PMS : Performance Evaluation (การประเมินผลการปฏิบัติงาน)
PMS : Performance Evaluation (การประเมินผลการปฏิบัติงาน) ชี้ประเด็นให้ชัด อธิบายถึงผลการปฏิบัติงานของพนักงานเทียบกับเป้าหมายที่ได้ตกลงร่วมกันไว้ ยังมีอะไรที่ต้องปรับปรุง หรือพัฒนา เน้นย้ำถึงเป้าหมายของหน่วยงานเพื่อให้พนักงานเข้าใจว่าทำไมต้องแก้ไขการปฏิบัติงานที่ยังเป็นปัญหา เน้นจุดสนใจไปที่ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน ไม่เน้นที่ตัวพนักงาน หากการจดบันทึกทำให้พนักงานไม่สะดวกใจ อาจดำเนินการสรุปประเด็นหลังการพูดคุยเสร็จสิ้นก็ได้ ให้คำชี้แนะ เรื่องการพัฒนา หรือ การฝึกอบรมที่ต้องการเพื่อพัฒนาทักษะ การจูงใจและการสร้างความมั่นใจ เตรียมตัวอย่างการปฏิบัติงานที่ดีและที่เป็นปัญหาที่ชัดเจนและเฉพาะเจาะจง สร้างบรรยากาศการสนทนาแบบเปิดใจ เลือกข้อมูลที่จะบอกเล่าให้แก่พนักงาน คุณไม่จำเป็นต้องอธิบายจุดอ่อนหรือข้อผิดพลาดทั้งหมดของพนักงาน สรุปประเด็นการพูดคุย อะไรคือสิ่งที่ได้จากการประชุม ประเด็นที่ได้ตกลงร่วมกัน การดำเนินการในขั้นตอนต่อไป ถามข้อเสนอแนะจากพนักงานสำหรับแนวทางที่จะดำเนินการประชุมให้ดีขึ้นในอนาคต
PMS : Performance Evaluation (การประเมินผลการปฏิบัติงาน) สำหรับผลการปฏิบัติงานที่ดี หรือยอดเยี่ยม สำหรับการปฏิบัติงานที่ต้องการให้ปรับปรุงหรือแก้ไข ต้องมั่นใจว่ามีรายละเอียดสนับสนุนการกล่าวอ้างเช่นนั้น ยิ่งมีคำติชมที่เฉพาะเจาะจงได้เท่าไร พนักงานก็จะยิ่งปฏิบัติพฤติกรรมที่ดีหรือพฤติกรรมที่ถูกต้องบ่อยครั้งและปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นไปอีก ชี้ให้เห็นความความสัมพันธ์ของพฤติกรรม ทัศนคติ และ ผลการปฏิบัติงาน ถามตัวเองว่ามีอะไรที่คุณยังไม่ได้ทำ หรือ ทำได้ไม่ชัดเจน ในการส่งเสริมพนักงานในการปฏิบัติงานบ้าง ความคาดหวัง หรือแนวทางการทำงานที่ไม่ชัดเจนหรือไม่ ? การสนับสนุนหรือทรัพยากรที่ไม่เพียงพอหรือไม่ ? พนักงานขาดทักษะหรือประสบการณ์ในการดำเนินการงานนั้น ๆ หรือไม่? พนักงานขาดแรงจูงใจหรือไม่? พนักงานไม่ค่อยเชื่อมั่นในตนเองหรือไม่?
