ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน (ระบบ DRMS) ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน (Department Research Management System : DRMS) หรือ ระบบ NRMS แบบ stand-alone/private เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ใช้งานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สำหรับการบริหารจัดการงานวิจัยและงบประมาณวิจัยทุนเงินรายได้ของหน่วยงาน โดยพัฒนาระบบตามกระบวนการทำงานของระบบบริหารจัดการงานวิจัยแห่งชาติ (National Research Management System : NRMS) URL ของระบบ คือ http://ชื่อภาษาอังกฤษของหน่วยงาน.drms.in.th
แผนภาพระบบ DRMS ระบบ NRMS ระบบ DRMS ระบบฐานข้อมูลนักวิจัย ระบบประเมินข้อเสนอการวิจัย ระบบดำเนินการและติดตามงานวิจัย ระบบประเมินผลงานวิจัย ระบบ NRMS ลงทะเบียนนักวิจัย ผู้ประสานหน่วยงาน ระดับคณะ/กอง/สถาบัน/สำนัก - นำเข้าข้อเสนอการวิจัย/โครงการวิจัย - ตรวจสอบข้อเสนอการวิจัย/โครงการวิจัย - บันทึกงบประมาณที่ได้รับจัดสรร/กำหนดงวดงาน - บริหารจัดการข้อมูลนักวิจัยและโครงการ นักวิจัย - นำเข้าข้อเสนอการวิจัย - รายงานความก้าวหน้าของโครงการ - ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ ระบบประเมินข้อเสนอการวิจัย ระบบดำเนินการและติดตามงานวิจัย ระบบประเมินผลงานวิจัย ระบบ DRMS เชื่อมโยงข้อมูลในรูปแบบ web service ผู้ประสานหน่วยงาน - นำเข้าข้อเสนอการวิจัย/โครงการวิจัย - ตรวจสอบข้อเสนอการวิจัย/โครงการวิจัย - บันทึกงบประมาณที่ได้รับจัดสรร/กำหนดงวดงาน - บริหารจัดการข้อมูลนักวิจัยและโครงการ ผู้ทรงคุณวุฒิ - ประเมินข้อเสนอการวิจัย - ประเมินรายงานความก้าวหน้า/รายงานฉบับสมบูรณ์ หัวหน้าหน่วยงาน - ดูรายงานภาพรวมของหน่วยงาน
ฟังก์ชั่นและคุณสมบัติของระบบ DRMS 1. ระบบติดตั้งที่เครื่องแม่ข่าย G-Cloud ของสำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (สรอ.) โดย วช. เป็นผู้ดำเนินการติดตั้งให้หน่วยงาน และแต่ละหน่วยงานจะมีฐานข้อมูลเป็นของตนเอง 2. มีฟังก์ชั่นการจัดการหน้าเว็บไซต์ของระบบ พร้อมทั้งสามารถประกาศข่าวทางหน้าเว็บไซต์ และระบบจะสามารถแสดงข่าวประกาศ จาก NRMS และทุนวิจัยที่เปิดรับของระบบ NRMS ได้ 3. หน่วยงานสามารถเปลี่ยนสี และรูปแบบของระบบ DRMS ของหน่วยงานตนเองได้
ฟังก์ชั่นและคุณสมบัติของระบบ DRMS 4. มีฟังก์ชั่นการประกาศทุนของหน่วยงาน เพื่อให้นักวิจัยในหน่วยงานยื่นข้อเสนอการวิจัยเข้าระบบ 5. การนำเข้าข้อมูลข้อเสนอการวิจัย หรือโครงการวิจัยจะเป็นไปตามรูปแบบ และแบบฟอร์มเดียวกับระบบ NRMS 6. มีฟังก์ชั่นการบริหารจัดการข้อเสนอการวิจัย ดังนี้ การตรวจสอบข้อเสนอการวิจัย ตรวจสอบความซ้ำซ้อน ตรวจสอบการติดค้างโครงการของนักวิจัย การประเมินข้อเสนอการวิจัยแบบออนไลน์ และการประกาศผลการพิจารณาข้อเสนอการวิจัย
ฟังก์ชั่นและคุณสมบัติของระบบ DRMS 7. มีฟังก์ชั่นการบริหารจัดการโครงการวิจัย ดังนี้ การตรวจสอบข้อมูลโครงการ การติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินการโครงการ การประเมินรายงานความก้าวหน้า หรือรายงานฉบับสมบูรณ์แบบออนไลน์ การเบิกจ่ายงบประมาณ และการปิดโครงการ 8. สามารถนำเข้าข้อมูลผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ของโครงการที่ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วได้ 9. มีระบบรายงานข้อเสนอการวิจัยและโครงการวิจัย และสามารถเลือกคอลัมน์การนำออกข้อมูลได้ตามต้องการ
