งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น ๆ

2 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ทางราชการจ่ายให้แก่ ผู้เดินทางไปปฏิบัติงานนอกท้องที่ที่ปฏิบัติงานตามปกติ และเกิดค่าใช้จ่ายระหว่าง การเดินทาง เพื่อมิให้ผู้เดินทางเดือดร้อน ค่าใช้จ่ายที่ทางราชการจ่ายให้จะเป็นรายจ่าย ที่จำเป็น ซึ่งเกิดขึ้นในการเดินทาง เงินที่ทางราชการจ่ายให้นี้มิใช่ค่าตอบแทนในการทำงาน แต่เป็นค่าใช้จ่ายเพื่อให้เดินทางไปปฏิบัติราชการ

3 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางชั่วคราว
1. เบี้ยเลี้ยงเดินทาง 2. ค่าเช่าที่พัก 3. ค่าพาหนะ 4. ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปราชการ

4 ผู้มีอำนาจอนุมัติ : อนุมัติตามระยะเวลาก่อน / หลัง ตามความจำเป็น
สิทธิ : ได้รับค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติเดินทาง / ออกจากราชการ ผู้มีอำนาจอนุมัติ : อนุมัติตามระยะเวลาก่อน / หลัง ตามความจำเป็น

5 การนับเวลา (ม. 16) ตั้งแต่ออกจากที่อยู่ หรือที่ทำงานปกติ จนกลับถึงที่อยู่หรือที่ทำงานปกติ กรณีพักแรม นับ 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน กรณีไม่พักแรม เกิน 12 ชม. เป็น 1 วัน เกิน 6 ชม. นับเป็น ครึ่งวัน

6 ตัวอย่าง : นาย ข. ไปราชการกับ พนักงานขับรถยนต์ นาย ข.
06.00 18.00 12 ชม. จันทร์ จันทร์ เบี้ยเลี้ยง ½ วัน = 120 บ. พนักงานขับรถยนต์ 06.00 18.05 12 ชม. 5 นาที จันทร์ จันทร์ เบี้ยเลี้ยง 1 วัน = 240 บ.

7 อัตราค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย (ในประเทศ)
บาท:วัน ข้าราชการประเภท / ระดับ อัตรา ทั่วไป : ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น ระดับ 8 ลงมา 240 ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง ระดับ 9 ขึ้นไป 270

8 ค่าเช่าที่พัก จำเป็นต้องพักแรม ห้ามเบิก กรณี พักในยานพาหนะ
ทางราชการจัดที่พักให้

9 ค่าเช่าที่พัก อัตราค่าเช่าที่พัก เบิกได้ 2 ลักษณะ 1. ลักษณะเหมาจ่าย 2. ลักษณะจ่ายจริง ถ้า เป็นการเดินทางไปราชการเป็นหมู่คณะ ต้องเลือกเบิกค่าเช่าที่พักในลักษณะเดียวกันทั้งคณะ

10 อัตราค่าเช่าที่พัก – เลือกเบิกในลักษณะ เหมาจ่าย
บาท:วัน:คน ข้าราชการประเภท / ระดับ อัตรา ทั่วไป : ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น ระดับ 8 ลงมา 800 ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง ระดับ 9 ขึ้นไป 1,200

11 อัตราค่าเช่าที่พัก – เลือกเบิกในลักษณะ จ่ายจริง (1)
อัตราค่าเช่าที่พัก – เลือกเบิกในลักษณะ จ่ายจริง (1) บาท : วัน : คน ข้าราชการประเภท/ระดับ ห้องพัก คนเดียว ห้องพักคู่ ทั่วไป : ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ, ชำนาญการ, ชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ต้น ระดับ 8 ลงมา - ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราค่าเช่าห้องพักคนเดียว - กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะให้พักรวมกันสองคนขึ้นไปต่อหนึ่งห้อง จ่ายจริงไม่เกินอัตราห้องพักคู่ 1,500 850 อัตราห้องพักคู่ (850 x 2 = 1,700 บ.) หรือ พัก 3 คน/ 1 ห้อง (850 x 3 = 2,550 บ.) เดินทางคนเดียวเบิกได้ไม่เกิน 1,500 บ.

