เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทำไมต้องเร่งรัดการควบคุมวัณโรคต่อไป (2553)
Advertisements

ผลการคัดกรอง ค้นหาวัณโรค อำเภอ (ณ ตค. -31 มีค. 2552)
การรักษาวัณโรคดื้อยาหลายขนาน
other chronic diseases
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552 ชื่อ ……… นามสกุล ……… สถานบริการ ………………
How community involve in TB detection and care ยุทธิชัย เกษตร เจริญ พบ. นายแพทย์ ทรงคุณวุฒิ ผอ. สำนักวัณ โรค ( การสัมมนาวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2553 กรมควบคุมโรค.
Lll-3 การวางแผน.
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
หนังสือคู่มือของบริษัท เพิ่มสัญลักษณ์ของบริษัทที่นี่ เพื่อที่จะแทรกสัญลักษณ์ ของบริษัท ลงบน ภาพนิ่งนี้ จากเมนู ‘ แทรก ’ ให้เลือก ‘ รูปภาพ ’ ระบุตำแหน่งแฟ้ม.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
แผนยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๔
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
Hospital Presentation นพ.ชัยวัฒน์ พงศ์ทวีบุญ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
สถานการณ์วัณโรคในพื้นที่เขตบริการสุขภาพที่ 4
ชี้แจง ตัวชี้วัดการดำเนินงานควบคุมวัณโรค สำหรับโรงพยาบาล
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
TBCM Online.
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2559 ตุลาคม 2558 – กันยายน 2559
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานควบคุมวัณโรค จังหวัดพิจิตร ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2560 – 26 มีนาคม /01/62.
AIDs/ STI/ TB/ Leprosy/ Hepatitis
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรค (งานโรคติดต่อ).
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้ ประเภทที่ 2 กระบวนการปฏิบัติงานในวงจรรายได้สำหรับการขายสด พนักงานก็จำทำการบันทึกข้อมูลการรับชำระเงินค่าสินค้า โดยในขั้นตอนนี้แบ่งออกได้
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
การกระจายของโรคในชุมชน
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
สถานการณ์วัณโรค จังหวัดมหาสารคาม
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
ทักท้วงจากสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คำขวัญอำเภอเมืองเชียงใหม่
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2561
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 7
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
การจัดระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ต้องขังในเรือนจำ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
อัตราความสำเร็จการรักษา ผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอแม่ทา
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปีงบประมาณ 2560
อุทธรณ์,ฎีกา.
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
ตัวชี้วัดด้านวัณโรค รอบ NFM หน่วยงาน สสจ.ชียงใหม่
การตรวจราชการและนิเทศงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เป้าหมาย มาตรการ และชุดกิจกรรม แผนงานควบคุมวัณโรค สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019 www.tbthailand.org

ประเด็นปัญหา “อุบัติการณ์วัณโรคของประเทศไทยลดลงน้อยมากที่ผ่านมา” 4/4/2019 www.tbthailand.org

จะลดผู้ป่วยใหม่ ลดตายได้ต้อง… Ref.: The Global Plan to End TB “The Paradigm Shift” 2016-2020,WHO 2015 4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

ภาพแสดงจำนวนคาดประมาณผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำเปรียบเทียบจำนวนที่ได้รับรายงานของประเทศไทย Where are they? Who they are? Why are they missing? แหล่งข้อมูล :สำนักวัณโรค/WHO 4/4/2019 www.tbthailand.org

ผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคของประเทศไทย ปี 2552-2558 ไม่ได้ประเมิน โอนออกไม่ทราบผล ไม่มาตามนัด ตาย ล้มเหลว รักษาสำเร็จ(รักษาหายและกินยาครบ) แหล่งข้อมูล : สำนักวัณโรค กรมควบคุมโรค 4/4/2019 www.tbthailand.org

