เรื่อง สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ การประชุมสัมมนา เรื่อง สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ในโครงการฟันเทียมพระราชทาน และการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ 24-25 กุมภาพันธ์ 2552 ณ โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์ กรุงเทพมหานคร
นพ.โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุ นพ.โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย ประชุมสัมมนา เรื่อง สุขภาพช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคทางระบบ 24-25 กุมภาพันธ์ 2552 ณ รร.เอบีน่าเฮ้าส์ กรุงเทพฯ
ประเด็น - พลังแห่ง Active Aging - กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี - ช่องปาก ... ประตูสู่สุขภาพ
พลัง แห่ง Active Aging
ผู้สูงอายุไทย ผู้สูงอายุ คือ บุคคลที่อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ทั้งเพศชาย และหญิง (ประชุมสมัชชาผู้สูงอายุโลก กรุงเวียนนา Austria 2525) Young old 60-69 ปี Medium old 70-79 ปี Old - old 80 ปี ขึ้นไป พระราชบัญญัติผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2546 บุคคลที่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย
สังคมผู้สูงอายุ Aging Society Aged Society : สังคมนั้นมีผู้สุงอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป 14% ประเทศไทยเป็น Aging Society ปี พ.ศ.2545 คือ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป 8-10% ปี พ.ศ.2548 10.4% ปี พ.ศ.2550 10.8% ปี พ.ศ.2558 คาดการณ์ 13.4%
แนวทางการดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม โดยชุมชน เพื่อชุมชน อุดมคติ : เตรียมความพร้อมสำหรับสังคมผู้สูงอายุ โครงสร้างสังคม : ทำอย่างไรที่จะทำให้สังคมที่มีผู้สูงอายุจำนวนมาก ดำรงอยู่ได้ การบริโภคที่ดี สุขอนามัยที่ดี บุตร หลาน ครอบครัว เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ร่างกายทางกายภาพ : ชะลอความเสื่อมสภาพ ร่างกายทางสังคม : มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นได้ การจัดการบริการทางการแพทย์ ผู้ดูแล สถาบันในชุมชน : วัด โรงเรียน โรงพยาบาล ฯลฯ ร่างกายตัวตน: มีศักดิ์ศรี มีอิสระ มีสมรรถภาพ ร่างกายทางการเมือง : การถูกจัดการด้วยภาพลักษณ์เชิงบวก บ้าน และสิ่งแวดล้อมที่ดี สถานที่ หรืออุปกรณ์ช่วยส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ เช่น ถนน รถ เครื่องช่วยเดิน ฯลฯ ตัวตนของผู้สูงอายุ การดูแลร่วมกันในชุมชน อ้างอิง: พญ.วัชริน สินธวานนท์ ใน การดูแลผู้สูงวัยในชุมชน ระบบ หลักการ และแนวปฏิบัติ โดย สพช. มค.2552
แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ แพทย์/พยาบาล ฯลฯ บริการโรคเรื้อรัง สมรรถนะ ระบบส่งต่อ ต้องพึ่งคนอื่น บริการทาง การแพทย์ ดูแล กาย ใจ สังคม กองทุนบำนาญ แห่งชาติ ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร 1 มาตรฐาน พัฒนาสมรรถนะ ส่งเสริมสุขภาพ ไร้พุง คัดกรอง สมองดี นโยบายที่ บูรณาการ ยุทธศาสตร์ ที่ปฏิบัติได้ คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ อาสาสมัคร พึ่งตนเอง ช่วยคนอื่นได้ สภา/ชมรม ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร 2 มาตรฐาน พัฒนาศักยภาพ ระบบบริการ ทางการแพทย์ คุณภาพ ดูแลตนเองได้บ้าง การดูแล ทาง กาย ใจ การดูแล ทางสังคม การดูแลที่บ้าน ศูนย์ดูแลกลางวัน การมีส่วนร่วม ของท้องถิ่น การดูแลในชุมชน อาสาสมัคร ชมรม เครือข่ายพระสงฆ์ วัดส่งเสริมสุขภาพ
"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น Goals : Healthy People Healthy Environment พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
Six Key Functions to High Performance Organization Organization Development Surveillances M & E Healthy People Thailand Consumer Protection Information Management Provider Support Knowledge Funder Alliance R & D M & E Human Resource Development
ประชาชน รัฐ เอกชน Bangkok Charter In A Globalize World Build capacity Partner ออตตาวา เพิ่มความสามารถของชุมชน พัฒนาทักษะบุคคล สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ปรับระบบบริการสุขภพ สร้างนโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพ ประชาชน รัฐ Advocate Invest MEANs (ยุทธวิธี) - Planning - Allocate Resource - Target - Indicator - Monitoring - Report เอกชน Regulate and Legislate
ช่องปาก ... ประตูสู่สุขภาพ