บริหารพนักงานผู้มีผลการปฏิบัติงานต่ำ และ การปรับปรุงการปฏิบัติงาน (Individual Improvement Plan) ทบทวนเป้าหมาย และมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เคยแนะนำในช่วงการติดตามผลการปฏิบัติงาน พิจารณาเรื่องที่พนักงานเคยเสนอไว้ เช่น โอกาสในการพัฒนา อุปสรรค หรือความต้องการในการฝึกอบรม กำหนดวิธีการที่จะช่วยปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งมาตรฐานการวัดผลงานด้วย กำหนดช่วงเวลาของแผนการปรับปรุงผลการปฏิบัติงานครั้งแรก (ไม่น้อยกว่า 1 เดือน และไม่ควรเกิน 3 เดือน) พนักงานตกลงที่จะปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงการปฏิบัติงาน ทบทวนขั้นตอนต่าง ๆ กับพนักงานอีกครั้ง และแจ้งให้พนักงานทราบอย่างชัดเจนว่า หากผลของการปรับปรุงการปฏิบัติงาน ยังไม่เป็นไปตามที่คาดหวัง หรือไม่บรรลุผลสำเร็จ จะมีการดำเนินการอย่างไรบ้าง ได้แก่ โอนย้าย หรือเลิกจ้าง เป็นต้น ติดตามผลการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ และบันทึกผลการติดตาม ทบทวน ปรับเปลี่ยนแผนการปรับปรุงการปฏิบัติงาน หากจำเป็น
บริหารพนักงานผู้มีผลการปฏิบัติงานต่ำ และ การปรับปรุงการปฏิบัติงาน (Individual Improvement Plan) จากผลของการติดตามความก้าวหน้านี้ จะใช้ตัดสินขั้นตอนต่อไปของความก้าวหน้าในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน ทางเลือกในการพิจารณา ร่วมกันหารือในการปรับแผนการปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน ขยายระยะเวลาของแผนการปรับปรุงผลการปฏิบัติงานครั้งแรก กำหนดวันประเมินผลการปฏิบัติงานขั้นสุดท้าย พิจารณาทบทวน ติดตามความก้าวหน้าของพนักงานว่าเป็นไปตามสิ่งที่คาดหวังให้ปรับปรุงหรือไม่ จากผลของการติดตามความก้าวหน้าและการปรึกษากับฝ่ายทรัพยากรบุคคลและผู้บังคับบัญชาระดับสูงกว่า แล้วตัดสินใจในขั้นต่อไปของการปรับปรุงการปฏิบัติงาน ขยายระยะเวลาของแผนการปรับปรุงผลการปฏิบัติงานครั้งสุดท้าย พิจารณาโอนย้ายไปยังงานที่เหมาะสม พิจารณาเลิกจ้าง
PMS : Performance Evaluation (การประเมินผลการปฏิบัติงาน) กลุ่มพนักงาน PMS น้ำหนัก ผู้ประเมิน ผู้บังคับ บัญชา ตนเอง ผู้ใต้บังคับ เพื่อนร่วมงาน ลูกค้า พนักงานระดับบริหารหรือเทียบเท่า : Band D – F ดำเนินการที่ BSC System เป้าหมายการปฏิบัติงาน 70% 100% Yes No NA Part II : Core Values ค่านิยมหลักขององค์กร 30% 80% 20% Part III : Individual Development Plan แผนการพัฒนาตนเอง - พนักงานระดับปฏิบัติการ : Band A – C Part I : Individual Business Target เป้าหมายการปฏิบัติงาน ~4 - 6 เป้าหมาย Part IV : Popular Vote การจัดลำดับเพื่อนร่วมงาน น้ำหนัก 20% ที่ลูกน้องประเมินให้หัวหน้ามีหลักเกณฑ์ดังนี้ สำหรับพนักงานที่มีเพื่อนร่วมงานในทีมงานเดียวกันมากกว่า 3 คน ผล Popular Vote จะถูกรวบรวมนำเสนอผู้บังคับบัญชาในอีกลำดับขั้นหนึ่งเพื่อประกอบการพิจารณา จะต้องเป็นลูกน้องที่รายงานตรงเท่านั้น เฉพาะหน่วยงานที่มีลูกน้องโดยตรงมากกว่า 3 คน หากมีลูกน้องน้อยกว่า 3 คน จะโอนน้ำหนักส่วนนี้ไปให้ผู้บังคับบัญชาของหัวหน้าเป็น 100% หากมีลูกน้องมากกว่า 3 คน แต่ลูกน้องประเมินไม่ครบ 3 คน คะแนนในส่วนนี้จะเป็น 0
PMS : Performance Evaluation (การประเมินผลการปฏิบัติงาน) การประเมินผลการปฏิบัติงาน : ใครเป็นผู้ประเมิน?