12 อัตราค่าเช่าที่พัก – เลือกเบิกในลักษณะ จ่ายจริง (2)
อัตราค่าเช่าที่พัก – เลือกเบิกในลักษณะ จ่ายจริง (2) บาท : วัน : คน ข้าราชการประเภท/ระดับ ห้องพัก คนเดียว ห้องพักคู่ ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง ระดับ 9 ขึ้นไป - จะเบิกในอัตราค่าเช่าห้องพักคนเดียวหรือห้องพักคู่ก็ได้ 2,200 1,200

13 ค่าพาหนะ นิยามพาหนะประจำทาง ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ
ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของ ของผู้เดินทาง วันที่ในบิลน้ำมัน นิยามพาหนะประจำทาง บริการทั่วไปเป็นประจำ เส้นทางแน่นอน ค่าโดยสาร ค่าระวางแน่นอน

14 ม.23 การเบิกค่าพาหนะรับจ้าง ข้ามเขตจังหวัด
การเดินทางข้ามจังหวัดระหว่างสถานที่อยู่ ที่พัก/ ที่ปฏิบัติราชการ กับสถานียานพาหนะประจำทาง/สถานที่จัดยานพาหนะที่ต้องใช้ในการเดินทางไปยังสถานที่ปฏิบัติราชการ และในเส้นทางนั้นไม่มียานพาหนะประจำทางให้บริการ สพป.ระนอง ค่าแท็กซี่ กทม ข้ามเขต 400 ข้ามจังหวัดระหว่าง กทม กับ จังหวัดที่มีเขตติดต่อ/ผ่าน กทม. ให้เบิก เท่าที่จ่ายจริงเที่ยวละไม่เกิน 600 บาท ข้ามจังหวัดอื่น นอกเหนือจากข้อ 1 เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง เที่ยวละไม่เกิน 500 บาท

15 เงินชดเชยให้เบิกตามเกณฑ์ที่ กค กำหนด 1. รถยนต์ส่วนบุคคล กม. ละ 4 บาท
การใช้พาหนะส่วนตัวไปราชการ จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้บังคับบัญชา จึงจะมีสิทธิเบิกเงินชดเชย เงินชดเชยให้เบิกตามเกณฑ์ที่ กค กำหนด รถยนต์ส่วนบุคคล กม. ละ 4 บาท 2. รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท ต้องได้รับอนุญาต (ถ่ายสำเนาแนบเบิก) มีกรรมสิทธิ์ในพาหนะหรือไม่ก็ได้ ชดเชยทุกอย่าง ไม่มีเส้นทางฯ (ให้ผู้เดินทางรับรองระยะทาง)

16 เอกสารประกอบการเบิกจ่าย
O สัญญายืมเงิน 2 ชุด พร้อมประมาณการค่าใช้จ่าย (กรณียืมเงิน) O บันทึกขออนุมัติยืมเงิน/ขอเบิกเงิน O สำเนาหนังสือขออนุญาตไปราชการ หรือคำสั่งให้ไปราชการ (มอบอำนาจ ที่ 1365/2560) O สำเนาการขอใช้รถยนต์ส่วนกลางไปราชการ O สำเนาการขอใช้รถยนต์ส่วนตัวไปราชการ

17 เอกสารประกอบการเบิกจ่าย
 สำเนาโครงการขออนุมัติเดินทางไปอบรม/ ประชุม/สัมมนา ที่ผ่านการอนุมัติแล้ว  กำหนดการของโครงการ/กำหนดการประชุม/ตารางการอบรม  ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ (แบบ 8708) เพื่อเบิก ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ค่าเช่าที่พัก ค่าพาหนะ ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ  ใบเสร็จรับเงิน ค่าที่พัก และใบแจ้งรายการของโรงแรม Folio  ใบเสร็จรับเงินค่าน้ำมันเชื้อเพลิง + ใบเสร็จค่าผ่านทางด่วน (กรณีใช้รถราชการ)

