เงินรายได้ ปีงบประมาณ 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
ขอบเขตของการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
KKU : แผนระยะยาว พ. ศ ( ) : แผนระยะกลาง ( พ. ศ ) ครึ่งแผนหลัง ( พ. ศ ) : แผนระยะกลาง 2020 ( พ. ศ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ดร.พงษ์ศักดิ์ ศรีวรกุล ผู้อำนวยการวิทยาลัยชุมชนหนองบัวลำภู
โครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัย เพื่ออุตสาหกรรม (พวอ.)
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
ประชุมเชิงปฏิบัติการ “ จัดทำแผนพัฒนา บุคลากร ” ระยะ 4 ปี ( พ. ศ – 2554) คณะศิลปศาสตร์ 2 เมษายน 2551 ณ อาคารประเสริฐ ณ นคร.
การต่อเวลาราชการ 65 ปี สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น งานบริหารงานบุคคล กองการ เจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
การปฐมนิเทศ ข้าราชการใหม่ “ หลักสูตรการเป็น ข้าราชการที่ดี ” เขตสุขภาพที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ CHRO ณ 26 พค
เกณฑ์การประเมินเพื่อ เลื่อนระดับสูงขึ้น
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
QA สัญจร ประจำปี 2560 วันที่ 9-10 มีนาคม 2560.
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการส่งเสริมการท่องเที่ยว ชุมชนคุณธรรมฯ
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
สุภารัตน์ วังศรีคูณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
โครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
02/08/62 การศึกษาพลังงานทางเลือกจากมูลช้างทำถ่านอัดแท่ง สู่ชุมชนท้องถิ่นในเขตจังหวัดสุรินทร์ The Study of Alternative Fuel From Elephant Dung Made Bar.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรี พ. ศ
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เงินรายได้ ปีงบประมาณ 2559 การสนับสนุนทุนวิจัย เงินรายได้ ปีงบประมาณ 2559

ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทต่าง ๆ 14 ประเภท 1. เงินทุนพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยของอาจารย์ใหม่ เป็นเงินทุนสนับสนุนคณาจารย์และนักวิจัยที่เพิ่งสำเร็จการศึกษา ในการพัฒนาโครงการวิจัยขอรับทุนสนับสนุน การวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ทุนละ 50,000 บาท (สนับสนุนหมวดค่าใช้สอย และ หมวดวัสดุ) และสามารถรับทุน ได้เพียง 1 โครงการ (ไม่ถือเป็นทุนอุดหนุนการวิจัย) * ผลผลิตจากเงินทุน: Preliminary study + ข้อเสนอโครงการวิจัยที่ได้ยื่นขอรับทุนจากแหล่งทุนภายนอกแล้ว 2. ทุนพัฒนานักวิจัย เป็นทุนสนับสนุนโครงการวิจัยสำหรับอาจารย์และข้าราชการ (ยกเว้น วข.ปัตตานี) โครงการละไม่เกิน 100,000 บาท และงบประมาณสำหรับที่ปรึกษาโครงการละ 10,000 บาท สนับสนุนเฉพาะผู้จบ ป.โท หรือ ผู้ที่ไม่ได้เป็นหัวหน้าโครงการใด ๆ ย้อนหลัง 5 ปีขึ้นไป * ผลผลิตจากงานวิจัย : ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในฐาน TCI ขึ้นไป / ยื่นจดอนุสิทธิบัตร สิทธิบัตร

3. ทุนดรุณาจารย์ สนับสนุนอาจารย์ที่จบปริญญาเอกมาแล้วไม่เกิน 5 ปี สนับสนุนอาจารย์ที่จบปริญญาเอกมาแล้วไม่เกิน 5 ปี ผู้รับทุนต้องไม่เคยได้รับทุนจากแหล่งอื่นมาก่อน ยกเว้นรับทุนในลักษณะการพัฒนานักวิจัยในระดับคณะ/หน่วยงาน สามารถรับทุนดรุณาจารย์ได้ กรณีได้รับทุนอื่นที่อยู่ในระดับ/ลักษณะเดียวกับทุนดรุณาจารย์ ขอให้ยกเลิกการรับทุนดรุณาจารย์ ยกเว้น เป็นโครงการวิจัยต่างกัน สามารถรับทุนร่วมกันได้หากคณะ/หน่วยงานต้นสังกัดให้การสนับสนุน อาจารย์พี่เลี้ยงต้องสังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อสร้างเครือข่ายการวิจัยภายในมหาวิทยาลัย * ผลผลิตจากงานวิจัย : ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติฐาน ISI (โครงการวิจัย สายวิทยาศาสตร์ฯ) หรือ ฐาน Scopus (โครงการวิจัยสายสังคมศาสตร์ฯ) / ยื่นจดสิทธิบัตร

