โดย นางพรพรรณ โชติพฤกษวัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
แนวทางการบริหารงบประมาณ
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การรายงานข้อมูลในโปรแกรม School MIS กลุ่มงานวัดและประเมินผล สพป. พิษณุโลก เขต 3.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
การบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค. การปรับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ๑. เหตุผลความจำเป็น ๒. การใช้อำนาจ รมว.ศธ.ในการแต่งตั้งคณะกรรมการ.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่ วิชาชีพ สถานศึกษา พอเพียง การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา.
มาตรฐานที่ ๓ ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา ผลการบริหารและ การจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
Boot Camp & Regional English Training Centres
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
โครงสร้างหลักสูตร “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”.
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อ.พรพรรณ โชติพฤกษวัน ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หลักเทคนิคการเขียน SAR
ระบบการบันทึกประวัติการปฏิบัติงานของข้าราชการครู (Logbook Teacher)
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
พิธีการส่งของออกทางบกที่ด่านศุลกากร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ระบบงานรับสมัครนักเรียนใหม่ 61
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เอกสารหลักฐานการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดย นางพรพรรณ โชติพฤกษวัน ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ปพ.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน ปพ.๑ : ป ระเบียนแสดงผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา ปพ.๑ : พ ระเบียนแสดงผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปพ.๑ : บ ระเบียนแสดงผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ปพ.๒ ประกาศนียบัตร ปพ.๒ : บ ประกาศนียบัตร สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาภาคบังคับ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓) ปพ.๒ : พ ประกาศนียบัตร สำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖)

เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด ปพ.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา ปพ.๓ : ป แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา ปพ.๓ : พ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ปพ.๓ : บ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา แบบรายงานประจำตัวนักเรียน ใบรับรองผลการเรียน ระเบียนสะสม

การสั่งซื้อ และควบคุม ปพ.๑/ปพ.๒

สถานศึกษาทำหนังสือขอซื้อแบบพิมพ์ต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผอ.สพท. ทำหนังสือสั่งซื้อแบบพิมพ์ ถึงองค์การค้าของ สกสค. โดยระบุชื่อ-นามสกุลบุคลากรของ สพท. ที่ได้รับมอบฉันทะให้เป็นผู้ดำเนินการจัดซื้อ ทั้งนี้ให้ผู้ที่ได้รับมอบฉันทะนำบัตรประจำตัวประชาชน/ บัตรข้าราชการไปแสดงต่อองค์การค้าของ สกสค. ด้วย โดยระบุชื่อ-นามสกุลครู/บุคลากรของสถานศึกษา ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ดำเนินการจัดซื้อรับมอบฉันทะ ทั้งนี้ให้ผู้ได้รับมอบฉันทะนำบัตรประจำตัวประชาชน/ บัตรข้าราชการไปแสดงต่อองค์การค้าของ สกสค. ด้วย กรณีที่ ๑ : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นผู้ดำเนินการจัดซื้อ กรณีที่ ๒ : โรงเรียนได้รับมอบหมาย เป็นผู้ดำเนินการจัดซื้อเอง สถานศึกษาทำหนังสือขอซื้อแบบพิมพ์ต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้รับมอบฉันทะของ สพท. นำแบบพิมพ์ลงบัญชีรับ-จ่าย แบบพิมพ์ของ สพท. ผู้รับมอบฉันทะของสถานศึกษานำแบบพิมพ์ลงบัญชีรับ-จ่าย แบบพิมพ์ของ สพท. สพท.แจ้งให้สถานศึกษามารับแบบพิมพ์ ที่ได้สั่งซื้อไว้ สถานศึกษานำแบบพิมพ์ลงบัญชี รับแบบพิมพ์ของสถานศึกษาต่อไป ผู้รับมอบฉันทะของสถานศึกษา นำแบบพิมพ์ลงบัญชีรับแบบพิมพ์ ของสถานศึกษาต่อไป เมื่อได้รับแบบพิมพ์แล้ว เมื่อได้รับแบบพิมพ์แล้ว

การสั่งซื้อ ควบคุม และการจัดเก็บรักษา ปพ.๓ การสั่งซื้อ ควบคุม และการจัดเก็บรักษา ปพ.๓

สั่งซื้อ ปพ.๓ ระดับประถมศึกษา จัดทำ ๒ ชุด ควบคุม/ การจัดเก็บ สถานศึกษาสั่งซื้อโดยตรง ที่องค์การค้า สกสค. ควบคุม/ การจัดเก็บ ระดับประถมศึกษา จัดทำ ๒ ชุด ชุดที่ ๑ เก็บที่สถานศึกษา ชุดที่ ๒ เก็บที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ระดับมัธยมศึกษา จัดทำ ๓ ชุด ชุดที่ ๑ เก็บที่สถานศึกษา ชุดที่ ๒ เก็บที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ชุดที่ ๓ เก็บที่ สพฐ.