18 ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
สัญญายืมเงินเลขที่ (1) วันที่ ส่วนที่ 1 ชื่อผู้ยืม จำนวนเงิน บาท แบบ 8708 ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ที่ทำการ (2) วันที่ เดือน (3) พ.ศ. เรื่อง ขออนุมัติเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ เรียน (4) ตามคำสั่ง/บันทึก ที่ (5) ลงวันที่ ได้อนุมัติให้ ข้าพเจ้า (6) ตำแหน่ง สังกัด พร้อมด้วย (7) เดินทางไปปฏิบัติราชการ (8) โดยออกเดินทางจาก บ้านพัก สำนักงาน ประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ เดือน (9) พ.ศ เวลา น. และกลับถึง บ้านพัก สำนักงาน ประเทศไทย วันที่ เดือน พ.ศ เวลา น. รวมเวลาไปราชการครั้งนี้ วัน ชั่วโมง

19 ส่วนที่ 1 (ต่อ) ข้าพเจ้าค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ข้าพเจ้าขอเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการสำหรับ ข้าพเจ้า คณะเดินทาง ดังนี้ (10) ค่าเบี้ยเลี้ยงเดินทางประเภท จำนวน วัน รวม บาท ค่าเช่าที่พักประเภท จำนวน วัน รวม บาท ค่าพาหนะ รวม บาท ค่าใช้จ่ายอื่น รวม บาท รวมเงินทั้งสิ้น บาท จำนวนเงิน (ตัวอักษร) ข้าพเจ้าขอรับรองว่ารายการที่กล่าวมาข้างต้นเป็นความจริง และหลักฐานการจ่ายที่ส่งมาด้วย จำนวน (11) ฉบับ รวมทั้งจำนวนเงินที่ขอเบิกถูกต้องตามกฎหมายทุกประการ ลงชื่อ ผู้ขอรับเงิน ( ) ตำแหน่ง

20 ได้ตรวจสอบหลักฐานการเบิกจ่ายเงินที่แนบถูกต้องแล้ว
เห็นควรอนุมัติให้เบิกจ่ายได้ ลงชื่อ (12) ( ) ตำแหน่ง วันที่ อนุมัติให้จ่ายได้ ลงชื่อ (13) ( ) ตำแหน่ง วันที่ ได้รับเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ จำนวน (14) บาท ( ) ไว้เป็นการถูกต้องแล้ว. ลงชื่อ (15) ผู้รับเงิน ( ) ตำแหน่ง วันที่ ลงชื่อ (16) ผู้จ่ายเงิน ( ) ตำแหน่ง วันที่ จากเงินยืมตามสัญญาเลขที่ วันที่ หมายเหตุ (17)

21 หลักฐานการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ
ส่วนที่ 2 ข้าพเจ้าค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ชื่อส่วนราชการ จังหวัด แบบ 8708 ประกอบใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางของ ลงวันที่ เดือน พ.ศ. ลำดับ ชื่อ (18) ตำแหน่ง (19) ค่าใช้จ่าย (20) รวม ลายมือชื่อ วันเดือนปี หมายเหตุ ที่ ค่าเช่าที่พัก ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ค่าใช้จ่ายอื่น (21) ผู้รับเงิน (22) ที่รับเงิน (23) รวมเงิน (25) ตามสัญญาเงินยืมเลขที่ (24) วันที่ จำนวนเงินรวมทั้งสิ้น (ตัวอักษร) (26) ลงชื่อ (27) ผู้จ่ายเงิน ( ) ตำแหน่ง วันที่

22 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2549 แก้ไข (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2555

23 นิยาม การฝึกอบรม อบรม ประชุม / สัมมนา (วิชาการเชิงปฏิบัติการ)
นิยาม การฝึกอบรม อบรม ประชุม / สัมมนา (วิชาการเชิงปฏิบัติการ) บรรยายพิเศษ ฝึกศึกษา ฝึกงาน การดูงาน มีโครงการ / หลักสูตร ซึ่งมีช่วงเวลาจัดที่แน่นอน วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากร /เพิ่มประสิทธิ ภาพในการปฏิบัติงาน ไม่มีการรับปริญญา / ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ไม่ใช่หลักสูตรการเรียนการสอน ไม่ใช่การประชุมหารือ ประชุมทำงาน

24 การฝึกอบรมบุคคลภายนอก
ประเภทการฝึกอบรม การฝึกอบรมประเภท ก. การฝึกอบรมประเภท ข. การฝึกอบรมบุคคลภายนอก

