เรื่อง สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
โครงการ ส่งเสริมป้องกันโรค ในช่องปาก ตาม ชุดสิทธิประโยชน์
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
นโยบายและทิศทางการส่งเสริมสุขภาพในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
สถานการณ์สุขภาพช่องปาก ปี 2560
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การอบรมฟื้นฟูความรู้ผู้จัดการการดูแลผู้สูงอายุ (Care Manager : CM)
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ การประชุมสัมมนา เรื่อง สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในโครงการฟันเทียมพระราชทาน และการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ 24-25 กุมภาพันธ์ 2552 ณ โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์ กรุงเทพมหานคร

นพ.โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุ นพ.โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย ประชุมสัมมนา เรื่อง สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ 24-25 กุมภาพันธ์ 2552 ณ รร.เอบีน่าเฮ้าส์ กรุงเทพฯ

ประเด็น - พลังแห่ง Active Aging - กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี - ช่องปาก ... ประตูสู่สุขภาพ

พลัง แห่ง Active Aging

ผู้สูงอายุไทย ผู้สูงอายุ คือ บุคคลที่อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ทั้งเพศชาย และหญิง (ประชุมสมัชชาผู้สูงอายุโลก กรุงเวียนนา Austria 2525) Young old 60-69 ปี Medium old 70-79 ปี Old - old 80 ปี ขึ้นไป พระราชบัญญัติผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2546 บุคคลที่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย

สังคมผู้สูงอายุ Aging Society Aged Society : สังคมนั้นมีผู้สุงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป 14% ประเทศไทยเป็น Aging Society ปี พ.ศ.2545 คือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 8-10% ปี พ.ศ.2548 10.4% ปี พ.ศ.2550 10.8% ปี พ.ศ.2558 คาดการณ์ 13.4%

แนวทางการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม โดยชุมชน เพื่อชุมชน อุดมคติ : เตรียมความพร้อมสำหรับสังคมผู้สูงอายุ โครงสร้างสังคม : ทำอย่างไรที่จะทำให้สังคมที่มีผู้สูงอายุจำนวนมาก ดำรงอยู่ได้ การบริโภคที่ดี สุขอนามัยที่ดี บุตร หลาน ครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ร่างกายทางกายภาพ : ชะลอความเสื่อมสภาพ ร่างกายทางสังคม : มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ การจัดการบริการทางการแพทย์ ผู้ดูแล สถาบันในชุมชน : วัด โรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ ร่างกายตัวตน: มีศักดิ์ศรี มีอิสระ มีสมรรถภาพ ร่างกายทางการเมือง : การถูกจัดการด้วยภาพลักษณ์เชิงบวก บ้าน และสิ่งแวดล้อมที่ดี สถานที่ หรืออุปกรณ์ช่วยส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ เช่น ถนน รถ เครื่องช่วยเดิน ฯลฯ ตัวตนของผู้สูงอายุ การดูแลร่วมกันในชุมชน อ้างอิง: พญ.วัชริน สินธวานนท์ ใน การดูแลผู้สูงวัยในชุมชน ระบบ หลักการ และแนวปฏิบัติ โดย สพช. มค.2552

แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ แพทย์/พยาบาล ฯลฯ บริการโรคเรื้อรัง สมรรถนะ ระบบส่งต่อ ต้องพึ่งคนอื่น บริการทาง การแพทย์ ดูแล กาย ใจ สังคม กองทุนบำนาญ แห่งชาติ ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร 1 มาตรฐาน พัฒนาสมรรถนะ ส่งเสริมสุขภาพ ไร้พุง คัดกรอง สมองดี นโยบายที่ บูรณาการ ยุทธศาสตร์ ที่ปฏิบัติได้ คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ อาสาสมัคร พึ่งตนเอง ช่วยคนอื่นได้ สภา/ชมรม ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร 2 มาตรฐาน พัฒนาศักยภาพ ระบบบริการ ทางการแพทย์ คุณภาพ ดูแลตนเองได้บ้าง การดูแล ทาง กาย ใจ การดูแล ทางสังคม การดูแลที่บ้าน ศูนย์ดูแลกลางวัน การมีส่วนร่วม ของท้องถิ่น การดูแลในชุมชน อาสาสมัคร ชมรม เครือข่ายพระสงฆ์ วัดส่งเสริมสุขภาพ

"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"

ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น Goals : Healthy People Healthy Environment พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

Six Key Functions to High Performance Organization Organization Development Surveillances M & E Healthy People Thailand Consumer Protection Information Management Provider Support Knowledge Funder Alliance R & D M & E Human Resource Development

ประชาชน รัฐ เอกชน Bangkok Charter In A Globalize World Build capacity Partner ออตตาวา เพิ่มความสามารถของชุมชน พัฒนาทักษะบุคคล สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ปรับระบบบริการสุขภพ สร้างนโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพ ประชาชน รัฐ Advocate Invest MEANs (ยุทธวิธี) - Planning - Allocate Resource - Target - Indicator - Monitoring - Report เอกชน Regulate and Legislate