การสั่งซื้อ/จัดเก็บ สพป. – สถานศึกษาในสังกัด - สังกัดอื่น สพม. – เฉพาะสังกัด สพม. (ตามประกาศเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่การศึกษา)

การจัดเก็บ ปพ.๓ สำหรับหน่วยงานต้นสังกัดอื่น ให้สถานศึกษาจัดทำ ปพ.๓ เพิ่มจากข้อกำหนด ทั้งนี้ให้เป็นไปตามข้อตกลงระหว่าง ต้นสังกัดกับสถานศึกษา ปพ.๓ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ที่จัดเก็บไว้ที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาก่อนการกำหนด แก้ไขเปลี่ยนแปลงเขตพื้นการศึกษา ให้จัดเก็บที่สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาที่เป็นต้นสังกัดของสถานศึกษา

การจัดทำและกรอกข้อมูลใน ปพ.๑ ให้จัดทำและออก ปพ.๑ ให้กับนักเรียน เมื่อ จบการศึกษา หรือขอลาออกจากสถานศึกษา ต้นฉบับ ปพ.๑ ไม่ต้องติดรูปถ่าย ไม่ต้องลง นามนายทะเบียนและผู้อำนวยการโรงเรียน ถ่ายสำเนาต้นฉบับ ๒ ฉบับ โดยติดรูปถ่าย นักเรียน และ ให้นายทะเบียนและผู้อำนวยการโรงเรียนลง นาม ให้สถานศึกษาทำบัญชีจ่าย ปพ.๑ และบันทึก ในสมุดหมายเหตุรายวันทุกครั้งที่มีการออก เอกสาร

การกรอกจำนวนชั้นปีใน ปพ.๑ : ป (ระดับประถมศึกษา) การกรอกจำนวนชั้นปีใน ปพ.๑ : ป (ระดับประถมศึกษา) โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรและโรงเรียนที่มี ความพร้อมใช้ (เริ่มใช้หลักสูตร ๕๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๒) ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ป.๑(๔๔) ป.๒(๔๔) ป.๓(๔๔) ป.๔(๔๔) ป.๕(๔๔)

การกรอกจำนวนชั้นปีใน ปพ. ๑ : ป (ระดับประถมศึกษา) การกรอกจำนวนชั้นปีใน ปพ. ๑ : ป (ระดับประถมศึกษา) โรงเรียนทั่วไป (เริ่มใช้หลักสูตร ๕๑ ปี การศึกษา ๒๕๕๓) ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ป.๑(๔๔) ป.๒(๔๔) ป.๓(๔๔) ป.๔(๔๔) ป.๕(๔๔)

แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนรายวิชาหน้าที่พลเมือง ให้สถานศึกษาจัดวิชาหน้าที่พลเมือง เป็นรายวิชาเพิ่มเติม ระดับประถมศึกษา (ป. ๑ – ๖) ๔๐ ชั่วโมง/ปี ๖ รายวิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม. ๑ – ๓) ๖ รายวิชา (๓ หน่วยกิต) ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย (ม. ๔ – ๖) ๘๐ ชั่วโมง/๓ ปี ๔ รายวิชา (๒ หน่วยกิต)

แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนรายวิชาหน้าที่พลเมือง ภาคเรียนที่ ๒ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ระดับประถมศึกษา (ป. ๑ – ๖) ๒๐ ชั่วโมง ป.๑ – หน้าที่พลเมือง ๑ ป.๒ – หน้าที่พลเมือง ๒ ป.๓ – หน้าที่พลเมือง ๓ ป.๔ – หน้าที่พลเมือง ๔ ป.๕ – หน้าที่พลเมือง ๕ ป.๖ – หน้าที่พลเมือง ๖ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม. ๑ – ๓) ๒๐ ชั่วโมง/ภาค (๐.๕ หน่วยกิต) ม.๑ – หน้าที่พลเมือง ๒ ม.๒ – หน้าที่พลเมือง ๔ ม.๓ – หน้าที่พลเมือง ๖ ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย (ม. ๔ – ๖) ๒๐ ชั่วโมง/ภาค(๐.๕ หน่วยกิต) ม.๔ – หน้าที่พลเมือง ๑ ม.๕ – หน้าที่พลเมือง ๒ ม.๖ – หน้าที่พลเมือง ๔

การกำหนดรหัสรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ส๑๑๒๓๑ หน้าที่พลเมือง ๑ ส๒๑๒๓๑ หน้าที่พลเมือง ๑ ส๓๐๒๓๑ หน้าที่พลเมือง ๑ ส๑๒๒๓๒ หน้าที่พลเมือง ๒ ส๒๑๒๓๒ หน้าที่พลเมือง ๒ ส๓๐๒๓๒ หน้าที่พลเมือง ๒ ส๑๓๒๓๓ หน้าที่พลเมือง ๓ ส๒๒๒๓๓ หน้าที่พลเมือง ๓ ส๓๐๒๓๓ หน้าที่พลเมือง ๓ ส๑๔๒๓๔ หน้าที่พลเมือง ๔ ส๒๒๒๓๔ หน้าที่พลเมือง ๔ ส๓๐๒๓๔ หน้าที่พลเมือง ๔ ส๑๕๒๓๕ หน้าที่พลเมือง ๕ ส๒๓๒๓๕ หน้าที่พลเมือง ๕ ส๑๖๒๓๖ หน้าที่พลเมือง ๖ ส๒๓๒๓๖ หน้าที่พลเมือง ๖

การกรอกข้อมูลรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง (ระดับประถมศึกษา) ชั้น ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ป.๑ ส๑๑๒๓๑ ๒๐ ชม. ป.๒ ส๑๒๒๓๒ ๔๐ ชม. ป.๓ ส๑๓๒๓๓ ส๑๓๒๓๓ ๔๐ ชม. ป.๔ ส๑๔๒๓๔ ส๑๔๒๓๔ ๔๐ ชม. ป.๕ ส๑๕๒๓๕ ส๑๕๒๓๕ ๔๐ ชม. ป.๖ ส๑๖๒๓๖ ๒๐ ชม. ส๑๖๒๓๖ ๔๐ ชม.

การกรอกข้อมูลรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง (ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น) ชั้น ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ม.๑ ส๒๑๒๓๒ ๒๐ ชม. (๐.๕ นก.) ม.๒ ส๒๒๒๓๔ ๒๐ ชม. ส๒๒๒๓๓ ๒๐ ชม. ม.๓ ส๒๓๒๓๖ ๒๐ ชม. ส๒๓๒๓๕ ๒๐ ชม.

การกรอกข้อมูลรายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง (ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย) ชั้น ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ภาคเรียนที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ม.๔ ส๓๐๒๓๑ ๒๐ ชม. (๐.๕ นก.) ม.๕ ส๓๐๒๓๒ ๒๐ ชม. ส๓๐๒๓๓ ๒๐ ชม. ม.๖ ส๓๐๒๓๔ ๒๐ ชม.

ยกเลิก

ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว ๓๘๗ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว ๓๘๗ ลงวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๗๐ : ๓๐

รายวิชาเพิ่มเติม ส15235 หน้าที่พลเมือง 5 20 รายวิชาเพิ่มเติม ปีการศึกษา 2553 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 รายวิชาเพิ่มเติม ส15235 หน้าที่พลเมือง 5 20 ปีการศึกษา 2554 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 25565 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2558 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม ส16236 หน้าที่พลเมือง 6 40

3.20 3.20*0.7 = 5 วิชา สทศ. 70 30 1+2 เป็นโรงเรียนในโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ปีการศึกษา 2558

ส23235 หน้าที่พลเมือง 5 0.5 ส23234 หน้าที่พลเมือง 4 ปีการศึกษา 2556 ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ส23234 หน้าที่พลเมือง 4 ปีการศึกษา 2558 ชั้น ม.3 ภาคเรียนที่ 1 ส23235 หน้าที่พลเมือง 5 ภาคเรียนที่ 2 ส23236 หน้าที่พลเมือง 6 0.5 0.5 0.5

