แบบทดสอบ ความพร้อมทางอาชีพ กองส่งเสริมการมีงานทำ กรมการจัดหางาน แบบทดสอบ ความพร้อมทางอาชีพ บรรยายโดย นางสาวณัชชา หลำแสงกุล นักวิชาการแรงงานชำนาญการ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาระบบการแนะแนวอาชีพ กองส่งเสริมการมีงานทำ
เปรียบเทียบ แบบทดสอบ
แบบทดสอบ ความพร้อมทางอาชีพ
แบบทดสอบความพร้อมทางอาชีพประกอบด้วย Test 3 แบบ Test A แบบทดสอบความสนใจด้านอาชีพ (VOCATIONAL INTEREST) Test B แบบทดสอบความถนัดทางอาชีพ (BASIC VOCATIONAL ORIENTATION) Test C แบบทดสอบความมั่นใจในตัวเอง (SELF-CONFIDENCE TEST)
Test A แบบทดสอบความสนใจด้านอาชีพ (VOCATIONAL INTEREST) เป็นการวัดที่เกี่ยวกับความรู้สึกชอบหรือสนใจของผู้ตอบต่อ ลักษณะงานหรืออาชีพโดยไม่ต้องคำนึงถึงความสามารถที่จะทำอาชีพ นั้นได้หรือไม่และไม่จำเป็นต้องนำหลักความจริงมาจับโดยตอบ A : ชอบหรือสนใจอาชีพนั้นๆ B : ยังไม่แน่ใจ หรือรู้สึกเฉยๆต่ออาชีพนั้นๆ X : ไม่ชอบ/ไม่สนใจอาชีพนั้นๆ
Test B แบบทดสอบความถนัดทางอาชีพ (BASIC VOCATIONAL ORIENTATION) เป็นการวัดความถนัด/พรสวรรค์ หรือสิ่งที่บุคคลได้รับมาตามธรรมชาติ ตั้งแต่เกิด ซึ่งจะแตกต่างกันในแต่ละบุคคล เมื่อค้นพบและนำมาฝึกฝนจนเกิดความชำนาญจะพัฒนาขึ้นเป็น “ทักษะ” ของแต่ละบุคคล ซึ่งใน Test B เลือกความถนัด/ทักษะ มาใช้ 3 ด้านด้วยกันคือ ความถนัดที่ 1 : ด้านข้อมูล (DATA) คือ ความถนัดทางวิเคราะห์และใช้เหตุผล เป็นต้น ความถนัดที่ 2 : ด้านบุคคล (PERSON) คือ ความถนัดทางด้านการใช้ทักษะ ที่เกี่ยวกับการเกี่ยวข้องกับบุคคลและการให้ความช่วยเหลือ เป็นต้น ความถนัดที่ 3 : ด้านเครื่องมือ (TOOL) คือ มีความถนัดที่ต้องเกี่ยวข้องกับวัตถุ ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการสร้าง ผลิตสิ่งของทางด้านเครื่องมือ หรือเครื่องจักร เป็นต้น
ทักษะประกอบไปด้วยอะไรบ้าง ?? 1. ที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ 2. การใช้ส่วนต่างๆของร่างกาย 3. การใช้ถ้อยคำภาษา 4. การใช้ตัวเลข 5. การใช้ญาณพิเศษ หรือลางสังหรณ์ที่เกิดขึ้น 6. การวิเคราะห์และใช้เหตุผล 7. ใช้ความคิด ริเริ่ม สร้างสรรค์ 8. ทักษะเกี่ยวกับการเกี่ยวข้อง กับบุคคล/ การช่วยเหลือ 9. ทักษะทางศิลปะ 10. ความเป็นผู้นำ 11. ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
Test C แบบทดสอบความมั่นใจในตัวเอง (SELF-CONFIDENCE TEST) เป็นแบบทดสอบที่ใช้วัดความมั่นใจในตนเองเกี่ยวกับการเลืออาชีพ/ศึกษาต่อหรือประเด็นอื่นๆที่เกี่ยวข้อง โดยพิจารณาจากลักษณะงานหรืออาชีพทั้งหมด 54 ข้อหรือ 54 อาชีพ โดยให้คำนึงถึงว่าตนเองสามารถประกอบอาชีพหรือมีความมั่นใจว่าประกอบอาชีพนั้นๆได้หรือไม่ ถึงแม้จะชอบหรือไม่ชอบอาชีพนั้นๆก็ตามโดย ตอบ A : ในกรณีมั่นใจว่าสามารถทำอาชีพนั้นได้แน่นอน ตอบ B : ในกรณีไม่แน่ใจว่าจะสามารถจะทำงานได้ดีหรือไม่ ตอบ X : ในกรณีไม่มั่นใจหรือคิดว่าไม่น่าจะทำงานนั้นได้ดี ถึงอาจทำไม่ได้เลย หมายเหตุ ; Test C จะต้องทำในกรณีต่อเนื่องกันเท่านั้น คือ ทำ Test A, B, และ Test C เท่านั้น