การติดตามประเมินผลผ่านระบบเฝ้าระวังฯ(โปรแกรม TBCM online) เป้าหมาย ประเทศ 20 ปี ตัวชี้วัดเพื่อการลดโรค มาตรการ ชุดกิจกรรม พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ต้องขังเรือนจำ ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้สัมผัสใกล้ชิด กลุ่มเสี่ยงวัณโรค ดื้อยา เด็กสัมผัสอายุ <5 ปี 1. ร้อยละความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (Treatment Coverage) คัดกรองเชิงรุกกลุ่มเสี่ยงวัณโรค ส่งทดสอบความไวต่อยาในผู้ป่วย วัณโรคที่เสี่ยงต่อการดื้อยา ค้นหาผู้ติดเชื้อวัณโรค ค้นหา ข้อมูลปัจจุบัน 172 (2559) Q-Finding 5 ปี 88 (2563) ให้ยาป้องกันวัณโรคในเด็กสัมผัส วัณโรค ให้ยาป้องกันวัณโรคในผู้ติดเชื้อ เอชไอวี จัดระบบป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในสถานพยาบาลและชุมชน เด็กสัมผัสวัณโรค <5 ปี ผู้ติดเชื้อ เอชไอวี โรงพยาบาลทุกแห่ง ชุมชนหรือครัวเรือนที่มีผู้ป่วยวัณโรคเสมหะพบเชื้อและวัณโรคดื้อยา ป้องกัน 5 ปี 2. อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (Treatment success) Q-Preventing 30 (2568) 5 ปี ให้ยารักษาตามมาตรฐาน รักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานด้วยสูตรยาระยะสั้น ดูแลรักษาโดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient Centered Care)/eDOT กำกับติดตามผลการรักษาทุกราย การช่วยเหลือทางสังคม อำเภอเมือง/กทม โรงพยาบาลที่ผลสำเร็จการรักษาวัณโรคใหม่ และกลับเป็นซ้ำต่ำกว่า 80% รพ.รัฐนอกสังกัด สป.สธ. รพ.เอกชน 20 (2573) ดูแลรักษา 5 ปี Q-Caring 10 (2578) การติดตามประเมินผลผ่านระบบเฝ้าระวังฯ(โปรแกรม TBCM online) 4/4/2019 www.tbthailand.org

การติดตามประเมินผลผ่านระบบเฝ้าระวังฯ(โปรแกรม TBCM online) เป้าหมาย ประเทศ 20 ปี ตัวชี้วัดเพื่อการลดโรค มาตรการ ตัวชีวัดมาตรการ 1. ร้อยละความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (Treatment Coverage) จำนวนประชากรกลุ่มเสี่ยงเป้าหมายได้รับการคัดกรองเชิงรุกด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก ร้อยละผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษาวัณโรคมาก่อนมีผลตรวจทดสอบความไวต่อยาวัณโรค ค้นหา ข้อมูลปัจจุบัน 172 (2559) Q-Finding 5 ปี 88 (2563) ร้อยละของเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีซึ่งอยู่ร่วมบ้านกับผู้ป่วยวัณโรค ได้รับยารักษาการติดเชื้อวัณโรคระยะแฝงตามแนวทางการรักษาวัณโรคในเด็กของประเทศไทย ร้อยละของผู้ต้องขังในเรือนจำที่ติดเชื้อ HIV ได้รับยารักษา วัณโรคระยะแฝง ป้องกัน 5 ปี 2. อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (Treatment success) Q-Preventing 30 (2568) 5 ปี 20 (2573) ดูแลรักษา อัตราตายของผู้ป่วยวัณโรคลดลง 5 ปี Q-Caring 10 (2578) การติดตามประเมินผลผ่านระบบเฝ้าระวังฯ(โปรแกรม TBCM online) 4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019

