การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฐานข้อมูลทะเบียนที่มีอยู่เดิม ทะเบียนที่ขึ้นต้นด้วยเลขต่อไปนี้ได้นำออกจากระบบไปแล้ว จะไม่สามารถส่งข้อมูล เบิกเครมได้ 00xxx xxxxx xxx = นำออกจากระบบ 1xxxxx.
Advertisements

วันพุธที่ 21 เมษายน 2553 เวลา น. ณ ห้องประชุมเล็ก อาคาร 2
การวิเคราะห์ปัญหา ปัญหาอะไร ?.
วนิดา โพธิ์ทอง 54xxxx กลุ่ม xx
การกำหนดเลขประจำตัวประชาชน ประเภทที่ 6 และประเภทที่ 8 ของชนกลุ่มน้อย
การบริหารยาที่มี ระยะห่างการบริหารยามากกว่า 24 ชั่วโมง
ทบทวน ขั้นตอนการทำงานหลัก ของเว็บไซต์ สมัคร สมาชิก หาคน เรียน หาคน สอน ประกาศหา คนเรียน ประกาศหา คนสอน แสดงเบอร์ โทรศัพท์ / หรือไม่
Originality Check Report
Login เข้าสู่ระบบงานสำหรับเจ้าหน้าที่ 1. เข้าหน้าจอเจ้าหน้าที่ 2. เข้าสู่ระบบงานเจ้าหน้าที่โดยการ loginwww.xxxx.xx/administrator.
หน่วยที่ 3 แบบจำลองข้อมูล การเขียนโปรแกรมจัดการ ฐานข้อมูล อาจารย์ศราวุฒิ ศรีนนท์ วิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์ แผนกวิชา คอมพิวเตอร์
ความหมายของเลขประจำตัว
เลขยกกำลัง พิจารณาข้อความต่อไปนี้ a x a = a 2 a x a x a = a 3 a x a x a x a = a 4.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
ผังการบริหารจัดการน้ำ
ร่างพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารสาธารณะ พ.ศ. ....
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
- ค่าธรรมเนียมต่างจากภาษี
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law
วิธีปฏิบัติทางบัญชี 1. การรับบริจาคเงินสด
สรุปภาพรวมกระบวนการประมูล ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction)
ภาษีเกี่ยวกับการค้าทองคำ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
การพิจารณากลุ่มเลข และเอกสาร หลักฐานที่ใช้ประกอบการ ลงทะเบียนในกองทุน
คำขอแก้ไขทะเบียน 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
การเบิก-จ่ายเงินอย่างมืออาชีพ
บทที่ 13 วงจรบัญชีแยกประเภททั่วไป
คำขอขึ้นทะเบียนใหม่ 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
คำขอแก้ไขทะเบียน 1. ชื่อบริษัท : xxxx xxxxxxxx xxxx (จำนวน x คำขอ) 1.1 ชื่อผลิตภัณฑ์ : (ภาษาไทย) (English) ประเภท : (อาหารเสริมสำหรับสัตว์/วัตถุที่ผสมแล้ว)
“การใช้สิทธิของประชาชนและชุมชนในการคุ้มครองสุขภาพและสิ่งแวดล้อม”
โครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ภายใต้พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ ระหว่างวันที่ พฤศจิกายน 2560 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค.
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
การประเมินส่วนราชการ
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
โครงการแลกเปลี่ยนความรู้ การเสวนาแนวทางเพื่อสร้างมาตรฐานในการทำงานของเจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการ ; (การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (Work Manual) วันที่ 22 มีนาคม.
ระบบจำนวนและ การแปลงเลขฐาน
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
แนวทางเข้าสู่ตำแหน่ง ระดับเชี่ยวชาญ-ทรงคุณวุฒิ
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
จรรยาบรรณ ของ ผู้สอบบัญชีสหกรณ์.
กระบวนการเรียกร้องสิทธิและการดำเนินคดีผู้บริโภค
แนวทางการจัดทำ งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
โครงการสร้างสรรค์ทัศนศิลป์ขั้นสูง Terminal Project in Advanced Visual Arts 
Biochemistry II 2nd Semester 2018
ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Withholding Tax-W/T)
แนวทางดำเนินการจัดทำแผนปฏิรูปองค์การ :
การดำเนินงานกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน
ระบบจำนวนจริง ข้อสอบ O-net
ปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครนายก
กองคลัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี
Living Law การศึกษากฎหมายที่เป็นอยู่จริงในสังคม
การกำหนดเลขหมายโทรศัพท์
สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองสมุทรสงคราม
วัตถุประสงค์ หลักการบัญชีทางด้านผู้รับฝากขาย
“แนวทางการจัดสรรงบประมาณและ การตรวจสอบประเภทเงิน”
โครงการบริการวิชาการ
เรื่องชนเผ่าในจังหวัดมุกดาหาร
บทที่ 2 การเริ่มต้นกิจการใหม่และการซื้อกิจการ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
ผังทางเดินเอกสาร – ระบบส่งคืนสินค้า
บทที่ 10 รายงานการเงินสำหรับกิจการที่ไม่หวังผลกำไร
แผนพัฒนาการเกษตรตำบลคำพราน ปีงบประมาณ 2560 พื้นที่เพาะปลูกพืช เศรษฐกิจ
เงินสดและการควบคุมเงินสด
วิชาสถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญPPA1106
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ หลักสูตร นายทหารฝ่ายการส่งกำลังบำรุง (ฝอ.๔) ณ รร.กบ.ทบ. ๕ มิ.ย. ๖๐