ข้อแนะนำเพิ่มเติมต่อการใช้แบบทดสอบฯ แบบทดสอบชุดนี้ วัตถุประสงค์ที่สำคัญ คือสามารถนำมาเชื่อมโยง ในเรื่องของบุคลิกภาพ+ความถนัด+ความมั่นใจในตัวเองซึ่งเป็น ปัจจัยสำคัญที่ช่วยผู้รับบริการนำไปใช้ประโยชน์ทั้ง ด้านศึกษาต่อทำงานในสถานประกอบการประกอบอาชีพอิสระประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพ
การทำนายผล ของทั้ง 3 Test เป็นการวิเคราะห์ให้เห็นความชัดเจน บุคลิกภาพ+ความถนัด+ความมั่นใจในตัวเอง ณ ปัจจุบัน+อนาคตใกล้ๆ 2. ในช่วงของอนาคตผลการวิเคราะห์อาจจะคงเดิมหรือไม่คงเดิมก็ได้ 3. ถ้าต้องการความชัดเจนในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการ ควรใช้แบบทดสอบนี้ ให้เป็นปัจจุบัน
วิธีการทำ Test ทั้ง 3 Test ให้เกิดความแม่นตรง ต้องใช้การตัดสินใจในครั้งแรกครั้งเดียวเป็นคำตอบเพราะ - ไม่มีถูก/ผิด - ในข้อคำถามแต่ละข้อมีกระบวนการกลวิธี +เทคนิคทางจิตวิทยาผสมผสานในแต่ละข้อ - การเปลี่ยนคำถามส่งผลการวิเคราะห์
แนวปฏิบัติ/การวิเคราะห์ผล 1. อธิบายถึงธรรมชาติของแบบทดสอบฯ 2. ระยะเวลาในการใช้แบบทดสอบฯซ้ำ 3. การวิเคราะห์ผลบุคลิกภาพในอนาคต 4. การใช้แบบทดสอบฯซ้ำต้องมีวัตถุประสงค์ 5. ประโยชน์ที่จะได้รับจากการทำทั้ง 3 Test 6. การวิเคราะห์ผล ซึ่งประกอบด้วย 3 ขั้นตอน เรียงลำดับคะแนน ให้ความรู้การจัดลำดับของบุคลิกภาพ+ความถนัด+ ความมั่นใจในตัวเอง วิเคราะห์ตามผลคะแนน
กรณีศึกษาการวิเคราะห์ผลมี 3 กรณีใหญ่ๆ กรณี 1 : ผลคะแนนออกมาในทิศทางเดียวกัน กรณี 2 : ผลคะแนนไม่ออกมาในทิศทางเดียวกัน กรณี 3 : ผลคะแนนออกมาเท่ากัน
แนวปฏิบัติการประมวลผล/การวิเคราะห์ มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นที่ 1 : จัดหมวดหมู่ลักษณะบุคลิกภาพ/ความถนัด/ความมั่นใจในตนเอง (ยึดคะแนนเป็นหลัก) ขั้นที่ 2 : ให้อธิบายความโดดเด่นของบุคลิกภาพฯ และการเชื่อมโยงไปสู่การประกอบอาชีพ/การศึกษา ขั้นที่ 3 : สรุปผลการวิเคราะห์และรายละเอียดเพื่อนำกลับไปปฏิบัติ
สรุปการวิเคราะห์ผล มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 1 : สรุปให้ผู้รับบริการเห็นเส้นทางการประกอบอาชีพอาชีพตามที่สรุป ไว้เป็นกลุ่มๆ ขั้นที่ 2 : ทำความเข้าใจถึงความสำคัญของการจัดลำดับ 1,2,3,4,5,6 เป็นต้น ขั้นที่ 3 : กลับไปทำการบ้านหาความชัดเจนต่อไป
แบบวัดบุคลิกภาพ เพื่อการศึกษาต่อ และการเลือกอาชีพ
หลักการใช้แบบวัดฯ ใช้วัดบุคลิกภาพบุคคลอายุ 15 – 60 ปี ใช้ประเมินความพร้อมและความเหมาะสมของบุคคลที่มีต่ออาชีพโดยสังเขปเท่านั้น กรณีมีความจำเป็นหรือต้องการศึกษาบุคลิกภาพอย่างละเอียด ควรปรึกษานักจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การต่อไป ผู้ใช้แบบวัดนี้ควรมีความรู้พื้นฐานด้านการให้คำแนะนำ การให้คำปรึกษา และการแนะแนวบุคคลในการเลือกศึกษาต่อและการเลือกประกอบอาชีพที่เหมาะสมสำหรับผู้รับบริการ ทั้งนี้อาจใช้แบบวัดนี้ร่วมไปกับการสังเกตพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายในขณะทำแบบวัดนี้ด้วย
หลักการใช้แบบวัดฯ (ต่อ) ผู้ใช้แบบวัดนี้ควรศึกษารายละเอียดทั้งหมดให้เข้าใจ ทำการแปลผลตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในคู่มือ และปฏิบัติตามแนวทางอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ผลการวัดเป็นมาตรฐานเดียวกัน และสามารถเชื่อถือได้ ผู้ใช้แบบวัดนี้ ควรเป็นผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมการใช้คู่มือจากผู้สร้างแบบวัดนี้ หรือนักจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ หรือผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมและใช้คู่มือนี้จนชำนาญแล้ว เพื่อให้สามารถวัดบุคลิกภาพได้อย่างมีมาตรฐาน