3.42 5 วิชา 3.42*0.7 = 70 30 สทศ. 1+2

ส30235 หน้าที่พลเมือง 5 0.5 ส30234 หน้าที่พลเมือง 4 ปีการศึกษา 2556 ชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ชั้น ม.5 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ส30234 หน้าที่พลเมือง 4 ปีการศึกษา 2558 ชั้น ม.6 ภาคเรียนที่ 1 ส30235 หน้าที่พลเมือง 5 ภาคเรียนที่ 2 ส30236 หน้าที่พลเมือง 6 0.5 0.5 0.5

3.15 5 วิชา 3.15*0.7 = 70 30 สทศ. 1+2

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 - ไม่มีหลักฐานตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร

11 12 13 14 1 5

การกรอก ปพ.3 ช่อง “สำเร็จการศึกษาภาคเรียนที่............ปีการศึกษา ........................ ภาคเรียนที่ 1 ตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม – 31 ตุลาคม ภาคเรียนที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน – 15 พฤษภาคม

การเทียบโอนจากการศึกษาในระบบสู่การศึกษาในระบบ เทียบโอนรายวิชาที่ผ่านการตัดสินผลการเรียนจากสถานศึกษาเดิมได้ทั้งหมดและจัดเข้าเรียนต่อเนื่อง วิธีปฏิบัติในการจัดเข้าชั้นเรียน ให้เป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษาเดิม จำนวนหน่วยกิต/ หน่วยการเรียน/หน่วยน้ำหนัก ยอมรับผลการเรียนของสถานศึกษาเดิม ผลการเรียน/ผลการประเมิน ไม่ต้องนำรายวิชาและผลการเรียนเดิมกรอกในใบแสดงผลการเรียนใหม่ แต่ให้แนบ และบันทึกจำนวนหน่วยที่ได้รับการเทียบโอน ไว้ในช่องหมายเหตุ การบันทึกผลการเรียน ในใบแสดงผลการเรียน ให้นำผลการเรียนและจำนวนหน่วยจากสถานศึกษาเดิมมาคิดรวมกับผลการเรียนและจำนวนหน่วยของสถานศึกษาใหม่ และคิดผลการเรียนเฉลี่ยรวมตลอดระดับการศึกษา การคิดผลการเรียนเฉลี่ย

การเทียบโอนจากการศึกษาหลักสูตรต่างประเทศ สู่การศึกษาในระบบ พิจารณาเทียบโอนภาคเรียนต่อภาคเรียน ปีต่อปี วิธีปฏิบัติในการจัดเข้าชั้นเรียน ให้เป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษาที่รับเข้าเรียน จำนวนหน่วยกิต/ หน่วยการเรียน/หน่วยน้ำหนัก ผลการประเมินเพิ่มเติมให้เป็นไปตามที่สถานศึกษาที่รับเข้าเรียนกำหนด ผลการเรียน/ผลการประเมิน ให้กรอกรายชื่อรายวิชาและจำนวนหน่วยของสถานศึกษาที่รับเข้าเรียนในใบแสดงผลกาเรียน ไม่ต้องกรอกผลการเรียน การบันทึกผลการเรียน ในใบแสดงผลการเรียน ให้คิดผลการเรียนเฉลี่ยจากรายวิชาที่มีจำนวนหน่วยและระดับผลการเรียนที่ได้จากการเรียนในสถานศึกษาใหม่ การคิดผลการเรียนเฉลี่ย

ปัจจุบันจะมีนักเรียนเรียนอยู่ในโรงเรียน จำนวน ๓ กลุ่ม กลุ่มที่ ๑ เด็กไทยสัญชาติไทย (เลข ประจำตัวประชาชน ๑๓ หลัก ตาม ท.ร. ๑๔) กลุ่มที่ ๒ กลุ่มเด็กตามมติ คณะรัฐมนตรี ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ และตาม พ.ร.บ.การทะเบียน ราษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ของ กระทรวงมหาดไทย (มีเลขประจำตัว ๑๓ หลัก) กลุ่มที่ ๓ กลุ่มเด็กไม่เข้าเกณฑ์ของ กระทรวงมหาดไทย (ไม่มีเลข ๑๓ หลัก)