ประวัติผู้บรรยาย ร.อ. อรัญ ศรีสมุทร์ ตำแหน่ง ประจำกอง กบ.ทบ. ร.อ. อรัญ ศรีสมุทร์ ตำแหน่ง ประจำกอง กบ.ทบ. กำเนิด นนส. 25/35 เหล่า ป. ปัจจุบัน ปฏิบัติงานที่ กวพ.สบพ.กบ.ทบ. ในตำแหน่ง ประจำแผนกมาตรฐาน รับผิดชอบงานด้านการกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์

วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีความเข้าใจในการจัดทำคุณลักษณะเฉพาะ สป. ให้เป็นไปตามความต้องการของทางราชการ มีความโปร่งใส และเป็นธรรม เพื่อให้สามารถจัดทำคุณลักษณะเฉพาะ สป. ได้ถูกต้องตาม ระเบียบ และคำสั่งที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อการบรรยาย กล่าวนำ หลักเกณฑ์การกำหนดและการใช้ คฉ. ของ ทบ. ตัวอย่าง คฉ. ปัญหาข้อขัดข้อง

กล่าวนำ

หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.๒๕๓๕ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยความรับผิดชอบใน สป. พ.ศ.๒๕๕๕ ข้อ ๕.๑ ความรับผิดชอบใน สป.ตามระเบียบฯ รวมถึงการกำหนด คฉ. ด้วย ข้อ ๕.๔ การกำหนด คฉ.ให้สายงานที่รับผิดชอบ สป.สำเร็จรูปเป็นผู้รับผิดชอบ ส่วนสายงานอื่นที่เกี่ยวข้องเป็นผู้กำหนด คฉ.ตามที่สายงานที่รับผิดชอบ สป.สำเร็จรูปต้องการ แล้วเสนอให้สายงานที่รับผิดชอบรวบรวม เพื่อเสนอขออนุมัติต่อ ทบ. ข้อ ๑๖ ให้ส่วนราชการใช้พัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทย ตามหลักเกณฑ์ดังนี้ (๑) ห้ามกำหนดรายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะ ซึ่งอาจมีผลกีดกันไม่ให้ผู้ผลิตหรือผู้ขายพัสดุที่ผลิตในประเทศหรือเป็นกิจการของคนไทยสามารถเข้าแข่งขันกันในการเสนอราคากับทางราชการ ข้อ ๒๗ ก่อนดำเนินการซื้อหรือจ้างทุกวิธี นอกจากการซื้อที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้างตามข้อ ๒๘ ให้เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำรายงานเสนอหัวหน้าส่วนราชการตามรายการ ดังต่อไปนี้ (๑) เหตุผลและความจำเป็นที่ต้องซื้อหรือจ้าง (๒) รายละเอียดของพัสดุที่จะซื้อหรืองานที่จะจ้าง (๓) ฯลฯ, (๔) ฯลฯ, (๕) ฯลฯ, (๖) ฯลฯ, (๗) ฯลฯ - คำสั่ง ทบ. (เฉพาะ) ที่ ๑๖๐๔/๕๓ ลง ๓๐ ธ.ค.๕๓ เรื่อง การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ - คำสั่ง ทบ. (เฉพาะ) ที่ ๒๑๒/๕๘ ลง ๑๘ ก.พ. ๕๘ เรื่อง การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ (แก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่ ๑)

การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะของ ทบ. เป็นหลักในการจัดหา โดยเป็นส่วนหนึ่งของเอกสารจัดซื้อจัดจ้าง ใช้เป็นหลักในการตรวจรับพัสดุ นำไปสู่มาตรฐานเดียวกันของ สป. ในระบบส่งกำลังบำรุงของ ทบ.

องค์ประกอบของ คฉ. วัตถุประสงค์ในการใช้งาน  มุ่งหมายจะใช้ทำอะไร วัตถุประสงค์ในการใช้งาน  มุ่งหมายจะใช้ทำอะไร คุณลักษณะในทางเทคนิค  ขีดความสามารถ คุณลักษณะในการออกแบบ  ลักษณะ รูปร่าง ขนาด น้ำหนัก มิติ

ขอบเขตและการใช้ คฉ. ทบ.กำหนดให้จัดทำและอนุมัติให้ใช้ คฉ. ก่อนการรายงานขอซื้อขอจ้าง คฉ.ใช้ประกอบการจัดหาวัสดุและครุภัณฑ์ทั้งเงินในและนอกงบประมาณ หากไม่มีความจำเป็นอื่นใดให้จัดทำเป็น คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ถาวร (ผนวก ก) ขออนุมัติใช้เป็น คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ชั่วคราว (ผนวก ข) กรณี จัดหาเฉพาะคราว, เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ว ต้องจัดหาเร่งด่วนตามความต้องการทางยุทธการ ใช้ได้เฉพาะปีงบประมาณที่ได้รับอนุมัติ

ขอบเขตและการใช้ คฉ. สป. ต่อไปนี้ เจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ/เจ้ากรมฝ่ายกิจการพิเศษ มีอำนาจอนุมัติใช้ คฉ. ได้ ชิ้นส่วนซ่อม - มีรายละเอียดในคู่มือทางเทคนิค ใช้ชื่อและหมายเลขชิ้นส่วนซ่อม (ผนวก ค) - ไม่มีรายละเอียดในคู่มือทางเทคนิค ใช้แบบฟอร์มตาม (ผนวก ง) สป. ที่จัดหาคราวหนึ่ง ราคาต่อหน่วยไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท วงเงินรวมไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท (ผนวก ง) แบบพิมพ์ ทบ. (ผนวก ง) สป.สำหรับ สน.ผชท.ทบ. (คราวละไม่เกิน ๑,๐๐๐,๐๐๐บาท) (ผนวก ง) ยา เคมีภัณฑ์ รีเอเจนท์ (ผนวก ง)

ขอบเขตและการใช้ คฉ. สป. ที่ได้รับ มอก. ให้รายงานขออนุมัติโดยใช้ มอก. หากจะกำหนดรายละเอียด แตกต่างจาก มอก. ให้ตกลงกับสำนักงบประมาณฯ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องก่อน (ผนวก จ) กรณี สป. ได้รับการรับรองมาตรฐานสากลอื่น ให้รายงานขออนุมัติใช้รายละเอียดที่ระบุไว้ในมาตรฐานดังกล่าวได้ (ผนวก จ)

