วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การศึกษาความต้องการและปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อที่ โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ของ นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายใน โรงเรียนจังหวัด.
Advertisements

การใช้เทคโนโลยีในการศึกษา นับว่ามีบทบาทสำคัญในการ ปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ด้วย วิวัฒนาการและการพัฒนาทางการศึกษาที่ไม่หยุดยั้งนี้เอง.
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศึกษา สาขาวิชาพณิชยการและ การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.) ตามความต้องการของ สถานประกอบการ.
ผู้วิจัย นางบุญนภัส รินทร์คำ วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีราชา.
นางสาวนิสรีน อัศวะ วิวัฒน์กุล. การปฏิบัติที่ซ้ำซ้อน มีขั้นตอนในการ ปฏิบัติงานหลายขั้นตอน ทำให้การจัดทำ เอกสารต่าง ๆ ล่าช้าและเป็นการเพิ่มภาระ งานโดยไม่จำเป็น.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานประกอบการต่อการฝึกงานของนักศึกษา ระดับปวส
การบริหารโดยใช้รูปแบบบูรณาการด้านงานวิชาการและ การจัดการเรียนการสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับแก้ปัญหา การจัดทำวิจัย กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การประเมินผลการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป BC Account Version 5.5 Standard สำหรับงานบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ พลอย ประสงค์ทรัพย์ กลุ่มงานบัญชี
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
วิชาชีพทางการศึกษา 1. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู 2. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา 3. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้บริหารการศึกษา 4. ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ความพึงพอใจต่อการบริหาร จัดการโครงการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงด้วยวิธีการ เรียนรู้แบบศึกษาดูงาน บริหารธุรกิจสาขาการจัดการ / การตลาด ภาคเรียนที่ 2/2556.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
๑.มีคุณวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหาร การศึกษาหรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุ สภารับรอง โดยมีความรู้ ดังต่อไปนี้ ( ๑ ) หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
การบริหารหลักสูตร.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
โดย อาจารย์เสาวณีย์ พุ่มท้วม
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การศึกษากระบวนการดำเนินการพัฒนาวิทยาลัยแบบมีส่วนร่วม
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม
หลักเกณฑ์และวิธีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง : แรงจูงใจที่ต้องการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย : นางสาวสิริรัตน์ เทียมเสรีวงศ์
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาอาชีวเอกชนสุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน นายชนะ กฤตานุพงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1 เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในสถานศึกษาอาชีวเอกชนสุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาอาชีวเอกชนสุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาอาชีวเอกชน สุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน 2 3

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาอาชีวเอกชนสุราษฎร์ธานี ปีการศึกษา 2557 จำนวน 137 คน ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาอาชีวเอกชนสุราษฎร์ธานี จำนวน 101 คน ได้มาโดยวิธีการหาขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร Krejcie & Morgan กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จากผลในการวิเคราะห์ข้อมูลในด้านสถิติพบว่า สถานภาพของผู้ตอบเกี่ยวกับเพศ ตำแหน่ง ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ระดับการศึกษา และขนาดวิทยาลัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 53.50 เป็นครูปฏิบัติการคิดเป็นร้อยละ 71.30 มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานตั้งแต่ 11-20 ปีคิดเป็นร้อยละ 25.70 มีระดับการศึกษาปริญญาตรีคิดเป็นร้อยละ 69.30และขนาดของวิทยาลัยส่วนใหญ่ขนาดกลางคิดเป็นร้อยละ 52.50 ของผู้ตอบแบบสอบถาม

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) ตัวแปร BB1 BB2 BB3 BB4 BB5 BB6 BB7 BBT RR1 0.594** 0.688** 0.713** 0.526** 0.597** 0.564** 0.602** RR2 0.577** 0.576** 0.633** 0.446** 0.626** 0.515** 0.584** 0.637** RR3 0.605** 0.673** 0.709** 0.580** 0.749** 0.592** 0.735** RR4 0.720** 0.734** 0.768** 0.738** 0.659** 0.675** 0.791** RR5 0.653** 0.537** 0.647** 0.548** 0.553** 0.684** RR6 0.625** 0.679** 0.711** 0.656** 0.563** 0.624** RRT 0.685** 0.783** 0.740** 0.672** 0.781**