โครงการวิจัยสายวิทยาศาสตร์ โครงการวิจัยสายสังคมศาสตร์ 4. ทุนทั่วไป และสิ่งประดิษฐ์ เพื่อสนับสนุนโครงการวิจัยในสาขาวิชาต่าง ๆ ทั้งประเภทวิจัยพื้นฐาน วิจัยประยุกต์ โครงการละ 200,000-400,000 บาท มูลค่าทุน ผลผลิตจากงานวิจัย โครงการวิจัยสายวิทยาศาสตร์ โครงการวิจัยสายสังคมศาสตร์ ประเภทที่ 1 โครงการละไม่เกิน 200,000 บาท ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในฐาน Scopus หรือ จดอนุสิทธิบัตร ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI ขึ้นไป หรือ จดอนุสิทธิบัตร ประเภทที่ 2 โครงการละไม่เกิน 400,000 บาท ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในฐาน ISI หรือ จดสิทธิบัตร ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในฐาน Scopus หรือ จดสิทธิบัตร ประเภทที่ 3 โครงการละไม่เกิน 200,000 บาท (เป็นโครงการวิจัยเรื่องที่ 3**)

5. ทุนความร่วมมือกับต่างประเทศ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยในลักษณะที่เป็นความร่วมมือกับต่างประเทศ โครงการละ ประมาณ 400,000 บาท โดยเป็นงบประมาณจากมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และคณะ ร่วมสนับสนุนในสัดส่วน = 25 : 25 : 50 * ผลผลิตจากงานวิจัย : ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติฐาน ISI (โครงการวิจัย สายวิทยาศาสตร์ฯ) หรือ ฐาน Scopus (โครงการวิจัยสายสังคมศาสตร์ฯ) / ยื่นจดสิทธิบัตร 6. เงินทุนส่งเสริมศักยภาพการทำวิจัยของนักวิจัยรุ่นกลาง (ทุนใหม่) 1. สนับสนุนนักวิจัยรุ่นกลางให้ทำงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง โดยพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยขอรับทุนสนับสนุนนักวิจัยรุ่นกลางจาก สกว. และส่งเสริมการเป็นนักวิจัยอาชีพที่มีผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติ 2. คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์ได้รับทุน ตามที่ สกว. กำหนด และ ไม่เป็นผู้ค้างส่งรายงานวิจัย หรือ ผลงานวิจัย/ทุน ที่ได้รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย 3. โครงการที่เสนอขอเงินทุนฯ จะต้องเป็นโครงการที่ยื่นขอทุนจาก สกว. ในปีงบประมาณเดียวกัน 4. มูลค่าทุน 10,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายในการพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย หรือ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพื่อเสนอโครงการแบบบรรยายต่อ สกว. (ไม่ถือเป็นเงินทุนอุดหนุนโครงการวิจัย) 5. เบิกจ่ายเงิน 2 งวด ๆ ละ 50% 6. เปิดรับตั้งแต่ 15 มิ.ย.2559-31 มี.ค.2560 * ผลผลิตจากเงินทุน : ข้อเสนอโครงการวิจัยที่ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สกว.

7. ทุนตามนโยบายเชิงพื้นที่ (ประกาศเมื่อมีโจทย์วิจัย) สนับสนุนโครงการวิจัยที่เป็นโจทย์จากชุมชนหรือปัญหาจากชุมชน/อุตสาหกรรม วงเงินสนับสนุนขึ้นอยู่กับขนาด/ขอบเขตของปัญหา * ผลผลิตจากงานวิจัย : ตามเงื่อนไขของประกาศทุน 8. ทุน PSU-CIRPUS สนับสนุนโครงงานของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่เป็นงานวิจัยเพื่อแก้ปัญหา ของชุมชนหรืออุตสาหกรรมโดยสนับสนุนดังนี้ 1) โครงการด้านอุตสาหกรรมโครงการละ 40,000 บาท โดยอุตสาหกรรมที่เข้าร่วมโครงการสนับสนุนงบประมาณในลักษณะ in cash ไม่น้อยกว่า 20 % 2) โครงการด้านชุมชน สนับสนุนโครงการละไม่เกิน 50,000 บาท * ผลผลิตจากงานวิจัย : ข้อมูลสำหรับนำเสนอผลงานเป็นโปสเตอร์

9. ทุนเมธาจารย์ สนับสนุนนักวิจัยเพื่อให้สามารถทำวิจัยได้อย่างต่อเนื่อง ทุนละประมาณ 200,000 บาท โดยเป็นงบประมาณจากมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และคณะร่วมสนับสนุนในสัดส่วน = 25 :2 5 : 50 ผู้เสนอขอทุนมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ในฐาน ISI หรือ SCOPUS ในฐานะเจ้าของบทความชื่อแรก (first author) หรือ corresponding author อย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 2 เรื่อง/ปี ในระยะเวลา 3 ปีที่ผ่านมา โดยสามารถชดเชยผลงานวิจัยตีพิมพ์ด้วยสิทธิบัตรได้ในสัดส่วน 1 : 1 เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ หรือ สารนิพนธ์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ผู้ได้รับทุนจะต้องรักษาระดับการตีพิมพ์ที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยที่มีอยู่เดิม * ผลงานที่เกิดขึ้นหลังจากได้รับการสนับสนุน จะต้องสอดคล้องกับลักษณะของกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยสนับสนุน (ตามแต่จะตกลงเป็นรายกรณี) เช่น 1. ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในฐานข้อมูล ISI หรือ Scopus (ผลงานมีแนวโน้มสูงขึ้น) 2. นักศึกษาบัณฑิตศึกษาที่เกิดจากโครงการ 3. การเป็นอาจารย์พี่เลี้ยง (mentor) สำหรับทุนดรุณาจารย์ 4. โครงการวิจัยที่เสนอขอทุน 5. เงินทุนวิจัยที่ได้รับ 6. อื่น ๆ ตามที่ตกลงเป็นกรณีเฉพาะราย

10. ทุนปราชญาจารย์ สนับสนุนนักวิจัยที่มีผลงานตีพิมพ์ในฐานข้อมูล ISI จำนวนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 10 บทความ/ปี ในระยะเวลา 3 ปี เพื่อให้สามารถตีพิมพ์ผลงานได้มากขึ้น หรือไม่น้อยกว่าที่ผ่านมา โดยสนับสนุนไม่เกิน 1 ล้านบาท/คน/ปี ระยะเวลา 3 ปี (สำนักวิจัยฯ จะพิจารณาคัดเลือก) ผลผลติจากงานวิจัย : 1. ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการในฐานข้อมูล ISI หรือ สิทธิบัตร / อนุสิทธิบัตร (จำนวนตามที่ commit ไว้ในโครงการ) 2. การพัฒนานักวิจัยใหม่ เช่น การเป็นอาจารย์พี่เลี้ยง (mentor) สำหรับทุนดรุณาจารย์ 3. ตำราจากงานวิจัย หรือ ตำราที่ปรับปรุงเพิ่มเติมเพื่อให้สามารถขอตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น หรือ เพื่อการเผยแพร่/ จำหน่าย (จัดส่งเมื่อสิ้นสุดโครงการปีที่ 3) 4. ผลงานอื่น ๆ ตามที่ได้ตกลงกับมหาวิทยาลัย

12. ทุนสนับสนุนกิจกรรมการวิจัย ณ ต่างประเทศ 11. ทุนวิจัยสถาบัน เป็นทุนสนับสนุนงานวิจัยประเภทวิจัยสถาบัน โดยสนับสนุนเป็นค่าดำเนินการวิจัย โครงการละประมาณ 50,000 – 100,000 บาท (ทุน 100,000 บาท เป็นทุนประเภทกำหนดหัวข้อ) * ผลผลิตจากงานวิจัย : ผลการวิจัยที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการหรือพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 12. ทุนสนับสนุนกิจกรรมการวิจัย ณ ต่างประเทศ เพื่อพัฒนาบุคคลากรของมหาวิทยาลัยในลักษณะการฝึกอบรมเกี่ยวกับการวิจัย (กิจกรรมการวิจัยภายใต้ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ) ลักษณะกิจกรรมที่สนับสนุน ต้องมีลักษณะของการถ่ายทอดความรู้เพื่อเป็นประโยชน์ต่องานวิจัยของบุคคลากรที่กำลังทำอยู่ ระยะเวลา ไม่เกิน 4 เดือน งบสนับสนุน ไม่เกิน 200,000 บาท โดยมีสัดส่วนการสนับสนุน ระหว่าง ม. : วข. : คณะ = 25% : 25 % : 50 % * ผลผลิตจากทุนวิจัย : ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ ในฐาน ISI (โครงการวิจัยสายวิทยาศาสตร์ฯ) หรือ ฐาน Scopus (สำหรับโครงการวิจัยสายสังคมศาสตร์) และมีชื่อนักวิจัยจากสถาบันต่างประเทศเป็นผู้เขียนร่วม ภายใน 1 ปี หลังเดินทางกลับถึงประเทศไทย

