การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา
การปฏิรูประบบบริการสุขภาพที่มีพื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ปฏิรูปสู่ “เมืองสุขภาพดี” Healthy City ระบบการแพทย์ฉุกเฉินระดับพื้นที่ การสื่อสาร ระดับบริการสุขภาพเฉพาะทาง(ตติยภูมิ) ระดับบริการสุขภาพที่ซับซ้อนขึ้น (ทุติยภูมิ) ระดับบริการสุขภาพที่เข้าถึงง่ายใกล้ชิดประชาชน(ปฐมภูมิ) ทีมบริหารจัดการ District/Local Health Board ตัวแทนจาก 3 กลุ่ม (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทีมวิชาชีพ ภาคประชาชน) โครงสร้าง พัฒนาเป็นนิติบุคคล การบริหารจัดการการเงิน ชุดสิทธิประโยชน์ร่วม3กองทุน ชุดสิทธิประโยชน์เสริมแต่ละกองทุน ชุดสิทธิประโยชน์จำเพาะ ของแต่ละอำเภอ/พื้นที่ เขตเมือง : รพ.เอกชน คลีนิก ร้านยา ศูนย์ฯเทศบาล เครือข่ายบริการ (Matrix team) สมาชิกในครอบครัว+ อสม.+พยาบาล+แพทย์ การแพทย์แผนไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ Self care ระบบสุขภาพชุมชน ปฏิรูประบบข้อมูลข่าวสารเพื่อการดูแลตนเองของประชาชน Health Information for Self Care สร้างนำซ่อม สุขภาพมิติกว้าง ทีมหมอครอบครัว
ประเทศ เขต จังหวัด อำเภอ บุคคล ครอบครัว สุขภาวะ สธ. นโยบาย/เสริมความเข้มแข็งระบบริการ นโยบายสาธารณะ สปสช กองทุนประกันสุขภาพ Social Enterprise คุณภาพบริการ/คลินิกชุมชนอบอุ่น/ร้านยาคุณภาพ สสส. จัดการสุขภาวะ OPOP ODOP สพช. OTOP พัฒนาคุณภาพ/ระบบสุขภาพชุมชน อำเภอสุขภาวะ ตำบล อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง สรพ. พัฒนาคุณภาพสถานบริการ ตำบลสุขภาวะ หมู่บ้าน HIA ตำบลจัดการสุขภาพ สช. สมัชชาสุขภาพ/ธรรมนูญสุขภาพ แผนชุมชน หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Self Care
การประเมิน “ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ปี 2560 ”
ทิศทางการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งที่ผ่านมา ทิศทางการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ข้อสังเกตเพื่อการพัฒนา แนวคิดการพัฒนาปรับปรุง แนวทางการขับเคลื่อนงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง
โรค/ภัยสุขภาพที่สำคัญตามนโยบาย โรคหลอดเลือดสมองและเบาหวาน (โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง) การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน การป้องกันเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคไข้เลือดออก
โรค/ภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่ โรคเอดส์ วัณโรคปอด โรคมาลาเรีย โรคเท้าช้าง โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน หรือ โรคอาหารเป็นพิษ โรคหนอนพยาธิ โรคพิษสุนัขบ้า โรคเลปโตสไปโรสิส โรคติดต่ออุบัติใหม่ ระบบทางเดินหายใจ รวมทั้งไข้หวัดใหญ่ โรคเรื้อน โรคมือ เท้า ปาก การควบคุมการบริโภคยาสูบ โรคจากมลพิษสิ่งแวดล้อม โรคจากการประกอบอาชีพ โรคอหิวาตกโรค
ระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอและเครือข่ายระดับตำบล ทีม SRRT ระดับอำเภอ ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐาน SRRT โดย สคร. ทีม SRRT อำเภอ มีการสอบสวนโรค/ภัย ที่มีคุณภาพ ทีม SRRT ระดับอำเภอ มีระบบการเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีคุณภาพ ทีม SRRT ระดับอำเภอ มีการซ้อมแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบล ผ่านการประเมินรับรองมาตรฐานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และมีการเฝ้าระวังเหตุการณ์ที่มีคุณภาพ มีระบบข้อมูลการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ข้อสังเกตเพื่อการพัฒนา ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน ความท้าทาย ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา การประเมินอำเภอพื้นที่เสี่ยงยังไม่ครอบคลุมและยังไม่สอดคล้องกับปัญหาที่แท้จริง เกณฑ์ประเมินปรับเปลี่ยนบ่อย ถ่ายทอดล่าช้า และไม่เป็นที่ยอมรับของเครือข่าย ทัศนคติของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานยังมองงาน DHS กับ อำเภอเข้มแข็ง เป็นเรื่องความรับผิดชอบของแต่ละคน ไม่ใช่ของหน่วยงาน การขับเคลื่อนผ่านเครือข่ายและนายอำเภอ ศักยภาพของบุคลากรและเครือข่าย เครื่องมือและมาตรการจัดการป้องกัน ควบคุม โรคและภัยสุขภาพ การพัฒนาคุณภาพผ่านการประเมินการขยายผล ทบทวนรายละเอียดคุณลักษณะที่ 2ให้สอดคล้องกับระบบเฝ้าระวัง 5 กลุ่มโรค 5 มิติ ทบทวนปรับปรุงรายละเอียดเกณฑ์การประเมินให้สอดคล้องกับการดำเนินงานสะท้อนผลลัพธ์ ทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ แนวทางการประเมินอำเภอพื้นที่เสี่ยงที่ยังไม่สามารถเข้ามาอยู่ในระบบของการประเมินให้ได้ตามเจตนารมณ์ของกรมควบคุมโรค
แนวคิดการพัฒนาปรับปรุง ทบทวนตั้งหลัก : ปรับกรอบแนวคิดการขับเคลื่อน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ วิธีการ : เน้นเชิงคุณภาพ โดยเฉพาะอำเภอที่มีปัญหา/เสี่ยง นำมาพัฒนาแก้ไขให้ได้ วัดที่การลดโรค/วิธีการเชิงนวัตกรรม การกำหนดพื้นที่ : เน้นให้พื้นที่ดำเนินการประเมิน ปรับเกณฑ์ให้เหมาะสมกับพื้นที่ และแนวทางกรขับเคลื่อนร่วมกับเครือข่ายในพื้นที่ สนับสนุนพื้นที่ ถอดบทเรียน จัดการความรู้ ( นวัตกรรม Best practice )
แผนผังระบบการประเมินDHS/DC รอบที่ 1 เริ่มตั้งแต่ 25 ธ.ค.59 - 25ม.ค.60 รอบที่ 2 เริ่มตั้งแต่ 1 เม.ย.60 - 25มิ.ย. 60 ไม่ผ่านเกณฑ์ (คะแนน < 80%) ประเมินยืนยันโดยใช้แบบประเมินอำเภอเข้มแข็ง (assessment online) จังหวัด เกณฑ์อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน - พัฒนา = DHS ต่ำกว่าขั้นที่ 3 พื้นฐาน = DHS อย่างน้อยขั้นที่ 3 ดี = พื้นฐาน + DCCD ผ่านเกณฑ์ ≥ 80 % ดีเยี่ยม = ดี + อำเภอที่ได้รับรางวัลระดับเขต รายงานผลประเมินตนเอง พัฒนา < ขั้นที่ 3 ≥ ขั้นที่ 3 การประเมินตนเอง DHS/DCออนไลน์ ผ่านเว็บไซด์สถาบันวิจัย จัดการความรู้ และมาตรฐานการควบคุมโรค http://irem2.ddc.moph.go.th รอบที่ 1 สิ้นสุด 25 ม.ค.60 รอบที่ 2 สิ้นสุด 25 มิ.ย.60 รายงาน ประเมินตนเองโดยใช้แบบประเมินDHS (self assessment online) อำเภอ
แผนผังระบบการประเมินDHS/DC อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง มอบรางวัล ถอดบทเรียน กรมควบคุมโรค ดี ดีเยี่ยม รายงาน คัดเลือก ประเมินรับรอง จังหวัดละ 1 อำเภอ ก.ค.60 ผ่านเกณฑ์ (คะแนน ≥ 80) ดี สคร. รายงาน ไม่ผ่านเกณฑ์ (คะแนน < 80) พื้นฐาน ผ่านเกณฑ์ (คะแนน ≥ 80 %)
การพัฒนาเครือข่าย หลักการพื้นฐานในการสร้างและบริหารเครือข่าย การพัฒนาเครือข่าย และวิเคราะห์ความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย
หลักการพื้นฐานในการสร้างและบริหารเครือข่าย 1 หลักคิดพื้นฐานของเครือข่าย 2 ธรรมชาติและวงจรชีวิตของเครือข่าย 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่าย 4 บทเรียนเกี่ยวกับการทำงานเชิงเครือข่าย 5 ข้อเสนอเพื่อการขับเคลื่อนการทำงานเชิงเครือข่าย
ความหมายของเครือข่าย การเชื่อมโยง การติดต่อสัมพันธ์ การติดต่อสื่อสารภายใต้วัตถุประสงค์ อย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกันอย่างเป็นระบบ เป็นการเชื่อมโยงระบบย่อยให้รวมกันเข้ากลายเป็นระบบใหม่