ฟังก์ชั่นและคุณสมบัติของระบบ DRMS 10. มีระบบการจัดการข้อมูลนักวิจัยและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน 11. มีระบบแจ้งเตือนแบบ sms 12. มีฟังก์ชั่นการแชร์ทุนให้หน่วยงานอื่นร่วมบริหารจัดการ กรณีที่หน่วยงานมีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่น NRMS DRMS 13. สามารถเชื่อมโยงข้อมูลงานวิจัยและข้อมูลผู้ใช้งานของหน่วยงานกับระบบ NRMS ได้ ทั้งในส่วนของทุนงบประมาณแผ่นดิน และทุนของหน่วยงานเอง
หน้าระบบ DRMS http://nrct.drms.in.th
ระบบ NRMS และระบบ DRMS NRMS DRMS บริหารจัดการทุนเงินรายได้ของหน่วยงาน บริหารจัดการทุนงบประมาณแผ่นดิน ทุนวิจัยมุ่งเป้า และแหล่งทุนอื่นๆ บริหารจัดการทุนเงินรายได้ของหน่วยงาน ฐานข้อมูลอยู่ที่ G-Cloud โดย วช. เป็นผู้ดูแล ฐานข้อมูลอยู่ที่ G-Cloud โดยแต่ละหน่วยงานเป็นผู้ดูแลฐานข้อมูลของตนเอง วช.ดูแลเว็บไซต์ของระบบ หน่วยงานมีเว็บไซต์เป็นของตนเอง และตั้งค่าทั่วไปของเว็บไซต์ได้
การส่งข้อเสนอการวิจัยผ่านระบบ DRMS ภายในวันที่ 8 มิถุนายน 2561 (เฉพาะโครงการที่สนับสนุน) เอกสารแนบ 2 ช่องทาง 1. Login ผ่านระบบ NRMS 2. Login ผ่านเว็บ สวพ. 1. ข้อเสนอการวิจัย 2. แบบประเมินข้อเสนอการวิจัย ป-1p.2 3. เอกสารที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี) เช่น หนังสือรับรองการใช้สัตว์, หนังสือรับรอง กรณีหัวหน้าโครงการเป็นอัตราจ้าง
ใช้ข้อมูลเดียวกัน 2 ระบบ User : (NRMS) Password : (NRMS) ช่องทางที่ 1 ช่องทางที่ 2 การ Login ระบบ DRMS
การส่งข้อเสนอการวิจัย รายการข้อเสนอ
การสร้างข้อเสนอการวิจัย สร้างข้อเสนอการวิจัย
การเลือกข้อมูลทั่วไป เลือกข้อมูลทั่วไป
การจัดทำข้อเสนอการวิจัย ดำเนินการทั้งหมด
การแนบเอกสาร
การส่งข้อเสนอการวิจัย ส่งข้อเสนอการวิจัย
การกลับมาจัดการข้อเสนอการวิจัย (ยังไม่ยืนยันการส่ง) เลือก ข้อเสนอการวิจัย รายการข้อเสนอการวิจัย เลือก ปีงบประมาณข้อเสนอการวิจัย
ปฏิทิน การส่งข้อเสนอการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน 2563 ว-ด-ป กิจกรรม ผู้เกี่ยวข้อง 3 มิ.ย.61 ประกาศรับข้อเสนอการวิจัย ภายใต้แผนบูรณาการ มหาวิทยาลัย / สถาบันวิจัยและพัฒนา 4 มิ.ย.61 จัดทำข้อเสนอการวิจัย ภายใต้แผนบูรณาการ นักวิจัย 16 ก.ค. 61 ส่งข้อเสนอการวิจัย ถึงสถาบันวิจัยและพัฒนา นักวิจัย/คณะ/วิทยาลัย 24-25 ก.ค. 61 - ประชุมคณะอนุกรรมการมาตรฐานการวิจัย - ประชุมคณะกรรมการพิจารณาข้อเสนอการวิจัย และจัดลำดับความสำคัญข้อเสนอการวิจัยภายใต้แผนบูรณาการฯ คณะอนุกรรมการมาตรฐานการวิจัย คณะกรรมการจัดลำดับความสำคัญข้อเสนอการวิจัย 26 ก.ค. – 15 ส.ค. 61 - ปรับปรุงข้อเสนอการวิจัย นักวิจัย 15 ส.ค. 61 ส่งข้อเสนอการวิจัยถึงสถาบันวิจัยและพัฒนา 15 ส.ค. – 15 ก.ย. 61 ส่งข้อเสนอการวิจัยผ่านระบบ NRMS ประชุมเพื่อจัดลำดับความสำคัญแผนบูรณาการฯ นักวิจัย คณะกรรมการจัดลำดับความสำคัญแผนบูรณาการ 16 ก.ย.61 สรุปผลการพิจารณาให้มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยและพัฒนา 30 เม.ย.62 แจ้งผลการพิจารณาผ่านระบบ NRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
การส่งข้อเสนอการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน 2563 (ต่อ) นักวิจัยจัดทำข้อเสนอ ส่งข้อเสนอได้ไม่เกิน 2 เรื่อง กรอบการวิจัย 2 กรอบ 1. แผนบูรณาการมหาวิทยาลัย(ส่งข้อเสนอแผน) 2. แผนบูรณาการที่นักวิจัยรวมกลุ่มกัน (ส่งข้อเสนอการวิจัย, ส่งข้อเสนอแผนบูรณาการ การพิจารณา คณะกรรมการพิจารณาข้อเสนอการวิจัย รายแผนบูรณาการ ไม่สนับสนุน ส่งรายละเอียดให้ วช. 1. ส่งเอกสาร 3 ชุด 2. ส่งข้อมูลในระบบ NRMS สวพ. ตรวจสอบข้อมูล 1. ความถูกต้องสมบูรณ์ข้อมูล 2. ใส่ลำดับความสำคัญ ข้อเสนอ, แผนบูรณาการฯ ส่งเข้าระบบ NRMS ให้เป็นไปตาม วช. กำหนด (จะแจ้งรายละเอียดอีกครั้ง) **ส่งเอกสาร, ส่งในระบบ สนับสนุน