กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
Advertisements

วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
ทำงานให้สำเร็จและมีความสุข
การจัดบริการคลินิกชะลอไตเสื่อม(CKD Clinic)
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
ผู้เยี่ยมเสริมพลังลงพื้นที่เยี่ยมเสริมพลัง รพ.สต.ติดดาว
แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังฯ
ประเด็นนำเสนอ(DM/HT,Stroke,CPOD)
ครั้งที่ 8/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ทิศทาง/นโยบายการดำเนินงาน NCDs & Injury
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงาน คปสอ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
ทิศทางการพัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ ปี 2559
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
การประเมิน RF 4.1 โรคไม่ติดต่อรอบ 2
Update data NCD มีนาคม 2560 Update data NCD เดือน มีนาคม 2559.
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
สรุปผลการตรวจราชการฯ
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
นโยบาย การป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สร้างเครือข่ายในชุมชน
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
รายงานความก้าวหน้าคณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร (Chiang Mai Provincial Resource Supportive Board) 31 สิงหาคม 2560.
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558 กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558

สถานการณ์ กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558HDC อัตราป่วยตาย IHD เขตบริการสุขภาพที่5 ทุกจังหวัดน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศ จังหวัดที่มีอัตราตายสูงสุดคือจ.กาญจนบุรี ร้อยละ 25.68 รองลงมา จ.ราชบุรี ร้อยละ18.67 กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558HDC

สถานการณ์ กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558HDC อัตราป่วยตาย Strok เขตบริการสุขภาพที่5 ทุกจังหวัดน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศ จังหวัดที่มีอัตราตายสูงสุดคือจ.ประจวบ ร้อยละ 14.59 รองลงมา จ.สมุทรสงคราม ร้อยละ11.03 กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558HDC

สถานการณ์ กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558HDC อัตราป่วยตาย HTเขตบริการสุขภาพที่5 ทุกจังหวัดน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศ จังหวัดที่มีอัตราตายสูงสุดคือจ.สุพรรณบุรี ร้อยละ 7.73 รองลงมา จ.เพชรบุรี ร้อยละ6.68 กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558HDC

สถานการณ์ กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558HDC อัตราป่วยตาย DM เขตบริการสุขภาพที่5 ทุกจังหวัดน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศ จังหวัดที่มีอัตราตายสูงสุดคือจ.นครปฐม ร้อยละ 14 รองลงมา จ.สุพรรณบุรี ร้อยละ 9.08 กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558HDC

สภาพปัญหา เป้าหมายสำคัญ : อัตราตายด้วย IHD ยังเกิน 23 ต่อแสนปชก. จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น /คัดกรองไม่ได้ตามเกณฑ์ การจัดการข้อมูล ข้อมูล 43 แฟ้มกับข้อมูลนำเข้าไม่สัมพันธ์กัน ข้อจำกัดด้านทรัพยากร :บุคลากร/การเงิน ภาคีเครือข่าย ยังเข้าใจว่าเป็นภารกิจของสาธารณสุข มาตรการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม พบว่า กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงยังทำได้น้อยขาดการติดตามประเมินผล ขาดความต่อเนื่อง มีการใช้มาตรการ 3 อ. 2 ส. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จาก อปท. และรพสต. แต่ขาดการนำไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และครอบคลุม

สภาพปัญหา คลินิก NCD คุณภาพ เขตบริการสุขภาพที่ 5 มีจำนวน 66 รพ. ได้นับการประเมินจากสคร.ผ่านเกณฑ์ทั้งหมด 66 รพ. และในภาพรวมพบว่าควรพัฒนาในองค์ประกอบที่ 1-6 องค์ประกอบที่1 ติดตามประเมินผลและความต่อเนื่องของโครงการ องค์ประกอบที่ 2 การใช้หลักระบาดวิทยา การวิเคราะห์ข้อมูล องค์ประกอบที่ 4 การมีทีมเสริมสร้างพลังและการจัดการตนเอง องค์ประกอบที่ 6 ขาดการสร้างชมรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน ในเขตมีรพ.ทั้งหมด67 รพ.บ้านคา จ.ราชบุรีเพิ่งยกระดับยังไม่ได้ประเมิน

KPI การควบคุมเบาหวานได้ดี 24.40 % เป้าหมาย 40% เฉลี่ยประเทศ 24.90% กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558HDC

KPI การควบคุมความดันโลหิตได้ดี 20.43 % เป้าหมาย 50% เฉลี่ยประเทศ 25.47 % HDC กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558

KPI การตรวจคัดกรองตา 28.48 % เป้าหมาย 60% เฉลี่ยประเทศ 32.05 % HDC กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558

KPI การตรวจคัดกรองไต 18.30 % เป้าหมาย 60% เฉลี่ยประเทศ 20.38 % HDC กระทรวงสาธารณสุข ตค.2558

GOAL วัยทำงาน ปี 2559 มาตรการ เป้าหมาย 1.ตำบลจัดการสุขภาพ 3.บังคับใช้กฎหมาย Alc.ยาสูบ 2.สปก./สถานที่ทำงาน 4.คลินิก NCD คุณภาพ มาตรการ เป้าหมาย Pt. DM HTได้รับการประเมิน cvd risk 60% พัฒนา SMระดับเขต 50% พัฒนา SM ระดับเขต 100% คัดกรอง CKD 60% กลุ่มเสี่ยงสูงต่อ CVD ได้รับการปป.พฤติกรรม 50% Pt. DM HT ควบคุมน้ำตาล/ความดันได้ดี (40%/50%) ขับเคลื่อนหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 70% -Pt. DM HT คัดกรองภาวะแทรกซ้อน ตา เท้า -Pt. DM HT มีภาวะแทรกซ้อนไต stage3 ขึ้นไป ลดลง -ดำเนินการคลินิก NCD คุณภาพ ในทุกโรงพยาบาล สปก.ได้รับข้อมูลดำเนินงานสปก. 5% ของทั้งหมด Pt.รายใหม่ด้วย IHD ลดลง

จุดเน้นการดำเนินงาน กลุ่มวัยทำงาน ปี 2559 ระดับประเทศ อัตราป่วยรายใหม่ IHD ลดลง ระดับเขต DM,HT controlled 40/50% DM,HTรายใหม่ลดลง ระดับจังหวัด คลินิก NCD คุณภาพ > 70% CVD Risk > 30% ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม