ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การฝึกอบรม หมายถึง การอบรม การประชุม / สัมมนา ทางวิชาการ / เชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝึกศึกษา การดูงาน การฝึกงาน หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งทั้งในประเทศ และต่างประเทศ โดยมีโครงการ หรือหลักสูตรและช่วงเวลาจัดที่แน่นอน มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคคลหรือเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไม่มีการรับปริญญาหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ แยกเป็น 3 ประเภท
ผู้เข้ารับการอบรมเกินกึ่งหนึ่ง เป็นบุคลกรของรัฐ ทั่วไป : ทักษะพิเศษ การฝึกอบรมประเภท ก ผู้เข้ารับการอบรมเกินกึ่งหนึ่ง เป็นบุคลกรของรัฐ ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง
ผู้เข้ารับการอบรมเกินกึ่งหนึ่ง เป็นบุคลกรของรัฐ การฝึกอบรมประเภท ข ผู้เข้ารับการอบรมเกินกึ่งหนึ่ง เป็นบุคลกรของรัฐ ทั่วไป : ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น
3. การฝึกอบรมบุคคลภายนอก ผู้เข้ารับการอบรมเกินกึ่งหนึ่ง มิใช่บุคลากรขอรัฐ การฝึกอบรมบุคคลภายนอกจัดได้เฉพาะ ในประเทศเท่านั้น
บุคคลที่เบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม 1. ประธานในพิธีเปิดหรือปิดการฝึกอบรม แขกผู้มีเกียรติ และผู้ติดตาม 2. เจ้าหน้าที่ 3. วิทยากร 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 5. ผู้สังเกตการณ์ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นส่วนราชการผู้จัดเป็นผู้เบิกจ่าย การเบิกจ่ายจากส่วนราชการต้นสังกัด ให้ทำได้ เมื่อส่วนราชการผู้จัดร้องขอ และส่วนราชการต้นสังกัดยินยอม
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายในพิธีเปิด – ปิด การฝึกอบรม ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ ค่าประกาศนียบัตร ค่าถ่ายเอกสาร สิ่งพิมพ์ ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม “ ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็น เหมาะสม และประหยัด”
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสาร สำหรับผู้เข้าฝึกอบรม เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน อัตราใบละ 300.- บาท ค่าของสมนาคุณในการดูงาน เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินแห่งละ 1,500.-บาท
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม ค่าสมนาคุณวิทยากร ค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าเช่าที่พัก ค่ายานพาหนะ “ ให้เบิกจ่ายตามหลักเกณฑ์และอัตรา ตามที่กำหนดไว้ในระเบียบ ”
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม “ วิทยากรที่เกินจากที่กำหนดให้เฉลี่ยจ่าย” ค่าสมนาคุณวิทยากร หลักเกณฑ์การจ่าย บรรยาย ไม่เกิน 1 คน อภิปราย / สัมมนาเป็นคณะ ไม่เกิน 5 คน แบ่งกลุ่ม - ฝึกภาคปฏิบัติ - อภิปราย ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน - ทำกิจกรรม “ วิทยากรที่เกินจากที่กำหนดให้เฉลี่ยจ่าย”
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การนับเวลาค่าสมนาคุณวิทยากร นับตามเวลาที่กำหนดในตารางฝึกอบรม ไม่ต้องหักเวลาที่พักรับประทานอาหารว่าง แต่ละชั่วโมงการอบรมไม่น้อยกว่า 50 นาที ชั่วโมงการอบรมไม่ถึง 50 นาที แต่ไม่น้อยกว่า 25 นาที ให้เบิกค่าสมนาคุณวิทยากรได้กึ่งหนึ่ง