การอนุมัติจบการศึกษา สถานศึกษาสามารถอนุมัติจบการศึกษาให้ผู้เรียนได้ ตลอดปี โดยไม่ต้องรอจนถึง ปลายภาคหรือปลายปีการศึกษา ควรคำนึงถึงสิทธิ ประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสำคัญ การอนุมัติจบการศึกษาพร้อมรุ่น การจบการศึกษาในรุ่นปกติ อนุมัติให้จบการศึกษา ภายในวันเดือนปีเดียวกัน การอนุมัติจบการศึกษาไม่พร้อมรุ่น ไม่จบการศึกษาในรุ่นปกติ ต้องเรียนต่อเพื่อให้จบ หลักสูตร แก้ไขผลการเรียน เมื่อมีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์การจบการศึกษาแล้ว สามารถอนุมัติให้จบได้ หนังสือ สพฐ. ที่ ศธ ๐๔๐๑๐/ว๒๒๔ ลงวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖

การจำหน่ายนักเรียน ที่มา : แนวทางการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.การศึกษาภาค บังคับ พ.ศ. ๒๕๔๕ สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.

จำหน่ายนักเรียน ๕ สาเหตุ นักเรียนย้ายสถานศึกษา นักเรียนถึงแก่กรรม นักเรียนหยุดเรียนติดต่อกันเป็นเวลานาน ไม่มี ตัวตนของผู้ปกครองและนักเรียนอยู่ในพื้นที่ และไม่แจ้งย้ายที่อยู่ นักเรียนอายุพ้นเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับ นักเรียนเรียนจบการศึกษา กรณีที่ ๑ นักเรียนเรียนจบชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ สำหรับสถานศึกษา ที่ไม่ได้รับอนุญาตให้เปิดสอนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น กรณีที่ ๒ นักเรียนเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ.๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ ระดับมาก การกรอกวัน เดือน ปี ที่อนุมัติจบหลักสูตร ไม่ เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วย การเปิดและปิดสถานศึกษา โดยนำวันที่ใน หนังสือนำส่งหรือวันที่ผู้บริหารลงนามมากรอก, อนุมัติการจบหลักสูตรซ้ำซ้อน การกรอกภาคเรียน ปีการศึกษา และวันอนุมัติ จบหลักสูตรไม่สอดคล้องกัน กรอกเลขที่ ปพ.2 ซ้ำซ้อนหรือข้ามเลขที่หรือ กรอกเลขที่เกินจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา หรือ ไม่กรอกเลขที่ ปพ.2 กรอกเลขที่ ปพ.2 แต่ไม่เริ่มด้วยเลขที่ “1” เมื่อมี การอนุมัติการจบหลักสูตรใหม่ เช่น กรอกเลขที่ ปพ.2 ต่อจากรุ่นที่อนุมัติการจบการศึกษาก่อน หน้า

สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ.๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ ระดับมาก กรอกจำนวนหน่วยกิตรายวิชาที่เรียน/ที่ได้ ไม่ผ่าน ตามเกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้นซึ่ง ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต กรอกผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็น จำนวนหน่วยน้ำหนัก เช่น ๙.๐/๙.๐ ซึ่งตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐานต้องกรอกเป็น “ผ่าน” เท่านั้น ไม่ขีดเส้น ใต้ชื่อนักเรียนคนสุดท้าย และผู้บริหารไม่ ลงลายมือชื่อรับรอง โรงเรียนใช้แบบพิมพ์ไม่ตรงระดับชั้น เช่น จัดทำ ปพ.๓ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หรือระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย แต่ใช้รูปแบบช่องตาราง ของ ระดับประถมศึกษา

สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ.๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ ระดับมาก รูปแบบของแบบพิมพ์ ปพ.๓ ไม่ถูกต้องตาม ระเบียบ คือ ช่องตาราง มีการสลับตำแหน่งกัน ดังนี้ - ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ซึ่งตาม หลักสูตรแกนกลางช่องนี้ ต้องอยู่ก่อนช่องหมายเหตุ) - ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ เขียน - ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ.๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ ระดับปานกลาง โรงเรียนจัดส่ง ปพ.๓ ไม่ตรงตามกำหนดเวลา หลังจากอนุมัติจบหลักสูตร แต่ละรุ่น กรอกชื่อ-ชื่อสกุลผู้เรียน บิดา-มารดา ไม่ ครบถ้วน และไม่ระบุใน ช่องหมายเหตุ กรณีไม่มีหลักฐานตามกฎหมาย ว่าด้วยการทะเบียนราษฎร กรอกคำนำหน้าชื่อด้วยคำย่อหรือไม่กรอกคำ นำหน้าชื่อ การกรอกข้อมูลในแบบพิมพ์ไม่ครบตามที่ กำหนด คือ ต้องกรอกข้อมูลด้านหน้าที่มีตรา ครุฑ จำนวน ๑๐ คน ด้านหลัง จำนวน ๑๔ คน

สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ.๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ ระดับปานกลาง กรอกข้อมูลเฉพาะด้านหน้าที่มีตราครุฑในทุกแผ่น เท่านั้น โดยไม่ใช้ด้านหลังแบบพิมพ์ กรณีพิมพ์แบบพิมพ์ ปพ.๓ ด้านหลังจำนวน ๑๔ คน ข้อมูลจะทับซ้อนกับ ตราขององค์การค้า ทำให้ข้อมูลไม่ชัดเจน

สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ.๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ ระดับน้อย โรงเรียนไม่ใช้แบบพิมพ์ที่กระทรวงศึกษาธิการ กำหนด โรงเรียนไม่จัดทำหนังสือนำส่ง โรงเรียนจัดส่ง ปพ.๓ เป็นฉบับสำเนามาจัดเก็บที่ สพฐ. ผู้เขียน ผู้ทาน ผู้ตรวจ นายทะเบียนและผู้บริหาร ไม่ลงนามหรือลงนาม ไม่ครบทุกแผ่น หรือผู้เขียน ผู้ทาน ผู้ตรวจ และ นายทะเบียน ลงชื่อด้วยตัวบรรจง กรอกเลขประจำตัวประชาชนไม่ครบ ๑๓ หลัก, กรอกเลขประจำตัวประชาชนไม่ถูกต้อง

สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ.๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ ระดับน้อย กรอกชุดที่ ปพ.๑ ไม่ครบจำนวนหลักที่กำหนด (กำหนดไว้ ๕ หลัก), กรอกเลขที่ ปพ.๑ ซ้ำกัน นำข้อมูลของผู้เรียนที่ไม่สำเร็จการศึกษามากรอก แล้วขีดเส้นฆ่าข้อมูลยาวตลอดบรรทัดแล้วจึงกรอก ข้อมูลของผู้สำเร็จการศึกษาคนต่อไปในบรรทัด ถัดไป กรอกข้อมูลไม่ชัดเจน ไม่เขียนด้วยตัวบรรจง(กรณี กรอกด้วยการเขียน) หรือ สีหมึกซีดจาง (กรณีพิมพ์ดีดหรือคอมพิวเตอร์) เมื่อกรอกข้อมูลผิดพลาดไม่ใช้ปากกาหมึกสีแดงขีด ฆ่าแล้วเขียนใหม่ แต่เขียนซ้ำข้อมูลเดิม, เมื่อมีการ แก้ไขข้อมูลที่กรอกผิดพลาดไม่ให้ผู้บริหารลงนาม กำกับ

สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ สรุปปัญหาที่พบในการดำเนินงานเกี่ยวกับ ปพ.๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ ระดับน้อย ช่องจำนวน ผู้สำเร็จการศึกษา ผู้เขียน/ผู้พิมพ์ ผู้ทาน ผู้ตรวจ นายทะเบียน จัดทำในแผ่น สุดท้ายเพียงหน้าเดียว ซึ่งข้อมูลดังกล่าวต้อง ปรากฏทุกแผ่นเฉพาะด้านหน้าที่มีตราครุฑ และ ต้องกรอกด้วยข้อมูลเดียวกัน(เหมือนกัน) ทุก แผ่น เมื่อส่ง ปพ.๓ ไปให้สถานศึกษาแก้ไขตาม รายละเอียดที่ทักท้วงแล้วนั้น สถานศึกษาได้ จัดทำ ปพ.๓ ฉบับใหม่ส่งกลับมายัง สพฐ. โดย ผู้อนุมัติการจบหลักสูตรและนายทะเบียนมิใช่ บุคคลเดิม

ขอบคุณค่ะ