ขอบเขตและการใช้ คฉ. การจ้างซ่อม จ้างปรับปรุง ที่ทำให้ขีดความสามารถหรือคุณลักษณะ สป. เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ต้องจัดทำและขออนุมัติใช้ คฉ. - กรณีจ้างซ่อม จ้างปรับปรุง (ผนวก ฉ (การจ้าง)) - กรณีการจ้างผลิต (ผนวก ก หรือ ข เหมือนการซื้อ สป.) - เพื่อให้สามารถตรวจสอบ สป. ให้ครอบคลุมทุกรายการ และขั้นตอน การจ้างซ่อม หรือจ้างบริการ ที่ต้องการผลสำเร็จของงาน หรือ เพื่อดำรงสภาพ สป. นอกเหนือจากงานข้างต้น สามารถใช้แบบรูปรายการ หรือรายละเอียดตามลักษณะ สป. ประกอบการจ้างได้ (โดยให้ ผบ.หน่วยที่ได้รับงบประมาณเป็นผู้อนุมัติให้ใช้เป็นหลักในการจ้าง)

หลักในการจัดทำ คฉ. การกำหนดรายละเอียดใน คฉ. ต้องกำหนดให้ ชัดเจน มีรายละเอียดเพียงพอ หากมีองค์ประกอบ สป. ในความรับผิดชอบของกรมฝ่ายยุทธบริการ/กรมฝ่ายกิจการพิเศษอื่น ให้ประสานหน่วยนั้น เพื่อนำ คฉ. มาประกอบการจัดทำ คำหรือข้อความที่ไม่สามารถแยกแยะได้ เช่น ตามมาตรฐานผู้ผลิต, แข็งแรง, ทนทาน เป็นต้น ไม่มีประโยชน์ในการกำหนดใน คฉ.

หลักในการจัดทำ คฉ. การกำหนดรายละเอียดใน คฉ. ต้องกำหนดให้ มีข้อมูลเปรียบเทียบไม่น้อยกว่า ๒ ยี่ห้อ กรณีมีข้อมูลเพียงยี่ห้อเดียว ให้แนบข้อมูลการลงประกาศเชิญชวนในเว็บไซต์ของหน่วย และเว็บไซต์ ทบ. ไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน คู่มือการใช้งาน จะต้องมีทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ มิติ หรือตัวเลข ไม่ควรระบุเป็นตัวเลขตายตัว แต่ควรระบุเป็นตัวเลข ที่มีคุณสมบัติไม่ด้อยกว่าที่ทางราชการต้องการ เช่น ไม่น้อยกว่า, ไม่เกินกว่า

หน้าที่และความรับผิดชอบ กรมฝ่ายยุทธบริการ/กรมฝ่ายกิจการพิเศษ ที่รับผิดชอบ สป. มีหน้าที่ - จัดทำคุณลักษณะเฉพาะ สป. - แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะ สป. ของหน่วย กรมส่งกำลังบำรุงทหารบก มีหน้าที่ - ขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คฉ.สป. ของ ทบ. - ขออนุมัติแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ คฉ.สป. ของ ทบ. พิเศษ - ตรวจสอบ คฉ. ที่ผ่านคณะกรรมการฯ นำเรียนขออนุมัติ หน่วย/เหล่าสายวิทยาการ มีหน้าที่ ให้ข้อมูล

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะ สป. ของหน่วย - ประธาน : พ.อ.(พ.) ๑ นาย - กรรมการ : น. ไม่น้อยกว่า ๒ นาย (ผู้แทนหน่วยใช้อย่างน้อย ๑ นาย) คณะกรรมการตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะ สป. ของ ทบ. - ประธาน : พล.ต. ขึ้นไป จัดจาก บก.ทบ. - กรรมการ : น. จากกรมฝ่ายยุทธฯ /กรมฝ่ายกิจการพิเศษ และ กบ.ทบ. กรรมการจากกรมฝ่ายยุทธบริการ/กรมฝ่ายกิจการพิเศษเป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะ สป. ของ ทบ.(พิเศษ) - ประธาน : พล.ต. ขึ้นไป จัดจาก บก.ทบ. - กรรมการ : น. จากกรมฝ่ายยุทธฯ /กรมฝ่ายกิจการพิเศษ และ กบ.ทบ. กรรมการจากกรมฝ่ายยุทธบริการ/กรมฝ่ายกิจการพิเศษเป็นกรรมการและเลขานุการ