บุคลิกภาพ 10 ด้าน บุคลิกภาพด้านความนิยมความจริง (realistic type) บุคลิกภาพด้านความชอบค้นหา (investigative type) บุคลิกภาพด้านความใฝ่ศิลปะ (artistic type) บุคลิกภาพด้านความชอบสังคม (social type) บุคลิกภาพด้านความอนุรักษ์นิยม (conventional type)
บุคลิกภาพ 10 ด้าน (ต่อ) บุคลิกภาพด้านความแคล่วคล่องว่องไว (enterprising type) บุคลิกภาพด้านความใฝ่ประกอบการ (entrepreneurial characteristics) บุคลิกภาพด้านความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (cross – cultural awareness) บุคลิกภาพด้านความสามารถในการปรับตัว (adaptability) บุคลิกภาพด้านการทำงานเป็นทีม (teamwork)
ลักษณะเครื่องมือ มีข้อคำถาม 30 ข้อ จำแนกบุคลิกภาพออกเป็น 28 ด้าน เพิ่มเติมบุคลิกภาพ 3 ด้าน ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานในบริบทที่จำเป็นตามแนวทางของประชาคมอาเซียน ได้แก่ ความตระหนักข้ามวัฒนธรรม ความสามารถในการปรับตัว และการทำงานเป็นทีม
การเตรียมการวัดบุคลิกภาพฯ สิ่งที่ควรจัดเตรียมล่วงหน้าก่อนทำการวัด ได้แก่ ปากกา หรือดินสอ สำหรับผู้รับการวัด ปากกา หรือดินสอ สำหรับผู้ใช้แบบวัดในการรวมคะแนนและบันทึกผล คู่มือการวัดบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ นาฬิกา เพื่อจับเวลาในการทำแบบวัด แบบวัดบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ และกระดาษคำตอบ
วิธีการวัดบุคลิกภาพฯ ทำความเข้าใจกับผู้รับการวัด เพื่อลดความประหม่าของผู้รับการวัด และสร้างความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์การวัด ให้ได้รับความร่วมมืออย่างเต็มที่ ซึ่งจะทำให้การวัดบุคลิกภาพเป็นไปตามมาตรฐาน และเกิดความแม่นตรง ให้เวลาทำทั้งฉบับไม่เกิน 10 นาที ในกรณีใช้วิธีการฉายภาพนิ่งทีละข้อ หรือใช้แบบวัด online กำหนดให้เวลาข้อละไม่เกิน 20 วินาที
วิธีการวัดบุคลิกภาพฯ (ต่อ) สำหรับผู้รับการวัดที่ไม่สามารถอ่านหนังสือได้ ให้ผู้ใช้แบบวัดอ่านให้ฟังและตรวจสอบทวนซ้ำ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในข้อคำถาม เมื่อหมดเวลาตามที่กำหนด ให้ผู้ใช้แบบวัดนี้เน้นย้ำแก่ผู้รับการวัดให้ตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ของการตอบแบบวัด หลังจากตรวจสอบความสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว ให้ผู้ใช้แบบวัดเก็บรวบรวมเพื่อวิเคราะห์ และแปลผลต่อไป
การรวมคะแนน กระดาษคำตอบสำหรับแบบวัดนี้ เป็นลักษณะตัวเลือกให้ตอบ 5 ตัวเลือก ได้แก่ จริงมากที่สุด (4 คะแนน) จนถึง ไม่จริงเลย (0 คะแนน) ให้รวมคะแนนเป็นแถวตามแนวนอน ซึ่งแต่ละแถวจะมี 3 ข้อ แล้วใส่คะแนนที่รวมได้ไว้ในคอลัมน์ “รวม” ทางขวามือ รวมคะแนนให้ครบทั้ง 10 แถว บันทึกผลการวัดบุคลิกภาพแต่ละด้านต่อไป
