การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
การดำเนินงานในกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ กลุ่มเป้าหมายคือ กลุ่มที่มีบัตรประจำตัวขึ้นต้นด้วย เลข 3,4,5,8 - ประเภททะเบียนราษฎร์ ทร.14 กลุ่มที่มีบัตรประจำตัวขึ้นต้นด้วย เลข 6,7 ประเภททะเบียนราษฎร์ ทร.13 กลุ่ม นักเรียนในสถานศึกษาที่รับสวัสดิการจากรัฐบาลด้านการศึกษา / ไร้รากเหง้า / คนที่ทำประโยชน์ บัตรขึ้นต้นด้วยเลข 0 ประเภท ทะเบียนราษฎร์ ทร.38 ก(ข)
กลุ่มเป้าหมาย เพิ่มกลุ่มเป้าหมายเลข 0 กลุ่มบุคคลที่ได้รับการสำรวจจัดทำทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัวบุคคลผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลเป็นชนกลุ่มน้อยและกลุ่มชาติพันธ์ที่เข้ามาอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานานและตกสำรวจและบุตรประเภท 0(0xxxx00xxx xx x)
การดำเนินเชิงรุกในพื้นที่ กรณี การลงทะเบียนสิทธิ ประชาสัมพันธ์วิทยุชุมชน/ปากต่อปาก การเตรียมการ ประสานงาน สสอ.รพ.สต./ อสม ทำหนังสือ/โรงเรียน/สำรวจนักเรียน
การดำเนินเชิงรุกในพื้นที่ กรณี การลงทะเบียนสิทธิ(ต่อ) รพ.สต. ผู้มีสิทธิ สป.สธ โรงพยาบาล
หลักฐานการลงทะเบียนบัตร แบบคำร้องขอลงทะเบียน บัตรประจำตัว หรือ บัตรที่ทางราชการออกให้ที่มีเลขประจำตัวและรูปถ่ายติดอยู่ สำเนาสูติบัตร(กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี) สำเนาทะเบียนบ้านที่ผู้ขอลงทะเบียนมีชื่ออยู่ ได้แก่ ทร.13,ทร.14,ทร.38กหรือทร.38ข โดยใช้ฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์ กรมการปกครอง มหาดไทย ซึ่งจะขึ้นทะเบียนให้ตามที่อยู่ในสำเนาทะเบียนบ้าน
หน่วยบริการที่รับลงทะเบียนและหน่วยบริการประจำ หน่วยบริการที่รับลงทะเบียน ได้แก่โรงพยาบาลนครพิงค์และโรงพยาบาลชุมชนทุกแห่ง ให้ผู้มีสิทธิ ลงทะเบียนที่โรงพยาบาลประจำอำเภอตามที่อยู่ในสำเนาทะเบียนบ้านเท่านั้น ยกเว้น กรณีมารับบริการครั้งแรกและยังไม่มีสิทธิใดๆหน่วยบริการที่รับรักษาสามารถลงทะเบียนแทนได้โดยรพ.หลักเป็นรพ.ประจำอำเภอที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน
สำเนาสูติบัตร (กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี) การเข้ารับบริการรักษาพยาบาล บัตรประจำตัว หรือบัตรที่ทางราชการออกให้ที่มีเลขบัตรประจำตัวและมีรูปถ่ายติดอยู่ สำเนาสูติบัตร (กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี)
หลักเกณฑ์การใช้บริการด้านสาธารณสุข สามารถ เข้ารับบริการได้ที่ โรงพยาบาลประจำที่ระบุในบัตร และสามารถเข้ารับบริการที่โรงพยาบาลอื่นที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขภายในจังหวัดได้โดยไม่ต้องมีใบส่งตัวจากโรงพยาบาลประจำ กรณีที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเอกชนผู้ป่วยต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง ทุกกรณี การใช้บริการข้ามจังหวัด กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉินไม่ต้องมีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ กรณีปกติต้องมีใบอนุญาตออกนอกพื้นที่ หรือกรณีส่งตัวไปรักษาต่อต้องมีใบส่งตัวจาก โรงพยาบาลประจำ
การใช้บริการสาธารณสุขในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ บัตรเดียวใช้บริการในสถานบริการของรัฐได้ทุกที่ ทั่วถึงทุกคน
สิทธิประโยชน์ ยกเว้น กรณีโครงการพิเศษอื่นๆยังไม่ครอบคลุมการให้บริการ ขั้นพื้นฐานเหมือนบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าและกรณีไตวาย ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเอดส์และผู้ป่วยวัณโรค และผู้ป่วยใช้ยา จ.2 ยกเว้น กรณีโครงการพิเศษอื่นๆยังไม่ครอบคลุมการให้บริการ
จังหวัดเชียงใหม่เป็นClearing House แนวทางการดำเนินงาน ด้านการบริหารจัดการ จังหวัดเชียงใหม่เป็นClearing House กันเงิน 10% งบประมาณ กำหนดอัตราการเรียก เก็บภายในจังหวัด OP/PP_Refer ภายในจังหวัด OP Refer ต่างจังหวัด OP AE ภายในจังหวัด
แนวทางการดำเนินงาน (ต่อ) การจัดการข้อมูล การลงทะเบียนสิทธิ การเรียกเก็บเงินชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ เชิงระบบ เชิงรุก
การส่งข้อมูลเรียกเก็บ เรียกเก็บ สสจชม. ผู้ป่วยนอกต่างหน่วยบริการ ผู้ป่วยนอกส่งต่อทั้งในและนอกจังหวัด ผู้ป่วยนอก AE ในจังหวัด
เรียกเก็บกระทรวงฯ ผู้ป่วยในทุกกรณี ผู้ป่วยนอกAE ต่างจังหวัด การใช้อวัยวะเทียมหรืออุปกรณ์ในการบำบัดโรค(Istrument) การตรวจวินิจฉัยราคาแพง และการทำหัตถการหัวใจ http://state.cfo.in.th ภายใน 30 วันผู้ป่วยในนับจากวันDischarge ผู้ป่วยนอกนับจากวันที่ให้บริการ
การตรวจสอบสิทธิ ตรวจสอบสิทธิผ่านทางเว็บไซต์ http://state.cfo.in.th Username: ใช้รหัสสถานบริการ Password: st@ ตามด้วยรหัสสถานบริการ
ติดต่อสอบถามได้ที่ กลุ่มงานประกันสุขภาพสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ 053-211048 ต่อ 109 ( ถนอมศรี แจ่มไทย ผู้รับผิดชอบงานต่างด้าว)
จบการนำเสนอ สวัสดีค่ะ