การดำเนินงาน 2548 - 2551 ใส่ฟันเทียม ประมาณ 120,000 ราย มีเครือข่ายการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ 37 จว. 120 ชมรม หน่วยบริการ ร่วมพัฒนารูปแบบการจัดบริการทันตกรรมป้องกัน ตามชุดสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม 21 จว. 167 หน่วยบริการ ข้อมูลจากการเฝ้าระวังทันตสุขภาพในจังหวัด ผู้สูงอายุที่มีฟัน (แท้ และ/หรือ เทียม) ใช้เคี้ยวอาหาร 4 คู่สบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 44.1 ในปี 2548 เป็นร้อยละ 49.2 ในปี 2551
โครงการหลัก เพื่อสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ 3 โครงการหลัก 1. ฟันเทียมพระราชทาน 2. ชมรมผู้สูงอายุส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 3. การส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปาก ตามชุดสิทธิประโยชน์
แนวคิด การจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ มีฟันเคี้ยวอาหาร ได้อย่างเหมาะสม กลุ่มเสี่ยง ป้องกันโรคในช่องปาก ตามชุดสิทธิประโยชน์ กลุ่มที่สูญเสียฟัน ใส่ฟันเทียม เพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเอง ชมรมผู้สูงอายุ
2. การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายตามบทบาทหน้าที่ พัฒนาทักษะ ทันตแพทย์ / ทันตบุคลากร / บุคลากรสาธารณสุข / ชมรมผู้สูงอายุ/ อสม. / อื่นๆ 4. ลดการสูญเสียฟันก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ - พัฒนางานส่งเสริม โดย อสม. - พัฒนารูปแบบการดำเนินงานในสถานประกอบการ/ชุมชน 1. Reoriented Health Service โดยหน่วยบริการ - โครงการฟันเทียมพระราชทาน (ประมาณ 120,000 คน) - โครงการพัฒนางานทันตกรรมป้องกัน ตามชุดสิทธิประโยชน์ (21 จว. 167 หน่วยบริการ) โดยภาคประชาชน - โครงการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ 37 จว. 120 ชมรมฯ 3. การสำรวจสภาวะช่องปากกลุ่มผู้สูงอายุรายปี 5. รณรงค์สร้างกระแส - โครงการฟันเทียมพระราชทาน ร่วมกับหน่วยฯ พระราชทาน และเอกชน - “คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” และ “10 ยอดฟันดีวัย 80 ปี”
สถานการณ์สุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ การสูญเสียฟัน ฟันที่มี - ร้อยละ 92 มีการสูญเสียฟัน - ร้อยละ 8.2 สูญเสียฟันทั้งปาก และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (survey 6 ร้อยละ 10.8) ร้อยละ 96 มีฟันผุ ร้อยละ 62 มีโรคปริทันต์** ร้อยละ 20 รากฟันผุ มีโอกาสสูญเสียฟันเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ร้อยละ 31 มีการแปรงฟันตอนเช้าและก่อนนอน Ref: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 5 พ.ศ.2543-2544
สัมพันธ์กับการเกิดโรคในช่องปากและการดูแลตนเอง สุขภาพ ครึ่งหนึ่งมีโรคเรื้อรัง ที่สำคัญ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต สมองเสื่อม โรคของระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูกและข้อ สัมพันธ์กับการเกิดโรคในช่องปากและการดูแลตนเอง สาเหตุการตาย ความเสื่อมอื่น ๆ มะเร็งทุกชนิด โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง สายตาเลือนราง หูตึง ความจำ
สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์กับโรคทางระบบ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด สุขภาพฟัน สัมพันธ์กับความสุข และประสิทธิภาพ การเคี้ยวอาหาร รวมทั้ง ความมั่นใจ ในการเข้าร่วมกิจกรรมในสังคม Ref: ศ.นพ.เทพ หิมะทองคำ “ปัญหาของผู้สูงอายุมีทั้งกายและใจ” ใน มหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50 พญ.สิรินธร ฉันศิริกาญจน “สุขภาพช่องปากกับสุขภาพร่างกาย” ใน มหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50
สุขภาพช่องปากกับสุขภาพและคุณภาพชีวิต ความเจ็บปวด ไม่สบายจากฟันมีผลต่อการพักผ่อน นอนหลับ การทำงาน และการทำกิจกรรมตามปกติ การสูญเสียฟันและจำนวนฟันที่เหลือ มีผลต่อการเคี้ยวอาหาร การเลือกชนิดอาหาร ส่งผลต่อภาวะโภชนาการ ผู้สูงอายุที่มีปัญหาจากการเคี้ยวอาหารมีโอกาสเกิด underweight เป็น 3 เท่า ของผู้ที่ไม่มีปัญหา Ref: พัชราวรรณ ศรีศิลปนันทน์ ทำไมต้องดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ ในมหกรรมการประชุมวิชาการโครงการฟันเทียมพระราชทาน สค.50
ร่วมด้วยช่วยกัน
เครือข่ายวัยทำงานและผู้สูงอายุในพื้นที่ ศูนย์เขตฯ รพ. PCU ชมรม สสจ. สาธารณสุข วัด กรม/กองส่วนกลาง สำนักตรวจฯ พื้นที่ ชุมชน ศูนย์ 3 วัยฯ องค์กรฯ ท้องถิ่น สถานประกอบการ คณะทันต หน่วยพระราชทาน
Activity in Elderly Club These are activities by elderly’s club - group participation - oral health education - tooth brushing practice & plaque control - self care instrument from natural
ด้วยความขอบคุณ