ขั้นตอนการดำเนินการ ทบ. กบ.ทบ. หน่วยใช้/กรมฝ่ายฯ กรมฝ่ายฯ ไม่เห็นชอบ เสนอความต้องการ หน่วยใช้/กรมฝ่ายฯ กรมฝ่ายฯ ร่าง คฉ. คณะกรรมการฯ ทบ. ตรวจสอบ และทำบันทึกประชุม คฉ.ถาวร คณะกรรมการฯ หน่วย ตรวจสอบ, จัดทำบันทึกประชุมฯ และลงนามในร่าง คฉ. ๔ ชุด เห็นชอบ คฉ.ชั่วคราว คณะกรรมการฯ ทบ.พิเศษ เห็นชอบ กรณีมีปัญหา กบ.ทบ. ขออนุมัติ ทบ. กรณีอำนาจ จก.ฝ่ายฯ : จก.ฝ่ายฯ อนุมัติได้ทั้ง คฉ.ชั่วคราว และถาวร กรณีอำนาจ จก.ฝ่ายฯ ไม่ต้องผ่าน กบ.ทบ. มา ทบ.

ขั้นตอนการดำเนินการ คุณลักษณะเฉพาะ สป. ชั่วคราว - ไม่ต้องรายงานผ่านคณะกรรมการฯ ทบ. - ให้รายงานผ่าน กบ.ทบ. ภายใน มิ.ย. ของปีงบประมาณนั้นๆ คุณลักษณะเฉพาะ สป. ที่ได้รับอนุมัติแล้ว กบ.ทบ. จะเสนอ สบ.ทบ. เพื่อสำเนาแจกจ่ายให้ นขต.ทบ. ทราบ

ข้อกำหนดอื่นๆ ให้กรมฝ่ายยุทธบริการ/กรมฝ่ายกิจการพิเศษ ขออนุมัติใช้ คฉ. ล่วงหน้าก่อนการเสนอความต้องการ ก่อนการจัดหา ให้กรมฝ่ายยุทธบริการ/กรมฝ่ายกิจการพิเศษ หน่วย/เหล่าสายวิทยาการ ตรวจสอบทบทวน คฉ. หากพบว่าไม่เหมาะสม ให้ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขก่อนการดำเนินการจัดซื้อหรือจ้างทุกครั้ง คฉ. ที่หน่วยกำหนดได้เอง ให้สำเนาให้ กบ.ทบ. ทราบด้วย คฉ. สามารถปรับปรุงแก้ไขเฉพาะบางส่วนได้ ให้ประธานคณะกรรมการฯ หน่วย ลงนามกำกับมุมขวาล่างของเอกสารทุกหน้า

ผนวกต่างๆ ผนวก ก (รูปแบบในการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ถาวร) ผนวก ก (รูปแบบในการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ถาวร) ผนวก ข (รูปแบบในการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ชั่วคราว) ผนวก ค (รูปแบบรายการชิ้นส่วนซ่อมที่ขออนุมัติใช้แทนคุณลักษณะเฉพาะ สป.) ผนวก ง (รูปแบบรายละเอียดในการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ สป. ในอำนาจเจ้ากรมฝ่ายยุทธบริการ/เจ้ากรมฝ่ายกิจการพิเศษ) ผนวก จ (รูปแบบในการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ สป. ตามแบบที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก. หรือประกาศกระทรวงที่เกี่ยวข้องใน สป.)

