งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สายรัดห่วงใยลด CA-UTI

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สายรัดห่วงใยลด CA-UTI"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สายรัดห่วงใยลด CA-UTI
ผู้รับผิดชอบโครงการ  นางพธูลักษณ์ เกษมสำราญและเจ้าหน้าที่พิเศษ6/1

2 หลักการและเหตุผล การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะจากการคาสาย สวนปัสสาวะ (catheter associated urinary tract infection; CAUTI) นั้นเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยต้องนอน โรงพยาบาลนานขึ้น เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่ม มากขึ้นและอาจทำให้เกิดการติดเชื้อในกระแสเลือด การติดเชื้อ CAUTI ทำให้จำนวนวันนอโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ อัตราการติดเชื้อ CAUTI ของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในตึกพิเศษ 6/1 ปี 2560 เท่ากับ ครั้ง/ 1,000 วันของการคาสายสวน ซึ่งเป็นอัตราการติดเชื้อ CAUTI ที่สูงกว่าตัวชี้วัดของโรงพยาบาล 2 – 3 เท่า แม้ว่าหอ ผู้ป่วยได้จัดทำ โครงการควบคุมการติดเชื้อ CAUTI มาโดยตลอด ทั้งควบคุมมาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วย ที่คาสายสวนปัสสาวะ

3 หลักการและเหตุผล การประเมินความพร้อมใน การถอดสายสวนปัสสาวะอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง โดยพิจารณาตามข้อบ่งชี้ของการใส่สายสวนปัสสาวะ คือ ระบบทางเดินปัสสาวะอุดตัน มีความผิดปกติของ ระบบประสาทที่ควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ มีปัสสาวะ ค้างในกระเพาะปัสสาวะ ความจำ เป็นในการติดตาม จำนวนปัสสาวะทุก 1 – 2 ชั่วโมง เป็นต้น แต่อัตราการติดเชื้อ CAUTI ก็ยังเพิ่มขึ้น แม้ว่าผลการศึกษาที่ ผ่านมาพบว่า การประเมินความพร้อมในการถอด สายสวนปัสสาวะอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้งสามารถลดอัตราการติดเชื้อได้จากปัญหาแลความสำคัญดังกล่าวเจ้าหน้าที่พิเศษ6/1 จึงสนใจพัฒนารูปแบบการพยาบาล

4 หลักการและเหตุผล เพื่อป้องกันการติดเชื้อ ในทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะและจัดทำนวัตกรรมสายรัดห่วงใย ผู้ป่วยที่มีการคาสายสวนปัสสาวะ และ ตรึงสายสวนด้วย พลาสเตอร์พบว่า เมื่อ เปียกชื้น พลาสเตอร์จะหลุด ไม่สามารถยึดตรึงสายสวนได้ ทำให้สายสวนมีการเลื่อน เข้าเลื่อนออกและหักพับงอได้ บางครั้งมีคราบเหนียวของพลาสเตอร์ติดที่สายสวน และผิวหนังผู้ป่วย ทำให้เกิดแผลถลอกและสายสวนปัสสาวะ เป็นคราบสกปรก จึง ใช้ Bundle care CAUTI มาเป็นมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ

5 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อป้องกันการเกิดการแพร่แพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน ตึกพิเศษ 6/1 2. เพื่อให้พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยเหลือคนไข้ประจำหอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 ทุกคน มีความรู้ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน โรงพยาบาล

6 เป้าหมายการดำเนินงาน
การเกิดอัตราเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน ตึกพิเศษ 6/1 = 0

7 วิธีการดำเนินงาน 1. จัดทำโครงการ นำเสนอหัวหน้าตึกเพื่อขออนุมัติโครงการ จัดการประชุมเจ้าหน้าที่ประจำ หอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 เพื่อแจ้งให้ทราบถึงโครงการและแผนการดำเนินการโครงการให้เจ้าหน้าที่ทุกคนทราบและขอความร่วมมือในการดำเนินโครงการ 2. ประเมินความรู้พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยเหลือคนไข้ประจำหอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 ทุกคน เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน โรงพยาบาล ก่อนทำโครงการ

8 วิธีการดำเนินงาน 3.สำรวจและให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ของบุคลากรที่ปฏิบัติงานใน หอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 โดยสอบถาม สังเกต การบรรยาย การสาธิต และการสาธิตย้อนกลับ 4. ประเมินความความรู้พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยเหลือคนไข้ประจำหอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 ทุกคน เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน โรงพยาบาล หลังให้ความรู้

9 ระยะเวลา พฤศจิกายน 2559 – สิงหาคม 2560
ระยะเวลา พฤศจิกายน 2559 – สิงหาคม 2560 งบประมาณ รอบแรก ไม่มีค่าใช่จ่าย (มีค่าใช้จ่าย ซื้อตีนตุ๊กแก และ ELASTICขนาด 1 นิ้ว ยาวประมาณ อย่างละ 10 เมตร รวมราคาประมาณ 500 บาท )

10 การประเมินผลสำเร็จของโครงการ
1. การเกิดอัตราเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน ตึกพิเศษ 6/1 = 0 2. พยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยเหลือคนไข้ประจำหอผู้ป่วยพิเศษ 6/1 ทุกคน มีความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา VRE และ CRE ใน โรงพยาบาล มากกว่า 80 %

11

12

13


ดาวน์โหลด ppt สายรัดห่วงใยลด CA-UTI

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google