การจัดลำดับให้เพื่อนร่วมงาน เฉพาะพนักงานกลุ่มปฏิบัติการ ที่มีเพื่อนร่วมงานในทีมงานเดียวกันมากกว่า 3 คน ให้จัดลำดับเพื่อนร่วมงานในทีมที่ชื่นชอบ ยกเว้นตัวพนักงานผู้โหวต ผล Popular Vote จะถูกรวบรวมนำเสนอผู้บังคับบัญชาในอีกลำดับขั้นหนึ่งเพื่อประกอบการพิจารณา
PMS : Performance Evaluation (การประเมินผลการปฏิบัติงาน) พนักงาน Band A - F A+ A B+ B C D
Individual Relative Performance การประเมินผลงานเปรียบเทียบกับกลุ่ม และการแบ่งกลุ่มพนักงานตามผลการปฏิบัติงานตามสัดส่วนร้อยละที่บริษัทกำหนด ผลการปฏิบัติงาน : ผู้บริหาร (Mgr - DD) : ใช้ Balanced Scorecard พนักงาน : ใช้ Individual Business Targets HiPo / Talent น้ำหนัก 70% ปฏิบัติการ บริหาร Excellent/ Exceed (8,9,10) Excellent (9,10) (7,8) Meets (4,5,6,7)(5,6) Below (1,2,3) (3,4) Un – Acceptable (1,2) แบ่งกลุ่มพนักงานตามผลการปฏิบัติงานโดยปรียบเทียบกับพนักงานในกลุ่มงานเดียวกัน Individual Relative Performance A+ A B+, B C D <=5% <=20% =>60% ค่านิยมหลักขององค์กร Core Values Consistently Modeled Never น้ำหนัก 30%
- ตัวอย่าง - นำผลการปฏิบัติงานประจำปีไปใช้ การขึ้นเงินเดือนประจำปี การคำนวณงบประมาณ เงินเดือน ณ วันที่ 31 ธันวาคม (คิดตามสัดส่วนของเวลาทำงานงานตั้งแต่ วันที่เริ่มงาน ถึง 31 ธันวาคม ของปีนั้น) แนวทางการพิจารณา ตาม ระดับผลงาน และ ตาม เงินเดือนปัจจุบันเทียบกับ Midpoint - ตัวอย่าง -
นำผลการปฏิบัติงานประจำปีไปใช้ การจ่ายเงินตอบแทนผลการปฏิบัติงานประจำปี - ตัวอย่าง -
PMS : Performance Evaluation (การประเมินผลการปฏิบัติงาน) สรุปขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงาน พูดคุยเพื่อทบทวนผลการปฏิบัติงาน พฤติกรรมในการทำงานและผลการพัฒนาของพนักงาน ประเมินตนเองทั้งผลงานและพฤติกรรม จัดลำดับเพื่อนร่วมงาน (เฉพาะพนักงานกลุ่มปฏิบัติการ) บันทึกเป้าหมายและแผนพัฒนาตนเอง ในระบบ PMS รวบรวมข้อมูลและประเมินผลการปฏิบัติงาน, พฤติกรรมของพนักงาน บันทึกผลงานพนักงานในระบบ PMS พิจารณาระดับผลงานของ พนักงาน โดยเปรียบเทียบกับพนักงานในกลุ่มเดียวกัน นำผลการปฏิบัติงานประจำปีไปใช้ ตามระดับผลงาน นำเสนอให้ ผู้บังคับบัญชาระดับสูงขึ้นไป พิจารณาทบทวนและอนุมัติ จัดเตรียมเอกสารการขึ้นเงินเดือนประจำปี การจ่ายเงินตอบแทนผล การปฏิบัติงานประจำปี เพื่อมอบให้กับพนักงาน แจ้งระดับผลงานให้พนักงานทราบ บริหารพนักงานทีมีผลการปฏิบัติงานต่ำ (ถ้ามี)