ผนวกต่างๆ ผนวก ฉ (รูปแบบในการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะการจ้าง) ผนวก ฉ (รูปแบบในการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะการจ้าง) ผนวก ช (ข้อมูลเปรียบเทียบคุณลักษณะเฉพาะ สป.) ผนวก ซ (คำแนะนำการกำหนดหมายเลขสิ่งอุปกรณ์)

การกำหนดหมายเลข คฉ. เดิมเรียกเลขที่ใช้กำกับ คฉ. ว่า “หมายเลข สป.” คำสั่ง ทบ.(เฉพาะ) ที่ ๒๑๒/๕๘ เรื่อง การกำหนดและการใช้คุณลักษณะเฉพาะสิ่งอุปกรณ์ (แก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่ ๑) เดิมเรียกเลขที่ใช้กำกับ คฉ. ว่า “หมายเลข สป.” ใหม่ เรียกว่า “หมายเลข คฉ.”

การกำหนดหมายเลข คฉ. ประกอบด้วยตัวเลขและตัวอักษร ๑๒ ตัว : xxxx – x – xx – x – xxxx ตัวเลขลำดับที่ ๑ – ๔ แสดง Group และ Class ตัวอักษรลำดับที่ ๕ แสดงหน่วยที่รับผิดชอบ กช. : E, สส. : S, สพ.ทบ. : O, พธ.ทบ. : Q, พบ. : M, ขส.ทบ. : T, วศ.ทบ. : C, กส.ทบ. : V, ยย.ทบ. : P, สบ.ทบ. : A, สก.ทบ. : W, ยศ.ทบ. : K ตัวเลขลำดับที่ ๖ – ๗ แสดงปีงบประมาณที่เสนอให้ คฉ. มีผลบังคับใช้ ตัวเลขลำดับที่ ๘ แสดงประเภทและที่มาของ คฉ. P : คฉ.ถาวร ที่ ทบ.อนุมัติ T : คฉ.ชั่วคราวที่ ทบ. อนุมัติ S : คฉ.ถาวร ที่ จก.ฝ่ายยุทธฯ อนุมัติ A : คฉ.ชั่วคราว ที่ จก.ฝ่ายยุทธฯ อนุมัติ ตัวเลขลำดับที่ ๙ – ๑๒ แสดงลำดับในแต่ละปีงบประมาณ

การกำหนดรายละเอียดหรือคุณสมบัติเฉพาะที่ไม่ชัดเจน ข้อห่วงใยของ สตง. การกำหนดรายละเอียดหรือคุณสมบัติเฉพาะที่ไม่ชัดเจน การกีดกันการแข่งขัน / อุดหนุนสินค้าที่ผลิตในไทย หรือกิจการของไทย

ทบทวน เหตุใดจึงต้องจัดทำ คฉ. เหตุใดจึงต้องมีคณะกรรมการระดับหน่วย และระดับ ทบ. เหตุใดจึงต้องมีคู่เทียบ ๒ ยี่ห้อ ถ้าจะซื้อชิ้นส่วนซ่อม สป.สำเร็จรูป จะต้องทำ คฉ. ชิ้นส่วนซ่อมนั้นๆ ขึ้นใหม่เสมอไปหรือไม่ (อาจใช้ข้อมูลที่ปรากฏอยู่ใน สป.สำเร็จรูป แทนได้) ถ้า สป. ประกอบด้วย องค์ประกอบ หลายสายงาน จะต้องทำอย่างไร ต้องไม่ระบุยี่ห้อ การขออนุมัติใช้ คฉ. ข้ามปี การกีดกัน หรือไม่โปร่งใส การจัดทำ คฉ. ของ ๒ สิ่ง ใน คฉ. รายการเดียว (ไม่ถูกต้อง)

ทบทวน วิธีการตรวจรับ โดยปกติมักกำหนดว่า ตรวจตาม คฉ. แต่ ทร. กำหนดได้เหมาะสมกว่า ความน่าเชื่อถือของผู้ประกอบการ บันทึกประชุมควรมีข้อมูลต่างๆ ตามข้อ ๙.๑ คฉ.ถาวร VS คฉ.ชั่วคราว การอนุมัติ คฉ.ถาวร และชั่วคราว ในอำนาจของ จก.ฝ่ายยุทธฯ

จบการบรรยาย