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับ คือ ด้านการระบุวิสัยทัศน์อย่างชัดเจน ด้านการเกื้อกูลการยอมรับเป้าหมายของกลุ่ม ด้านการคาดหวังผลการปฏิบัติงานของผู้ตามในระดับสูง ด้านการเป็นแบบอย่างที่เหมาะสม ด้านการปลุกเร้าทางปัญญา และด้านการให้การสนับสนุนผู้ตามเป็นรายบุคคล

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ระดับมาก เรียงตามลำดับ คือ ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการวัดผลประเมินผลและ การเทียบโอนผลการเรียน ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี และด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) ความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร กับการบริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมและรายด้าน มีความสัมพันธ์ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เมื่อพิจารณา พบว่า ความสัมพันธ์กับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา ด้านที่มีความสัมพันธ์สูงมากที่สุด คือ ด้านการวัดผล ประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน รองลงมาคือ ด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านที่มีความสัมพันธ์สูงน้อยที่สุด คือ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

สรุปและอภิปรายผล ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับและรายด้านอยู่ในระดับมาก ที่เป็นเช่นนี้เพราะผู้บริหารเป็นบุคคลที่มีบทบาทหน้าที่สำคัญในการบริหารสถานศึกษาอย่างยิ่ง ผู้บริหารจะต้องมีวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน มีการสร้างความร่วมมือกับครู และบุคลากรทางการศึกษาในทุกด้าน เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้เกิดการพัฒนาและความร่วมมือ ทั้งด้านผู้นำและผู้ตามอย่างต่อเนื่องเป็นที่ยอมรับของผู้เรียน ผู้ปกครอง สถานประกอบการ และชุมชน

สรุปและอภิปรายผล (ต่อ) ซึ่งสอดคล้องกับนันธิดา บัวสาย (2552 : 138) ได้วิจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร โรงเรียนที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนมเขต 2 พบว่า ผู้บริหารควรที่จะมีการส่งเสริมศักยภาพของผู้ตามให้มีความรู้ ความสามารถในด้านความรู้ความสามรถในด้านการเป็นผู้นำ

สรุปและอภิปรายผล (ต่อ) การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา ผลการวิจัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้าน ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่า การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา เป็นการการประมวลผลของการดำเนินงานของสถานศึกษาตลอดทั้งปี ที่ทุกฝ่ายจะต้องมีส่วนร่วม ทั้ง ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า และชุมชน

สรุปและอภิปรายผล (ต่อ) สอดคล้องกับธีระพงศ์ แสนคำ (2554: 51-52) ได้วิจัยการบริหารวิชาการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ของโรงเรียนในอำเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม พบว่า การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก

สรุปและอภิปรายผล (ต่อ) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการ มีความสัมพันธ์ในระดับสูงทุกด้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.01และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ 0.781 ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่า ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาได้มีการพัฒนาตนเองเป็นอย่างมาก ผู้บริหารได้รับการศึกษาในสาขาการบริหารการศึกษาทุกคน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการจากหน่วยงานต้นสังกัด อย่างสม่ำเสมอ

สรุปและอภิปรายผล (ต่อ) ซึ่งสอดคล้องกับพีรพรรณ ทองปั้น (2552 :110) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 โดยภาพรวม มีความสัมพันธ์ในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เช่นกัน แสดงว่าผู้บริหารที่บริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสามารถพัฒนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ข้อเสนอแนะ ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาอาชีวเอกชนสุราษฎร์ธานี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ควรมีการดำเนินการ คือการให้การสนับสนุนผู้ตามเป็นรายบุคคล จากผลการวิจัยพบว่ามีค่าเฉลี่ยที่ต่ำสุด เพื่อให้เป็นการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ย่อมต้องมีการให้การสนับสนุนตามศักยภาพ ส่วนการบริหารงานวิชาการก็เป็นผลจากการขาดสิ่งที่นำมาสนับสนุน ครูและบุคลากรทางการศึกษาก็คือด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา จึงควรจะต้องส่งเสริม สนับสนุนในด้านการวิจัยให้มากเพื่อพัฒนาการศึกษาทางด้านอาชีวเอกชน