การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
การประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ดีเด่นระดับจังหวัด
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
สกลนครโมเดล.
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
Ubonratchathani Provincial Public Health Office
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
กองทุนบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ ในส่วนของโปรแกรม state.cfo.in.th Tel : Line ID : thaigagas.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ
แนวทางการบริหารงบค่าใช้จ่ายการตรวจคัดกรองและตรวจยืนยันมะเร็งลำไส้ใหญ่
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
COMPETENCY DICTIONARY
การสำรวจสถานบริการและพนักงานบริการ
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Palliative care.
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ผังองค์กรกลุ่มงานประกันสุขภาพ
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
การให้เลขประจำตัวประชาชน ๑๓ หลัก
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (≥ 85 %)
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
คณะกรรมการพัฒนาสุขภาพระดับกลุ่มบริการ (คพสก.)
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
รูปแบบเงินกองทุนประกันสังคม
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำหรับตำแหน่งที่มีวิทยฐานะ
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
รายงานสถานการณ์E-claim
การประชุมคณะทำงานพัฒนามาตรฐานงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล และหน่วยบริการปฐมภูมิ ครั้งที่ 1/2562 ณ ห้องประชุมเหล็กน้ำพี้
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ประเด็นติดตาม Palliative care.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่

การดำเนินงานในกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ กลุ่มเป้าหมายคือ กลุ่มที่มีบัตรประจำตัวขึ้นต้นด้วย เลข 3,4,5,8 - ประเภททะเบียนราษฎร์ ทร.14 กลุ่มที่มีบัตรประจำตัวขึ้นต้นด้วย เลข 6,7 ประเภททะเบียนราษฎร์ ทร.13 กลุ่ม นักเรียนในสถานศึกษาที่รับสวัสดิการจากรัฐบาลด้านการศึกษา / ไร้รากเหง้า / คนที่ทำประโยชน์ บัตรขึ้นต้นด้วยเลข 0 ประเภท ทะเบียนราษฎร์ ทร.38 ก(ข)

กลุ่มเป้าหมาย เพิ่มกลุ่มเป้าหมายเลข 0 กลุ่มบุคคลที่ได้รับการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัวบุคคลผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลเป็นชนกลุ่มน้อยและกลุ่มชาติพันธ์ที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานานและตกสำรวจและบุตรประเภท 0(0xxxx00xxx xx x)

การดำเนินเชิงรุกในพื้นที่ กรณี การลงทะเบียนสิทธิ ประชาสัมพันธ์วิทยุชุมชน/ปากต่อปาก การเตรียมการ ประสานงาน สสอ.รพ.สต./ อสม ทำหนังสือ/โรงเรียน/สำรวจนักเรียน

การดำเนินเชิงรุกในพื้นที่ กรณี การลงทะเบียนสิทธิ(ต่อ) รพ.สต. ผู้มีสิทธิ สป.สธ โรงพยาบาล

หลักฐานการลงทะเบียนบัตร แบบคำร้องขอลงทะเบียน บัตรประจำตัว หรือ บัตรที่ทางราชการออกให้ที่มีเลขประจำตัวและรูปถ่ายติดอยู่ สำเนาสูติบัตร(กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี) สำเนาทะเบียนบ้านที่ผู้ขอลงทะเบียนมีชื่ออยู่ ได้แก่ ทร.13,ทร.14,ทร.38กหรือทร.38ข โดยใช้ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง มหาดไทย ซึ่งจะขึ้นทะเบียนให้ตามที่อยู่ในสำเนาทะเบียนบ้าน

หน่วยบริการที่รับลงทะเบียนและหน่วยบริการประจำ หน่วยบริการที่รับลงทะเบียน ได้แก่โรงพยาบาลนครพิงค์และโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง ให้ผู้มีสิทธิ ลงทะเบียนที่โรงพยาบาลประจำอำเภอตามที่อยู่ในสำเนาทะเบียนบ้านเท่านั้น ยกเว้น กรณีมารับบริการครั้งแรกและยังไม่มีสิทธิใดๆหน่วยบริการที่รับรักษาสามารถลงทะเบียนแทนได้โดยรพ.หลักเป็นรพ.ประจำอำเภอที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน

สำเนาสูติบัตร (กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี) การเข้ารับบริการรักษาพยาบาล บัตรประจำตัว หรือบัตรที่ทางราชการออกให้ที่มีเลขบัตรประจำตัวและมีรูปถ่ายติดอยู่ สำเนาสูติบัตร (กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี)

หลักเกณฑ์การใช้บริการด้านสาธารณสุข สามารถ เข้ารับบริการได้ที่ โรงพยาบาลประจำที่ระบุในบัตร และสามารถเข้ารับบริการที่โรงพยาบาลอื่นที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขภายในจังหวัดได้โดยไม่ต้องมีใบส่งตัวจากโรงพยาบาลประจำ กรณีที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเอกชนผู้ป่วยต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง ทุกกรณี การใช้บริการข้ามจังหวัด กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉินไม่ต้องมีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ กรณีปกติต้องมีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ หรือกรณีส่งตัวไปรักษาต่อต้องมีใบส่งตัวจาก โรงพยาบาลประจำ

การใช้บริการสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ บัตรเดียวใช้บริการในสถานบริการของรัฐได้ทุกที่ ทั่วถึงทุกคน

สิทธิประโยชน์ ยกเว้น กรณีโครงการพิเศษอื่นๆยังไม่ครอบคลุมการให้บริการ ขั้นพื้นฐานเหมือนบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าและกรณีไตวาย ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์และผู้ป่วยวัณโรค และผู้ป่วยใช้ยา จ.2 ยกเว้น กรณีโครงการพิเศษอื่นๆยังไม่ครอบคลุมการให้บริการ

จังหวัดเชียงใหม่เป็นClearing House แนวทางการดำเนินงาน ด้านการบริหารจัดการ จังหวัดเชียงใหม่เป็นClearing House กันเงิน 10% งบประมาณ กำหนดอัตราการเรียก เก็บภายในจังหวัด OP/PP_Refer ภายในจังหวัด OP Refer ต่างจังหวัด OP AE ภายในจังหวัด

แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) การจัดการข้อมูล การลงทะเบียนสิทธิ การเรียกเก็บเงินชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ เชิงระบบ เชิงรุก

การส่งข้อมูลเรียกเก็บ เรียกเก็บ สสจชม. ผู้ป่วยนอกต่างหน่วยบริการ ผู้ป่วยนอกส่งต่อทั้งในและนอกจังหวัด ผู้ป่วยนอก AE ในจังหวัด

เรียกเก็บกระทรวงฯ ผู้ป่วยในทุกกรณี ผู้ป่วยนอกAE ต่างจังหวัด การใช้อวัยวะเทียมหรืออุปกรณ์ในการบำบัดโรค(Istrument) การตรวจวินิจฉัยราคาแพง และการทำหัตถการหัวใจ http://state.cfo.in.th ภายใน 30 วันผู้ป่วยในนับจากวันDischarge ผู้ป่วยนอกนับจากวันที่ให้บริการ

การตรวจสอบสิทธิ ตรวจสอบสิทธิผ่านทางเว็บไซต์ http://state.cfo.in.th Username: ใช้รหัสสถานบริการ Password: st@ ตามด้วยรหัสสถานบริการ

ติดต่อสอบถามได้ที่ กลุ่มงานประกันสุขภาพสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ 053-211048 ต่อ 109 ( ถนอมศรี แจ่มไทย ผู้รับผิดชอบงานต่างด้าว)

จบการนำเสนอ สวัสดีค่ะ