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร ประเภทวิทยากร อัตรา (บาท : ชั่วโมง) ประเภท ข / บุคคลภายนอก ประเภท ก 1.วิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐ ไม่เกิน 600 ไม่เกิน 800 2.วิทยากรที่มิใช่บุคลากรของรัฐ ไม่เกิน 1,200 ไม่เกิน 1,600
อัตราค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม (บาท:วัน:คน) ระดับการฝึกอบรม อัตราค่าอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม (บาท:วัน:คน) ระดับการฝึกอบรม จัดในสถานที่ของส่วนราชการ/รัฐวิสาหกิจ / หน่วยงานอื่นของรัฐ จัดในสถานที่ของเอกชน จัดครบทุกมื้อ จัดไม่ครบทุกมื้อ ฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกิน 850 ไม่เกิน 600 ไม่เกิน 1200 ฝึกอบรมประเภท ข และบุคคลภายนอก ไม่เกิน 400 ไม่เกิน 950 ไม่เกิน 700 ค่าอาหารฝึกอบรม มื้อเดียวไปไม่เกิน 150 มื้อเดียวไม่เกิน 400 อาหารว่างและเครื่องดื่ม ไม่เกิน 35 บาท / มื้อ ไม่เกิน 50 บาท / มื้อ อัตราค่าอาหารกลางวัน ในการจัดประชุม ไม่เกิน 120 บาท
ค่าเช่าที่พัก (บาท : วัน : คน) ระดับการฝึกอบรม ค่าเช่า ห้องพักเดี่ยว ค่าเช่า ห้องพักคู่ หมายเหตุ การฝึกอบรมประเภท ก และบุคคลภายนอก ไม่เกิน 2,400.-บาท ไม่เกิน 1,300.-บาท การฝึกอบรมประเภท ข และบุคคลภายนอก ไม่เกิน 1,450.-บาท ไม่เกิน 900.-บาท ให้พักรวมกันตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป(ห้องพักคู่) - ค่าเช่าที่พัก กรณีฝึกอบรมให้เบิกได้ตามที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตราที่กำหนด ไม่สามารถเบิกค่าที่พักเหมาจ่ายได้
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ - เบี้ยเลี้ยงเดินทาง - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ - ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่ายเนื่องในการเดินทาง ไปราชการ
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ สิทธิ ได้รับสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางไปราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติ อนุมัติระยะเวลาเดินทางล่วงหน้า / หลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติ ราชการตามความจำเป็น ผู้ได้รับอนุมัติ มีความจำเป็นเดินทางล่วงหน้า หรือไม่สามารถกลับเมื่อเสร็จสิ้น โดยได้รับอนุมัติให้ลากิจ / ลาพักผ่อน ต้องขออนุมัติระยะเวลาดังกล่าวในการเดินทางไปราชการ
1. อัตราคนละ 240 บาท ทั่วไป : อาวุโส ลงมา อัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ทั่วไป : อาวุโส ลงมา วิชาการ : ชำนาญการพิเศษ ลงมา อำนวยการ : ต้น หรือตำแหน่งระดับ 8 ลงมา 2. อัตราคนละ 270 บาท ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญขึ้นไป อำนวยการ : สูง ประเภทบริหาร หรือตำแหน่งระดับ 9 ขึ้นไป
การนับเวลาปฏิบัติราชการ เริ่มนับเวลาตั้งแต่ออกจากที่อยู่ หรือสถานที่ปฏิบัติราชการปกติ จนกลับถึงสถานที่อยู่ หรือที่ปฏิบัติราชการปกติ นับ 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชั่วโมง ให้นับเป็น 1 วัน กรณีไม่พักค้างแรม หากนับได้ไม่เกิน 12 ชั่วโมง แต่เกิน 6 ชั่วโมง นับเป็นครึ่งวัน กรณีเดินทางล่วงหน้าเนื่องจากลากิจ / พักผ่อน ก่อนปฏิบัติราชการ ให้นับตั้งแต่เริ่มปฏิบัติราชการ กรณีไม่เดินทางกลับหลังจากปฏิบัติราชการเสร็จสิ้น เนื่องจาก ลากิจ/พักผ่อน ให้นับถึงสิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ
ค่าเช่าที่พัก ( จ่ายจริง ไม่เกินอัตรา ) ข้าราชการ ห้องพักคนเดียว (บาท:วัน:คน) ห้องพักคู่ ตำแหน่งประเภททั่วไป : ระดับอาวุโส ลงมา ตำแหน่งประเภทวิชาการ : ระดับชำนาญการพิเศษ ลงมา ตำแหน่งประเภทอำนวยการ : ระดับต้น หรือตำแหน่งระดับ 8 ลงมา 1,500 850 ตำแหน่งประเภททั่วไป : ระดับทักษะพิเศษ ตำแหน่งประเภทวิชาการ : ระดับเชี่ยวชาญ ตำแหน่งประเภทอำนวยการ : ระดับสูง ตำแหน่งประเภทบริหาร : ระดับต้น หรือตำแหน่งระดับ 9 ขึ้นไป 2,200 1,200 ตำแหน่งประเภทวิชาการ : ระดับทรงคุณวุฒิ ตำแหน่งประเภทบริหาร : ระดับสูง หรือตำแหน่งระดับ 10 ขึ้นไป 2,500 1,400
ค่าเช่าที่พัก ห้ามเบิกกรณี - พักในยานพาหนะ - ทางราชการจัดที่พักให้ ท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูง / เป็นแหล่งท่องเที่ยว หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติ ให้เบิกเพิ่มได้ไม่เกิน 25%
ค่าพาหนะ ยานพาหนะ หมายถึง ยานพาหนะทั้งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ ยานพาหนะประจำ หมายถึง - บริการทั่วไปเป็นประจำ - เส้นทางแน่นอน - ค่าโดยสาร หรือ ค่าระวางแน่นอน หลักปกติ - ให้ใช้ยานพาหนะประจำทาง - เบิกเท่าที่จ่ายจริงและประหยัด
อัตราค่าโดยสารรถไฟ ประเภทรถด่วน หรือ ด่วนพิเศษ ชั้นที่ 1 (บนอ.ป.) ผู้มีสิทธิเบิกได้ตั้งแต่ ตำแหน่งประเภททั่วไป : ระดับชำนาญงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ : ระดับชำนาญการ หรือ ตำแหน่งระดับ 6 ขึ้นไป
อัตราค่าโดยสารเครื่องบิน ผู้มีสิทธิเบิกตั้งแต่ ตำแหน่งประเภททั่วไป : ระดับชำนาญงาน ตำแหน่งประเภทวิชาการ : ระดับชำนาญการ หรือ ตำแหน่งระดับ 6 ขึ้นไป เบิกชั้นประหยัด ตำแหน่งประเภทวิชาการ : ระดับเชี่ยวชาญ หรือ ตำแหน่งระดับซี 9 ขึ้นไป เบิกชั้นธุรกิจ
หลักฐานการเบิกค่าโดยสารเครื่องบิน กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อน ให้ใช้ใบแจ้งหนี้เป็นหลักฐานในการเบิกเงิน กรณีจ่ายเงินเงินสด ให้ใช้หลักฐาน ใบเสร็จรับเงิน และกากบัตรโดยสาร กรณีซื้อ E-Ticket ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียด การเดินทาง (Itinerary Receipt)
พาหนะส่วนตัว ต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชา ระบุทะเบียนรถ ต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชา ระบุทะเบียนรถ อัตราชดเชย รถยนต์ กม. ละ 4 บาท รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท คำนวณระยะทางตามเส้นทางกรมทางหลวง / หน่วยงานอื่น ถ้าไม่มีให้ผู้เดินทางรับรองระยะทาง
ค่าพาหนะรับจ้าง ไป-กลับ ระหว่างที่อยู่ ที่พัก กับสถานที่ปฏิบัติราชการในจังหวัด เดียวกัน วันละไม่เกิน 2 เที่ยว (สอบคัดเลือกเบิกไม่ได้) ไป-กลับ ระหว่างที่อยู่ ที่พัก หรือที่ทำงาน กับสถานียานพาหนะประจำทาง อัตราค่าพาหนะรับจ้าง ถ้าภายในจังหวัด เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ถ้าข้ามเขตจังหวัด เขตติดต่อหรือผ่าน กทม. เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินเที่ยวละ 600 บาท เขตติดต่อจังหวัดอื่น เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินเที่ยวละ 500 บาท
จบ ขอบคุณเจ้า งานการเงิน โทร.053-211048-50 ต่อ 106 , 107