25 ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมในประเทศ
ตามหนังสือ สพฐ. ว2812 ลว.29 ก.ย.2557 เริ่มใช้ ปีงบ 2558 จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด (10 รายการ) 1.ค่าใช้จ่ายในพิธีเปิด-ปิด การฝึกอบรม 2.ค่าวัสดุ เครื่องเขียนและอุปกรณ์ 3.ค่าประกาศนียบัตร 4.ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสาร สิ่งพิมพ์ 5.ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 6.ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร 7.ค่าสมนาคุณในการดูงาน (จ่ายจริง ไม่เกิน 1,500 บาท) 8. ค่าสมนาคุณวิทยากร 9. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10.ค่ายานพาหนะ

26 ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมในประเทศ
ตามหนังสือ สพฐ. ว2812 ลว.29 ก.ย.2557 เริ่มใช้ปีงบ 2558 จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่ สพฐ.กำหนด (3 รายการ) 1.ค่ากระเป๋า สิ่งที่บรรจุเอกสาร (ไม่เกินใบละ 200 บาท) 2. ค่าที่พัก 3.ค่าอาหารสำหรับฝึกอบรม รายการที่ควรหลีกเลี่ยง หรืองดเบิก 1.ค่าใช้สถานที่ 2.ค่าเช่าอุปกรณ์ หรือค่าเช่าสถานที่จัดฝึกอบรม

27 ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมของผู้จัด
ค่าใช้จ่ายที่ไม่ต้องดำเนินการตาม พ.ร.บ.การจัดซื้อจัดจ้าง 1. ค่าอาหาร 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 3. ค่าเช่าที่พัก หลักฐานการจ่าย ใบเสร็จรับเงิน/ใบรับรองการจ่ายเงิน/ใบสำคัญรับเงิน

28 อัตราค่าสมนาคุณวิทยากร
ประเภทวิทยากร อัตรา (บาท:ชั่วโมง) การฝึกอบรมประเภท ก การฝึกอบรมประเภท ข และบุคคลภายนอก วิทยากรเป็น บุคลากรของรัฐ ไม่เกิน 800 ไม่เกิน 600 วิทยากรที่ไม่ใช่ ไม่เกิน 1,600 ไม่เกิน 1,200 หากมีความจำเป็นต้องจ่ายสูงกว่ากำหนดเนื่องจากวิทยากรมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ เป็นพิเศษให้อยู่ในดุลพินิจ หน.ส่วนราชการ

29 หลักเกณฑ์การจ่ายค่าวิทยากร หากวิทยากรเกินกว่าที่กำหนดให้เฉลี่ยจ่าย
บรรยาย ไม่เกิน 1 คน อภิปราย/สัมมนาเป็นคณะ ไม่เกิน 5 คน แบ่งกลุ่ม - ฝึกปฏิบัติ - อภิปราย - ทำกิจกรรม ไม่เกินกลุ่มละ 2 คน หากวิทยากรเกินกว่าที่กำหนดให้เฉลี่ยจ่าย

30 ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมในประเทศ ค่าที่พัก จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่ สพฐ.กำหนด
ค่าที่พัก จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่ สพฐ.กำหนด

31 ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมในประเทศ ค่าอาหาร จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่ สพฐ.กำหนด

32 ค่าใช้จ่ายฝึกอบรมในประเทศ
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงไม่เกินอัตราที่กระทรวงการคลังกำหนด

33 อัตราตามมาตรการประหยัดของ สพป.ระนอง
เริ่มใช้ปีงบประมาณ 2561 รายการ สถานที่ราชการ สถานที่เอกชน ค่าอาหาร ไม่เกิน 100 ไม่เกิน 120 อาหารว่างและเครื่องดื่ม ไม่เกิน 30 ไม่เกิน 50

34 การคิดเบี้ยเลี้ยง ในการฝึกอบรม
ให้นับตั้งแต่เวลาที่เดินทางออกจากสถานที่อยู่หรือสถานที่ ที่ปฏิบัติราชการปกติจนกลับถึงสถานที่อยู่ หรือสถานที่ปฏิบัติ ราชการปกติ แล้วแต่กรณี โดยให้นับ 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน ถ้าไม่ ถึง 24 ชั่วโมง หรือเกิน 24 ชั่วโมง และส่วนที่ไม่ถึง 24 ชั่วโมง หรือเกิน 24 ชั่วโมงนั้น ถ้าเกินกว่า 12 ชั่วโมง ให้ถือเป็น 1 วัน แล้วนําจํานวนวันทั้งหมดมาคูณกับอัตราเบี้ยเลี้ยงเดินทาง ในกรณีที่ผู้จัดการฝึกอบรมจัดอาหารบางมื้อในระหว่างการฝึก อบรม ให้หักเบี้ยเลี้ยงในอัตรามื้อละ 1 ใน 3 ของอัตราเบี้ยเลี้ยง