ช่องปาก ... ประตูสู่สุขภาพ

การดำเนินงาน 2548 - 2551 ใส่ฟันเทียม ประมาณ 120,000 ราย มีเครือข่ายการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ 37 จว. 120 ชมรม หน่วยบริการ ร่วมพัฒนารูปแบบการจัดบริการทันตกรรมป้องกัน ตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม 21 จว. 167 หน่วยบริการ ข้อมูลจากการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในจังหวัด ผู้สูงอายุที่มีฟัน (แท้ และ/หรือ เทียม) ใช้เคี้ยวอาหาร 4 คู่สบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 44.1 ในปี 2548 เป็นร้อยละ 49.2 ในปี 2551

โครงการหลัก เพื่อสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ 3 โครงการหลัก 1. ฟันเทียมพระราชทาน 2. ชมรมผู้สูงอายุส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 3. การส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปาก ตามชุดสิทธิประโยชน์

แนวคิด การจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ มีฟันเคี้ยวอาหาร ได้อย่างเหมาะสม กลุ่มเสี่ยง ป้องกันโรคในช่องปาก ตามชุดสิทธิประโยชน์ กลุ่มที่สูญเสียฟัน ใส่ฟันเทียม เพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเอง ชมรมผู้สูงอายุ

2. การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายตามบทบาทหน้าที่ พัฒนาทักษะ ทันตแพทย์ / ทันตบุคลากร / บุคลากรสาธารณสุข / ชมรมผู้สูงอายุ/ อสม. / อื่นๆ 4. ลดการสูญเสียฟันก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ - พัฒนางานส่งเสริม โดย อสม. - พัฒนารูปแบบการดำเนินงานในสถานประกอบการ/ชุมชน 1. Reoriented Health Service โดยหน่วยบริการ - โครงการฟันเทียมพระราชทาน (ประมาณ 120,000 คน) - โครงการพัฒนางานทันตกรรมป้องกัน ตามชุดสิทธิประโยชน์ (21 จว. 167 หน่วยบริการ) โดยภาคประชาชน - โครงการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ 37 จว. 120 ชมรมฯ 3. การสำรวจสภาวะช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุรายปี 5. รณรงค์สร้างกระแส - โครงการฟันเทียมพระราชทาน ร่วมกับหน่วยฯ พระราชทาน และเอกชน - “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” และ “10 ยอดฟันดีวัย 80 ปี”

สถานการณ์สุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ การสูญเสียฟัน ฟันที่มี - ร้อยละ 92 มีการสูญเสียฟัน - ร้อยละ 8.2 สูญเสียฟันทั้งปาก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (survey 6 ร้อยละ 10.8) ร้อยละ 96 มีฟันผุ ร้อยละ 62 มีโรคปริทันต์** ร้อยละ 20 รากฟันผุ มีโอกาสสูญเสียฟันเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ร้อยละ 31 มีการแปรงฟันตอนเช้าและก่อนนอน Ref: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 5 พ.ศ.2543-2544

สัมพันธ์กับการเกิดโรคในช่องปากและการดูแลตนเอง สุขภาพ ครึ่งหนึ่งมีโรคเรื้อรัง ที่สำคัญ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต สมองเสื่อม โรคของระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูกและข้อ สัมพันธ์กับการเกิดโรคในช่องปากและการดูแลตนเอง สาเหตุการตาย ความเสื่อมอื่น ๆ มะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง สายตาเลือนราง หูตึง ความจำ

สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับโรคทางระบบ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด สุขภาพฟัน สัมพันธ์กับความสุข และประสิทธิภาพ การเคี้ยวอาหาร รวมทั้ง ความมั่นใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรมในสังคม Ref: ศ.นพ.เทพ หิมะทองคำ “ปัญหาของผู้สูงอายุมีทั้งกายและใจ” ใน มหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50 พญ.สิรินธร ฉันศิริกาญจน “สุขภาพช่องปากกับสุขภาพร่างกาย” ใน มหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50

สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต ความเจ็บปวด ไม่สบายจากฟันมีผลต่อการพักผ่อน นอนหลับ การทำงาน และการทำกิจกรรมตามปกติ การสูญเสียฟันและจำนวนฟันที่เหลือ มีผลต่อการเคี้ยวอาหาร การเลือกชนิดอาหาร ส่งผลต่อภาวะโภชนาการ ผู้สูงอายุที่มีปัญหาจากการเคี้ยวอาหารมีโอกาสเกิด underweight เป็น 3 เท่า ของผู้ที่ไม่มีปัญหา Ref: พัชราวรรณ ศรีศิลปนันทน์ ทำไมต้องดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ในมหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50

ร่วมด้วยช่วยกัน

เครือข่ายวัยทำงานและผู้สูงอายุในพื้นที่ ศูนย์เขตฯ รพ. PCU ชมรม สสจ. สาธารณสุข วัด กรม/กองส่วนกลาง สำนักตรวจฯ พื้นที่ ชุมชน ศูนย์ 3 วัยฯ องค์กรฯ ท้องถิ่น สถานประกอบการ คณะทันต หน่วยพระราชทาน

Activity in Elderly Club These are activities by elderly’s club - group participation - oral health education - tooth brushing practice & plaque control - self care instrument from natural

ด้วยความขอบคุณ