4/4/2019

กรอบแนวคิด:ค้นให้พบ จบด้วยหาย เขต.10 อุบล การค้นหาเชิงรุก,การสื่อสาร GAP= 2,320 ราย 5,764ราย/ปี (MDR-TB 50+) ผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับรายงาน ผู้ป่วยวัณโรคมารับบริการและได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ถูกรายงาน ผู้ป่วยวัณโรคมารับบริการแต่ไม่ได้รับการวินิจฉัย ผู้ป่วยวัณโรคไม่เข้าสู่ระบบบริการ ประชาชนในชุมชน, รจ. การค้นหาเชิงรุก,การสื่อสาร 4,880ราย/ปี ผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับรายงาน ผู้ป่วยวัณโรคมารับบริการและได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ถูกรายงาน ผู้ป่วยวัณโรคมารับบริการแต่ไม่ได้รับการวินิจฉัย ผู้ป่วยวัณโรคเข้าสู่ระบบบริการแต่เจ้าหน้าที่ไม่คัดกรอง มารพ.มีอาการแต่ไม่ถูกคัดกรอง พัฒนาระบบคัดกรองใน รพ. TB 7,200 ราย กลุ่มมารพ.ได้คัดกรองแต่ตรวจAFB neg พัฒนาคุณภาพการวินิจฉัย, X-pert,PCR 4,470ราย/ปี DR=57% (MDR-TB 40) ถูกวินิจฉัย ไม่ถูกขึ้นทะเบียน เสียชีวิตก่อน ติดตามนิเทศ/ระบบบันทึกและรายงาน/ขึ้นทะเบียน/ระบบข้อมูล online สิ้นปีงบประมาณ 2558 พื้นที่สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 อุบลราชธานีพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ทุกประเภท จำนวน 4,470 คน Incidence rate 98/แสนประชากร Case detection rate 57% (จากค่าประมาณการจะมีผู้ป่วย 7,900 คน) ยังมีผู้ป่วยที่ต้องค้นหากว่า 3,430 คน กลุ่มที่ถูกขึ้นทะเบียน DR=68% พัฒนาคลินิกวัณโรคคุณภาพ พัฒนาการตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง MDR

เป้าหมายและผลการค้นหาวัณโรคเชิงรุก เขต 10 82% 59% 58% 56% 43% ที่มา http://www.tbthailand.org/data

รูปแสดงร้อยละความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทที่ขึ้นทะเบียนรักษา ปีงบประมาณ 2558 จำแนกรายเขตสุขภาพ ค่าเป้าหมายปี 2560 ข้อมูล : รายงานผลการดำเนินงานวัณโรค กรมควบคุมโรค (www.tbthailand.org/data)

ผลการดำเนินงานรอบ 8 เดือน เขตสุขภาพที่ 10 ปี 2560

ผลการค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ 18 พ.ค.2560, N=2,693 ความเสี่ยง จำนวน (ร้อยละ) ผู้สัมผัส 1793 (67%) ประชากรกลุ่มเสี่ยง 570 (22%) -สูงอายุ 360 (63%) -ชุมชนแออัด 96 (16.84%) -เรือนจำ 12 (2%) โรคเรื้อรัง 287 (11%) -DM 132 (46%) -HIV 108(38%) -COPD 16 (6%) -Alcohol 9 (3.14%) ผู้สัมผัส MDR TB 37 (1.4%) ที่มา : Program TBCM

Out come 1 ต.ค. 58-18 พ.ค. 59 N=3,698 ผลการรักษา จำนวน ร้อยละ หาย+ครบ 3,240 87 กำลังรักษา 50 1.3 ตาย 298 10.12 -อายุ>65 ปี 174(60%) -DM 34(11%) -HT 31(10%) -CKD 19(6.3%) -COPD 12(4%) ที่มา : Program TBCM

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

4/4/2019 www.tbthailand.org

โอกาสการตรวจพบวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงต่างๆ ประชากร อัตราป่วยต่อแสนประชากรต่อปี ตรวจ 1,000 ราย ป่วย ไม่ป่วย ปชก.ทั่วไป 171 2 998 ผู้ป่วยเบาหวาน 3X 6 996 ผู้สูงอายุ 4X 8 992 ผู้ต้องขังในเรือนจำ 7-10X 20 980 ผู้สัมผัส 100X 100 900 ที่มา : สำนักวัณโรค 2559

ตัวชี้วัด

TB เร่งรัดการค้นหา วินิจฉัย และรายงานให้มีความครอบคลุมการรักษา (Treatment Coverage) 1.1 ร้อยละความครอบคลุมการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ร้อยละ 80 (90,443 ราย) ร้อยละ 82.5 (93,269 ราย) ร้อยละ 85 (96,096 ราย) ร้อยละ 87.5 (98,922 ราย) ร้อยละ 90 (101,748 ราย) 2. รักษาผู้ป่วยวัณโรคที่ตรวจพบทุกรายด้วยแนวทางการดูแลผู้ป่วย เป็นศูนย์กลาง (Treatment Success) 2.1 อัตราความสำเร็จการรักษาวัณโรคผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ (แจกเป้าให้ สคร. และจังหวัด) ≥ 85 86 87 88 90 ** รายละเอียดการแจกเป้าให้ สคร. และจังหวัดอยู่ในเอกสารประกอบการประชุมฯ

เขตสุขภาพที่ 10