35 การคิดเบี้ยเลี้ยง ในการฝึกอบรม
ตัวอย่าง นางสาว ก ตำแหน่งครูผู้ช่วย ออกเดินทางจากบ้านพัก วันที่ 7 ก.ค เวลา น. เพื่อเข้ารับการฝึกอบรมฯ ระหว่างวันที่ ก.ค เปิดการฝึกอบรมและเริ่มการ ลงทะเบียนวันที่ 8 ก.ค.2561 เวลา 8.30 น. และปิดการอบรม วันที่ 10 ก.ค.2561 เวลา น. เดินทางกลับถึงบ้านพักวันที่ 11 ก.ค.2561 เวลา น. ในระหว่างการอบรมมีการเลี้ยง อาหารกลางวัน 1 มื้อ ทุกวัน

36 การคิดเบี้ยเลี้ยง ในการฝึกอบรม
คำนวณเบี้ยเลี้ยงดังนี้ วันที่ 7 ก.ค เวลา น. - วันที่11 ก.ค.2561 เวลา น. = 3 วัน 12 ชม. 15 นาที คิดเป็นจำนวน วัน เบี้ยเลี้ยงทั้งหมด (4 x 240) = บาท หัก ค่าอาหารที่ผู้จัดเลี้ยง 3 มื้อ (3 x 80) = บาท รวม เบิกเบี้ยเลี้ยงทั้งสิ้น (960 – 240 ) = บาท

37 เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม

38 เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม

39 เอกสารประกอบการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม

40 ค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ
ความหมาย คือการประชุมราชการในเนื้องานที่เกี่ยวข้องภารกิจงานตามอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน ซึ่งมีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมกันสื่อสาร แสดงความคิดเห็น ปรึกษาหารือกระทำกิจกรรม ให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง (รวมถึงการประชุมราชการทางไกลผ่านดาวเทียม)

41 ค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม -สถานที่ราชการ ไม่เกิน 35 บาท : มื้อ : คน -สถานที่เอกชน ไม่เกิน 50 บาท : มื้อ : คน ค่าอาหารในการประชุม (กรณีกำหนดการประชุม คาบเกี่ยวกับมื้ออาหาร -ค่าอาหารไม่เกิน 120 บาท : มื้อ : คน

42 ค่าใช้จ่ายในการประชุมราชการ
เอกสารประกอบการเบิกจ่าย 1.หนังสืออนุมัติให้จัดประชุมราชการ 2. วาระการประชุม 3.หนังสือเชิญประชุมราชการ/กำหนดการ 4.ใบเสร็จ หรือใบสำคัญรับเงิน 5.บัญชีลงเวลาในการประชุม 6. รายงานการประชุม

43 ค่าพาหนะรับ – ส่งนักเรียน
การเบิกจ่ายค่าพาหนะรับ – ส่งนักเรียน ปฏิบัติได้ 2 วิธีคือ 1. จ่ายเงินสดให้นักเรียนโดยตรง 2. จ้างพาหนะรับ-ส่งนักเรียน (จัดทำเอกสารจัดซื้อจัดจ้างตาม พรบ.การจัดซื้อ จัดจ้างฯ พ.ศ.2560)

44 ค่าพาหนะรับ – ส่งนักเรียน การจ่ายเงินสดให้นักเรียนโดยตรง
เอกสารประกอบการเบิกจ่าย 1. หนังสือนำส่ง 2. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจ่ายเงิน (ไม่น้อยกว่า 3 คน) 3. ใบสำคัญรับเงินค่าพาหนะรับ-ส่ง นร. 4. บัญชีรายชื่อนักเรียนที่ได้รับเงินค่าพาหนะ

45 จบการนำเสนอ สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ค่าใช้สอย หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค สื่อสารและโทรคมนาคม) รายจ่ายที่เกี่ยวกับการรับรองและพิธีการ และรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google