13. โครงการแลกเปลี่ยนนักวิจัยระหว่างวิทยาเขต เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิจัยในมหาวิทยาลัยที่สังกัดต่างวิทยาเขตได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และ เกิดความร่วมมือด้านการวิจัยต่อไป โดยเป็นงบประมาณจากมหาวิทยาลัย วิทยาเขต และคณะร่วมสนับสนุนในสัดส่วน = 25 : 25 : 50 * ผลผลิตจากเงินทุน : 1. รายงานผลการดำเนินการโครงการ 2. ผลงานอื่น ๆ ตามที่ระบุในโครงการ

14. ทุนวิจัยพัฒนาเครือข่ายวิจัย (สาขาความเป็นเลิศ, สถานวิจัยความเป็นเลิศ, สถานวิจัย, หน่วยวิจัย) เป็นค่าใช้จ่ายในการ สนับสนุนการจัดตั้งเครือข่ายวิจัยโดยมหาวิทยาลัย วิทยาเขตและคณะร่วมสนับสนุนในสัดส่วน = 25 : 25 : 50 * ผลผลิตจากเงินทุน : 1. ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 2. จำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษา 3. ระยะเวลาเรียนของบัณฑิตศึกษา 4. ทุนวิจัยที่ได้รับจากแหล่งทุนภายนอก 5. จำนวนทุน คปก. หรือทุนอื่น ๆ ที่เทียบเท่า 6. ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ที่เพิ่มขึ้น 7. นักวิจัยใหม่ 8. ทรัพย์สินทางปัญญา , การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 9. จำนวนโครงการที่เสนอขอรับทุน

ระยะเวลาเสนอขอรับทุน ทุนทั่วไปและสิ่งประดิษฐ์ + ทุนดรุณาจารย์ รับโครงการ 2 รอบ คือ รอบแรก ปิด 30 พ.ย.2558 ประกาศผล 31 มี.ค.2559 รอบสอง ปิด 29 เม.ย.2559 ประกาศผล 24 ส.ค.2559 ทุนเมธาจารย์, ทุนปราชญาจารย์ สำนักวิจัยฯและคณะ/หน่วยงานสรรหา ทุนตามนโยบายเชิงพื้นที่ ประกาศทุนเมื่อมีโจทย์วิจัย ทุนอื่น ๆ เปิดรับตลอดปี กรณีทุนวิจัยที่เปิดรับตลอดปี หากสำนักวิจัยฯ ได้รับข้อเสนอ โครงการวิจัยหลังจากวันที่ 31 ก.ค.2559 และจัดสรรทุนสนับสนุนในปีงบประมาณ ที่เสนอขอไม่ทัน จะนำไปจัดสรรในปีต่อไป ทุน PSU-CIRPUS ปิดรับ 29 ก.ค.2559 ประกาศผล 31 ส.ค.2559

เส้นทางการขอทุนวิจัย.... สำหรับนักวิจัยใหม่

ไม่ได้รับการสนับสนุน ทุนพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยของอาจารย์ใหม่ ป.โท -งปม.แผ่นดิน -ทุนภายนอก -ทุนรายได้ ม. -ทุนเมธาจารย์ -เครือข่ายวิจัย -Excellence Lab. -ทุนปราชญาจารย์ ขอทุนภายนอกตามเงื่อนไขทุนพัฒนาศักยภาพฯ ทุนพัฒนานักวิจัย ไม่ได้รับการสนับสนุน ทุนพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยของอาจารย์ใหม่

ทุนพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยของอาจารย์ใหม่ ป.เอก -งปม.แผ่นดิน -ทุนภายนอก -ทุนรายได้ ม. -ทุนเมธาจารย์ -เครือข่ายวิจัย -Excellence Lab. -ทุนปราชญาจารย์ ทุนดรุณาจารย์ สกว. ไม่สนับสนุน (มีคุณสมบัติ) ทุนส่งเสริมนักวิจัย รุ่นใหม่ (สกว.) ทุนพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยของอาจารย์ใหม่

รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.rdo.psu.ac.th 6957, 6958