ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

การชี้แจงรายละเอียดและเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัดของหน่วยงาน ตามคำรับรองฯ ปีงบประมาณ พ.ศ.2557.
กองแบบแผน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศการพัฒนาปศุสัตว์
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ชี้แจงและถ่ายทอดตัวชี้วัด การประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานขององค์การมหาชน รายละเอียดตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนนตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตาม มาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ รายละเอียดตัวชี้วัดและเกณฑ์การให้คะแนนตามตัวชี้วัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ชมรมจริยธรรมศูนย์ฯ๗.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน)
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
ระดับความสำเร็จในการแก้ไข เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
การติดตาม (Monitoring)
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 4 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน

ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน การที่หน่วยงานสามารถจัดการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงภายในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีผลการใช้ไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงลดลงได้อย่างน้อยร้อยละ 10 ของปริมาณการใช้มาตรฐาน การประหยัดพลังงาน พิจารณาจากการใช้พลังงาน 2 ชนิด ได้แก่ ไฟฟ้า และน้ำมันเชื้อเพลิง ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัยต้องจัดทำคำรับรองฯตัวชี้วัดนี้

การประเมินผล พิจารณาจากความครบถ้วนของข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐานและค่าดัชนีการใช้พลังงาน ข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานจริงของหน่วยงาน ข้อมูลการติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรการประหยัดพลังงานที่รายงานทางเว็บไซต์ www.e-report.energy.go.thและผลการประหยัดพลังงานตามเกณฑ์การให้คะแนน

สูตรการคำนวณค่าดัชนีการใช้พลังงาน ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Utilization Index : EUI) = (90% ของปริมาณการใช้พลังงานมาตรฐาน)–ปริมาณการใช้พลังงานจริง ปริมาณการใช้พลังงานจริง

เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ขั้นตอน เกณฑ์การให้คะแนน ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง   ขั้นตอน เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง 1 มีการติดตามและรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานด้านไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงของปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 - มีนาคม 2559) และรอบ 12 เดือน (เมษายน 2559 - กันยายน 2559) ตามรูปแบบที่สนพ. กำหนด 0.5 2 2.1 มีการรายงานข้อมูลพื้นฐานสำหรับการประเมินปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐาน และค่าดัชนีการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ สนพ. กำหนดได้แล้วเสร็จและครบถ้วน 12 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึงเดือนกันยายน 2559 2.2 มีการรายงานข้อมูลปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้จริง (kWh; กิโลวัตต์-ชั่วโมง/ลิตร) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ครบถ้วน 12 เดือน นับตั้งแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึงเดือนกันยายน 2559 0.25   0.25   0.25 3 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2559 ตามสูตรการคำนวณที่สนพ. กำหนด โดยอยู่ในช่วง -0.200 ถึง -0.333 4 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2559 ตามสูตรการคำนวณที่สนพ. กำหนด โดยอยู่ในช่วง -0.091 ถึง -0.199 5 มีผลการคำนวณ EUI ด้านการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิง ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2559 ตามสูตรการคำนวณที่ สนพ. กำหนด โดยอยู่ในช่วง 0 ถึง -0.090 รวม 2.5

สูตรการคำนวณหาปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐานตามลักษณะของหน่วยงาน สำนักนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)ได้กำหนดสูตรการคำนวณหาปริมาณการใช้ไฟฟ้า/น้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐานตามลักษณะของหน่วยงาน ดังนี้ หน่วยงานระดับกรม ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(1.294 × จำนวนบุคลากร) + (0.053 × พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร) + (14.64 × เวลาทำการ) + (0.016 × จำนวนผู้เข้ามาใช้ บริการ)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (2.814 × จำนวนบุคลากร) + 4,065.05 สำนักงานทั่วไป (หน่วยงานส่วนกลาง ศูนย์ห้องปฏิบัติการ ศพส. กทป. ใช้สูตรนี้) ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(1.501 × จำนวนบุคลากร) + (0.002 × พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร) +(0.439 × เวลาทำการ) + (0.002 × จำนวนผู้เข้า มาใช้บริการ)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (6.917 × จำนวนบุคลากร) + (0.841 × ขนาดของพื้นที่ให้บริการ)0.5 + (5.638 × ระยะห่างจากตัวจังหวัด) โรงพยาบาล (ศูนย์อนามัยที่ 1-13 ใช้สูตรนี้เพราะมีผู้ป่วยนอกและเตียงผู้ป่วยใน) ไฟฟ้ามาตรฐาน = [(0.108 × จำนวนบุคลากร) + (0.050 × พื้นที่ใช้สอยภายในอาคาร) + (8.898 × จำนวนเตียง) + (0.194 × จำนวนผู้ป่วยนอก) + (0.040 × จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน)] × อุณหภูมิ น้ำมันมาตรฐาน = (0.531 × จำนวนบุคลากร) + (0.248 × จำนวนวันนอนรวมผู้ป่วยใน) + (0.161 × พื้นที่ของจังหวัดที่ตั้ง) + (10.397 × ระยะห่าง จากจังหวัด)

จากสูตรการคำนวณหาปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงมาตรฐาน จะเห็นว่า 1) สูตรการคำนวณน้ำมันมาตรฐานของกรม ไม่มีพื้นที่และระยะทางเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งหลักคิดของ สนพ. คือ กรมเป็นหน่วยงานวิชาการที่ไม่ต้องออกไปให้บริการในพื้นที่ มีแต่การเดินทางไปติดต่อราชการในพื้นที่ใกล้เคียง 2) สูตรการคำนวณน้ำมันมาตรฐานของศูนย์อนามัย ซึ่งมีพื้นที่รับผิดชอบหลายจังหวัด แต่ตัวเลขพื้นที่และระยะทางที่ใช้ในการคำนวณจะเป็นพื้นที่ของจังหวัดที่ตั้งและระยะห่างจากตัวจังหวัดที่ตั้ง อีกทั้งปริมาณน้ำมันที่รายงานเข้าระบบจะไปรวมกับจังหวัดที่เป็นที่ตั้งของศูนย์อนามัยเท่านั้น

กรมอนามัยจึงขอให้ทุกหน่วยงานในสังกัด ดำเนินการดังนี้ หน่วยงานควรบันทึกปริมาณการใช้น้ำมันเชื้อเพลิงทั้งหมดตามใบเสร็จรับเงินที่ผู้จำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงได้ออกให้ เก็บไว้ที่หน่วยงานเพื่อใช้ประโยชน์ ในการวางแผนการดำเนินงานของหน่วยงานต่อไป

สวัสดี