแปลงปลูกสมุนไพรด้านหลัง จุดเด่นคือ

3 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเมืองสมุนไพร (ต่อ)
ปัจจัยความสำเร็จ ผู้บริหารทุกระดับให้ความสำคัญ มีการประชุมคณะกรรมการเมืองสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง เพื่อติดตามและขับเคลื่อนงาน มีการกำหนดให้ “Herbal City” เป็น PA ของจังหวัด ทำให้เกิดการดำเนินงานในระดับอำเภออย่างต่อเนื่อง เสนอแผนงาน/โครงการเพื่อดำเนินงานเมืองสมุนไพรอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการขยายผลการดำเนินงาน มี พชอ. จำนวน 2 อำเภอ ให้ความสนใจและเลือกดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ Herbal City เกษตรจังหวัด ช่วยสนับสนุนการดำเนินงานเรื่องโรงแปรรูปสมุนไพร เกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี มีการกำหนดแผนการปลูกสมุนไพรในแต่ละอำเภอ เพื่อลดปัญหาการปลูกซ้ำซ้อน และผลผลิตล้นตลาด ศูนย์พืชไร่ ให้ความร่วมมือในการตรวจรับรอง GAP และให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสมุนไพรที่เหมาะสม ข้อเสนอแนะ ควรให้การสนับสนุนอัตรากำลังคนเพิ่มเติม เพื่อขับเคลื่อนงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย กรณีที่โรงงานแห่งใหม่เปิดดำเนินการ อาจพิจารณาขยาย Line การผลิตเพิ่มเติม ควรกำหนดแผนงาน/โครงการ Herbal City เป็นแผนงานของจังหวัด ระยะ 3 -5 ปี เพื่อการพัฒนาที่ต่อเนื่อง ปัญหา/อุปสรรค กระบวนการรับรองมาตรฐานการปลูกกแบบเกษตรอินทรีย์มีขั้นตอนการดำเนินงานค่อนข้างมาก บุคลากรด้านเภสัชกรรม และด้านการแพทย์แผนไทย อาจไม่เพียงพอต่อการรองรับภาระงานที่เกิดจากการเปิดโรงงานผลิตยาแผนไทยมาตรฐาน GMP แห่งใหม่

4 สถานการณ์ ความสำคัญสภาพปัญหา มาตรการป้องกันการขาดสารไอโอดีน
ส่งเสริมการบริโภคไอโอดีนและการให้ความรู้แก่พ่อแม่เด็กในด้านโภชนาการที่เหมาะสม สถานการณ์ ความสำคัญสภาพปัญหา 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ร้อยละ 79.7(100) มาตรการป้องกันการขาดสารไอโอดีน ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนการดำเนินงาน -ประกาศวาระจังหวัด Smart Kids Taksila 4.0 ภาคีเครือข่ายร่วม 36 หน่วยงาน สนับสนุนให้หมู่บ้านใช้งบตามโครงการพระราชดำริฯ ยุทธศาสตร์ที่ 2 เฝ้าระวัง/ติดตาม เกลือเสริมไอโอดีน ผลิต -> คุณภาพ ณ จุดผลิต กระจาย->ร้านค้า ,กองทุน บริโภค->ความครอบคลุมการใช้ในครัวเรือน(>90%) ยาเม็ดเสริมไอโอดีน - การได้รับยา “ติดตามการกินยา” Urine Iodine TSH ยุทธศาสตร์ที่ 3 ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้ความรู้ - รร พ่อแม่ - หลักสูตร ใน รร.ทุกระดับ ชุมชนโดยภาคีเครือข่าย “ร้านหนูณิชย์”ใช้เกลือเสริมไอโอดีน ยุทธศาสตร์ที่ 4 วิจัย/นวัตกรรม - สำรวจปริมาณไอโอดีนในไข่ ในจังหวัด - เกลือเสริมไอโอดีน “สารคามซอลท์” ตามมาตรฐาน MSK 2. Urine Iodine หญิงตั้งครรภ์ >150 g/L ร้อยละ 36.6(>50) พยัคฆภูมิพิสัย 18.1% ชื่นชม เชียงยืน 4.5% โกสุมพิสัย 5.8% กุดรัง กันทรวิชัย 18.6% เมือง 6.4% แกดำ 11.1% บรบือ 12.5% วาปีปทุม 10.9% นาเชือก 0.0% นาดูน 8.3% ยางสีสุราช รพ.สารคามอินเตอร์ 18.5% 3. ค่า TSH >11.25 mU/L ร้อยละ 8.8 (< ร้อยละ3)  ไม่มีห้องคลอด  น้อยกว่า ร้อยละ 3  ร้อยละ 3-10  มากกว่า ร้อยละ 10 Best practice อำเภอนาเชือก และยางสีสุราช ติดตามการกินยาเม็ดเสริมไอโอดีน ธาตุเหล็ก และโฟลิก ด้วยการ DOT ยาโดย อสม. หรือคนในครอบครัว และมีกลุ่มไลน์ในการติดตาม ข้อเสนอแนะ -ติดตาม คุณภาพการดำเนินงานตามตัวชี้วัดรายหน่วยงาน และจัดทำแผนแก้ไขปัญหา -การสร้างความรอบรู้แก่พ่อแม่เด็กในด้านโภชนาการที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการขาดสารไอโอดีน

5 อัตราตายมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี ประเทศ ภาค และเขตปี พ.ศ.2554-2558
การพัฒนาระบบป้องกันและควบคุมโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดีในพื้นที่เสี่ยง มาตรการดำเนินงาน ความชุกโรคพยาธิใบไม้ตับในประชาชน เขตสุขภาพที่ 7 ปี การจัดการสิ่งแวดล้อม - ร่วมมือกับท้องถิ่นขยายการจัดการสิ่งปฏิกูล เพิ่ม อีก 1 / 4 ( ผลงานเดิม 3 แห่ง) การจัดการเรียนการสอนเรื่อง OV CCA ในโรงเรียน - ขยายการจัดการเรียนการสอนเรื่อง OV CCA ใน รร. 102 แห่ง (96.07%) ( 110 แห่ง) 3. การคัดกรองด้วยอุจจาระในประชาชน 15 ปีขึ้นไป - ขยายพื้นที่เป้าหมายเพิ่ม 25 ตำบล ( เดิม 15 ตำบล) 4. การตรวจคัดกรอง CCA ในประชาชน 40 ปีขึ้นไป - อบรมแพทย์/พยาบาลในการตรวจคัดกรอง การจัดการฐานข้อมูล Isan cohort -on the job training จนท.ผู้รับผิดชอบทุกพื้นที่ อัตราตายมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ำดี ประเทศ ภาค และเขตปี พ.ศ Best Practice (อำเภอพยัคฆภูมิพิสัย) รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การประกวดตำบลต้นแบบฯ ปี 2561 รางวัล Good Practice ยอดเยี่ยม ด้านการตรวจคัดกรอง OV ปี 2561 รางวัล Good Practice ดีเด่นด้านการลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยง CCA 01 ปี 2561 ข้อเสนอแนะ - ติดตาม การจัดการเรียนการสอน OV CCA ใน รร - การพัฒนาศักยภาพของจุลทัศนากรสำหรับการตรวจคัดกรองหนอนพยาธิ


ดาวน์โหลด ppt กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก / กรมควบคุมโรค / กรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google