ความหมายของคะแนน 1 - บุคลิกภาพด้านความนิยมความจริง (realistic type) 2 - บุคลิกภาพด้านความชอบค้นหา (investigative type) 3 - บุคลิกภาพด้านความใฝ่ศิลปะ (artistic type) 4 - บุคลิกภาพด้านความชอบสังคม (social type) 5 - บุคลิกภาพด้านความอนุรักษ์นิยม (conventional type)
ความหมายของคะแนน (ต่อ) 6 - บุคลิกภาพด้านความแคล่วคล่องว่องไว (enterprising type) 7 - บุคลิกภาพด้านความใฝ่ประกอบการ (entrepreneurship characteristics) 8 - บุคลิกภาพด้านความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (cross – cultural awareness) 9 - บุคลิกภาพด้านความสามารถในการปรับตัว (adaptability) 10 - บุคลิกภาพด้านการทำงานเป็นทีม (teamwork)
การแปลผลคะแนน ให้พิจารณาคะแนนในด้านที่ 1 ถึงด้านที่ 7 ก่อน เพื่อจำแนกของบุคลิกภาพด้านอาชีพ พิจารณาคะแนนบุคลิกภาพ หากมีด้านใดด้านหนึ่งได้คะแนนสูงสุด แปลผลได้ว่านั่นคือบุคลิกภาพที่เด่นชัดของผู้รับการวัดครั้งนั้น และสามารถอ่านผลบุคลิกภาพได้ตามรายละเอียดในหัวข้อ “การจำแนกบุคลิกภาพ 28 ด้าน” หากมีบุคลิกภาพที่ได้คะแนนสูงสุดเท่ากัน 2 ด้าน ให้นำมาจับคู่กัน และสามารถอ่านผลบุคลิกภาพได้ตามรายละเอียดในหัวข้อ “การจำแนกบุคลิกภาพ”
การแปลผลคะแนน (ต่อ) หากมีบุคลิกภาพที่ได้คะแนนสูงสุดเท่ากันมากกว่า 2 ด้าน ให้พิจารณาด้านที่มีคะแนนแตกต่างจากช่วงคะแนนปกติมากที่สุด 2 ด้าน แล้วอ่านผลบุคลิกภาพได้ตามรายละเอียดในหัวข้อ “การจำแนกบุคลิกภาพ”
การแปลผลคะแนน (ต่อ) หลังจากพิจารณาคะแนนในด้านที่ 1 ถึงด้านที่ 7 และแปลผลบุคลิกภาพเรียบร้อยแล้ว ให้พิจารณาบุคลิกภาพในด้านที่ 8 ด้านที่ 9 และด้านที่ 10 ดังนี้ ด้านที่ 8 บุคลิกภาพด้านความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (cross – cultural awareness) ด้านที่ 9 บุคลิกภาพด้านความสามารถในการปรับตัว (adaptability) ด้านที่ 10 บุคลิกภาพด้านการทำงานเป็นทีม (teamwork)
การแปลผลคะแนน (ต่อ) ทั้งสามด้านข้างต้น สามารถแบ่งคะแนนเป็น 3 ช่วง คือ ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย อยู่ในช่วงค่าเฉลี่ย และสูงกว่าค่าเฉลี่ย (ช่วงค่าเฉลี่ยจะอยู่ในคู่มือฯ หัวข้อ “ช่วงคะแนนปกติของบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ” ท่านสามารถแปลผลคะแนนทั้งสามช่วงได้โดยศึกษาเพิ่มเติมจากคู่มือ)
ข้อควรตระหนัก การประเมินบุคลิกภาพด้วยแบบวัดหรือแบบทดสอบใดๆ จะมีอำนาจในการพยากรณ์อย่างแม่นตรง ก็ต่อเมื่อผู้รับการทดสอบให้ความร่วมมือในการตอบทุกข้อคำถามอย่างซื่อสัตย์ การประเมินบุคลิกภาพนั้น จะได้รับอิทธิพลจากอารมณ์ ณ ขณะที่ตอบข้อคำถามด้วย ดังนั้น ในการประเมินแต่ละครั้งอาจได้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันบ้าง แต่อย่างไรก็ตาม ผลการประเมินโดยทั่วไปแล้ว จะมีความคงเส้นคงวาในระดับสูง กล่าวคือ การประเมินในแต่ละครั้งจะได้ผลลัพธ์ที่เหมือนหรือใกล้เคียงกันอย่างมาก บุคลิกภาพในบางมิติของแต่ละบุคคล จะ ค่อยๆ เปลี่ยนไปตามประสบการณ์ และการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงชีวิต
ช่วงคะแนนปกติ (Norms) ช่วงคะแนนปกติ (Norms) บุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ กราฟแสดงบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ คะแนนเฉลี่ย แต่ละด้านย่อย 1. กลุ่ม Realistic Type ช่วงคะแนนปกติ = 6.93-10.61 0…..1…..2…..3…..4…..5…..6…..7…..8…..9…..10…..11…..12 8.77 2. กลุ่ม Investigative Type = 6.49-10.34 8.41 3. กลุ่ม Artistic Type =6.50-10.55 8.53 4. กลุ่ม Social Type =5.79-10.05 7.92 5. กลุ่ม Conventional Type =6.02-10.25 8.14 6. กลุ่ม Enterprising Type =5.97-10.01 7.99 7. กลุ่ม Entrepreneurial Characteristics =7.07-10.98 9.02 8. ความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural Awareness) =7.80-11.40 9.60 9. ความสามารถในการปรับตัว (Adaptability) =7.23-10.89 9.06 10. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) =7.18-10.66 8.92
ช่วงคะแนนปกติ (Norms) คะแนนที่ได้ บุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ กราฟแสดงบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ คะแนนเฉลี่ย แต่ละด้านย่อย 1. กลุ่ม Realistic Type ช่วงคะแนนปกติ = 6.93-10.61 0…..1…..2…..3…..4…..5…..6…..7…..8…..9…..10…..11…..12 8.77 2. กลุ่ม Investigative Type = 6.49-10.34 8.41 3. กลุ่ม Artistic Type =6.50-10.55 8.53 4. กลุ่ม Social Type =5.79-10.05 7.92 5. กลุ่ม Conventional Type =6.02-10.25 8.14 6. กลุ่ม Enterprising Type =5.97-10.01 7.99 7. กลุ่ม Entrepreneurial Characteristics =7.07-10.98 9.02 8. ความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural Awareness) =7.80-11.40 9.60 9. ความสามารถในการปรับตัว (Adaptability) =7.23-10.89 9.06 10. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) =7.18-10.66 8.92
การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 1 ด้าน การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 1 ด้าน บุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ กราฟแสดงบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ คะแนนเฉลี่ย แต่ละด้านย่อย 1. กลุ่ม Realistic Type ช่วงคะแนนปกติ = 6.93-10.61 0…..1…..2…..3…..4…..5…..6…..7…..8…..9…..10…..11…..12 8.77 2. กลุ่ม Investigative Type = 6.49-10.34 8.41 3. กลุ่ม Artistic Type =6.50-10.55 8.53 4. กลุ่ม Social Type =5.79-10.05 7.92 5. กลุ่ม Conventional Type =6.02-10.25 8.14 6. กลุ่ม Enterprising Type =5.97-10.01 7.99 7. กลุ่ม Entrepreneurial Characteristics =7.07-10.98 9.02 8. ความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural Awareness) =7.80-11.40 9.60 9. ความสามารถในการปรับตัว (Adaptability) =7.23-10.89 9.06 10. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) =7.18-10.66 8.92 9 12 10 9 8 10 9
การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 1 ด้าน การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 1 ด้าน บุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ กราฟแสดงบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ คะแนนเฉลี่ย แต่ละด้านย่อย 1. กลุ่ม Realistic Type ช่วงคะแนนปกติ = 6.93-10.61 0…..1…..2…..3…..4…..5…..6…..7…..8…..9…..10…..11…..12 8.77 2. กลุ่ม Investigative Type = 6.49-10.34 8.41 3. กลุ่ม Artistic Type =6.50-10.55 8.53 4. กลุ่ม Social Type =5.79-10.05 7.92 5. กลุ่ม Conventional Type =6.02-10.25 8.14 6. กลุ่ม Enterprising Type =5.97-10.01 7.99 7. กลุ่ม Entrepreneurial Characteristics =7.07-10.98 9.02 8. ความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural Awareness) =7.80-11.40 9.60 9. ความสามารถในการปรับตัว (Adaptability) =7.23-10.89 9.06 10. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) =7.18-10.66 8.92 9 12 10 9 8 10 9
การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 2 ด้าน การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 2 ด้าน บุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ กราฟแสดงบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ คะแนนเฉลี่ย แต่ละด้านย่อย 1. กลุ่ม Realistic Type ช่วงคะแนนปกติ = 6.93-10.61 0…..1…..2…..3…..4…..5…..6…..7…..8…..9…..10…..11…..12 8.77 2. กลุ่ม Investigative Type = 6.49-10.34 8.41 3. กลุ่ม Artistic Type =6.50-10.55 8.53 4. กลุ่ม Social Type =5.79-10.05 7.92 5. กลุ่ม Conventional Type =6.02-10.25 8.14 6. กลุ่ม Enterprising Type =5.97-10.01 7.99 7. กลุ่ม Entrepreneurial Characteristics =7.07-10.98 9.02 8. ความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural Awareness) =7.80-11.40 9.60 9. ความสามารถในการปรับตัว (Adaptability) =7.23-10.89 9.06 10. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) =7.18-10.66 8.92 7 11 6 9 8 9 11
การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 3 ด้าน การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 3 ด้าน บุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ กราฟแสดงบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ คะแนนเฉลี่ย แต่ละด้านย่อย 1. กลุ่ม Realistic Type ช่วงคะแนนปกติ = 6.93-10.61 0…..1…..2…..3…..4…..5…..6…..7…..8…..9…..10…..11…..12 8.77 2. กลุ่ม Investigative Type = 6.49-10.34 8.41 3. กลุ่ม Artistic Type =6.50-10.55 8.53 4. กลุ่ม Social Type =5.79-10.05 7.92 5. กลุ่ม Conventional Type =6.02-10.25 8.14 6. กลุ่ม Enterprising Type =5.97-10.01 7.99 7. กลุ่ม Entrepreneurial Characteristics =7.07-10.98 9.02 8. ความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural Awareness) =7.80-11.40 9.60 9. ความสามารถในการปรับตัว (Adaptability) =7.23-10.89 9.06 10. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) =7.18-10.66 8.92 7 10 6 9 8 10 10
การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 3 ด้าน การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 3 ด้าน บุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ กราฟแสดงบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ คะแนนเฉลี่ย แต่ละด้านย่อย 1. กลุ่ม Realistic Type ช่วงคะแนนปกติ = 6.93-10.61 0…..1…..2…..3…..4…..5…..6…..7…..8…..9…..10…..11…..12 8.77 2. กลุ่ม Investigative Type = 6.49-10.34 8.41 3. กลุ่ม Artistic Type =6.50-10.55 8.53 4. กลุ่ม Social Type =5.79-10.05 7.92 5. กลุ่ม Conventional Type =6.02-10.25 8.14 6. กลุ่ม Enterprising Type =5.97-10.01 7.99 7. กลุ่ม Entrepreneurial Characteristics =7.07-10.98 9.02 8. ความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural Awareness) =7.80-11.40 9.60 9. ความสามารถในการปรับตัว (Adaptability) =7.23-10.89 9.06 10. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) =7.18-10.66 8.92 7 10 6 9 8 10 10
การแปลผลคะแนนที่ได้ กรณีได้คะแนนสูงโดดเด่น 2 ด้าน คือ IE บุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ กราฟแสดงบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ คะแนนเฉลี่ย แต่ละด้านย่อย 1. กลุ่ม Realistic Type ช่วงคะแนนปกติ = 6.93-10.61 0…..1…..2…..3…..4…..5…..6…..7…..8…..9…..10…..11…..12 8.77 2. กลุ่ม Investigative Type = 6.49-10.34 8.41 3. กลุ่ม Artistic Type =6.50-10.55 8.53 4. กลุ่ม Social Type =5.79-10.05 7.92 5. กลุ่ม Conventional Type =6.02-10.25 8.14 6. กลุ่ม Enterprising Type =5.97-10.01 7.99 7. กลุ่ม Entrepreneurial Characteristics =7.07-10.98 9.02 8. ความตระหนักข้ามวัฒนธรรม (Cross-cultural Awareness) =7.80-11.40 9.60 9. ความสามารถในการปรับตัว (Adaptability) =7.23-10.89 9.06 10. การทำงานเป็นทีม (Teamwork) =7.18-10.66 8.92 7 10 6 9 8 10 10
หลังจากรวมคะแนนแต่ละด้านเสร็จแล้ว นำคะแนนที่ได้ไปทำเครื่องหมายบนเส้นประในกราฟบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพแล้วลากเส้นให้ต่อกัน และพิจารณาดูว่ามีคะแนนใดที่สูงหรือต่ำกว่าช่วงคะแนนปกติ
หลังจากรวมคะแนนแต่ละด้านเสร็จแล้ว นำคะแนนที่ได้ไปทำเครื่องหมายบนเส้นประในกราฟบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพแล้วลากเส้นให้ต่อกัน และพิจารณาดูว่ามีคะแนนใดที่สูงหรือต่ำกว่าช่วงคะแนนปกติ
หลังจากรวมคะแนนแต่ละด้านเสร็จแล้ว นำคะแนนที่ได้ไปทำเครื่องหมายบนเส้นประในกราฟบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพแล้วลากเส้นให้ต่อกัน และพิจารณาดูว่ามีคะแนนใดที่สูงหรือต่ำกว่าช่วงคะแนนปกติ ขอบบน ขอบล่าง
หลังจากรวมคะแนนแต่ละด้านเสร็จแล้ว นำคะแนนที่ได้ไปทำเครื่องหมายบนเส้นประในกราฟบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพแล้วลากเส้นให้ต่อกัน และพิจารณาดูว่ามีคะแนนใดที่สูงหรือต่ำกว่าช่วงคะแนนปกติ ขอบบน ขอบล่าง
หลังจากรวมคะแนนแต่ละด้านเสร็จแล้ว นำคะแนนที่ได้ไปทำเครื่องหมายบนเส้นประในกราฟบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพแล้วลากเส้นให้ต่อกัน และพิจารณาดูว่ามีคะแนนใดที่สูงหรือต่ำกว่าช่วงคะแนนปกติ ขอบบน ขอบล่าง E E
S E ดูช่องห่าง ขอบบน ขอบล่าง หลังจากรวมคะแนนแต่ละด้านเสร็จแล้ว นำคะแนนที่ได้ไปทำเครื่องหมายบนเส้นประในกราฟบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพแล้วลากเส้นให้ต่อกัน และพิจารณาดูว่ามีคะแนนใดที่สูงหรือต่ำกว่าช่วงคะแนนปกติ S E ดูช่องห่าง ขอบบน ขอบล่าง
คำถาม ??
สอบถามเพิ่มเติม คุณณัชชา หลำแสงกุล 02-3540088
สวัสดีค่ะ