ความแตกต่างระหว่างกลุ่มและเครือข่าย กลุ่มหรือองค์กร : มีลักษณะเป็นการเชื่อมโยงของปัจเจกบุคคลที่มีการรวมกันอย่างใกล้ชิดกว่า มีเอกลักษณ์และปรัชญาการทำงานที่ชัดเจน เครือข่าย :เป็นการเชื่อมโยงสายสัมพันธ์แบบหลวมๆของปัจเจกบุคคล กลุ่ม องค์กร และสถาบัน โดยสมาชิกสามารถเข้าร่วมกิจกรรมตามความเหมาะสม ภายใต้กฎหรือเป้าหมายร่วม
ฐานคิดของเครือข่าย ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน : การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างกัน แต่ละฝ่ายต่างมองเห็นประโยชน์ที่ตนได้รับจากการเข้าร่วมเครือข่าย แนวคิดการรวมพลัง : ซึ่งจะนำไปสู่ผลได้ที่มีคุณค่าทวีคูณหรือเข้มแข็งมากกว่าต่างคนต่างทำ แนวคิดเรื่องทุนทางสังคม : เป็นปฏิสัมพันธ์ที่เอื้ออำนวยต่อการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้คนในสังคม ไม่ว่าจะเป็นการให้และรับ การช่วยเหลือเกื้อกูล ความไว้วางใจ และความโน้มเอียงที่จะมีปฏิสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบของเครือข่าย สมาชิกของเครือข่าย การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน การมีผลประโยชน์และความสนใจร่วมกัน การมีส่วนร่วมของสมาชิกอย่างกว้างขวาง กระบวนการเสริมสร้างซึ่งกันและกัน การพึ่งอิงร่วมกัน การปฏิสัมพันธ์เชิงแลกเปลี่ยน/ทำกิจกรรมร่วมกัน ระบบความสัมพันธ์และการสื่อสาร
การแบ่งประเภทของเครือข่าย เป็นเครือข่ายที่สถานภาพคนในกลุ่มมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน การแลกเปลี่ยนทรัพย์สินหรือบริการต่างๆมีลักษณะช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ถ้วยทีถ้วยอาศัย เป็นการติดต่อกันเองระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มในกรณีที่ไม่ซับซ้อนนัก โดยไม่ต้องมีตัวกลาง ตัวอย่างเช่น เครือข่ายเกษตรกร เครือข่ายนักพัฒนาองค์กรเอกชน เครือข่ายผู้ติดเชื้อ เป็นต้น เครือข่ายแนวนอน ( Horizontal network ) เป็นเครือข่ายที่สถานภาพและฐานะของคนในแต่ละกลุ่มจะมีลำดับชั้นเรียงจากสูงไปต่ำ โดยฝ่ายที่อยู่ลำดับสูงจะมีฐานะเป็นผู้อุปถัมภ์ ขณะที่ผู้อยู่ข้างล่างมีฐานะเป็นผู้ใต้อุปถัมภ์ เมื่อผู้อุปถัมภ์ต้องการความร่วมมือบางอย่างจากผู้ใต้อุปถัมภ์ก็สามารถจะระดมได้จากลูกข่ายของตน เป็นการแลกเปลี่ยนในลักษณะไม่เท่าเทียมกัน ตัวอย่างเช่น เครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานรัฐบาลกับชาวบ้าน นายจ้างกับลูกจ้าง เครือข่ายทางการเมือง เครือข่ายแนวตั้ง ( Vertical network )
วงจรชีวิตของเครือข่าย เครือข่ายมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาของวงจรชีวิต 5 ระยะ ระยะ ฟื้นตัว ระยะ ขยายตัว ระยะ รุ่งเรือง ระยะ ถดถ่อย ระยะก่อตัว ความรู้เรื่องธรรมชาติ องค์ประกอบ วงจรชีวิต นอกจากจะช่วยในการพิจารณาแยกแยะว่าเครือข่ายใดมีลักษณะของเครือข่ายที่แท้จริงหรือไม่แล้วยังช่วยแสดงให้เห็นถึงปัจจัยที่จำเป็นต้องมีเมื่อต้องการจะสร้างและพัฒนาเครือข่าย ตลอดจนปัจจัยที่จะมีผลต่อการเสริมความเข้มแข็งของเครือข่ายในอนาคตได้อีกด้วย
ขั้นตอนในการสร้างเครือข่าย เตรียมกลุ่มหรือการก่อรูปเครือข่าย ขั้นตอนในการสร้างเครือข่าย สร้างพันธกรณีร่วมกัน พัฒนาความสัมพันธ์เป็นกลุ่มกิจกรรม การเรียนรู้จากปฏิบัติการร่วมกัน ขยายกิจกรรมหรือขยายกลุ่ม
ขั้นตอนในการสร้างเครือข่าย โดยอาจจำแนกเป็นขั้นตอนย่อยๆในการสร้างเครือข่าย 1. ขั้นตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายและการก่อตัวของเครือข่าย 2. ขั้นการสร้างพันธกรณีร่วมกันและการบริหารเครือข่าย 3. ขั้นการพัฒนาความสัมพันธ์และการใช้ประโยชน์ 4. ขั้นการรักษาความสัมพันธ์และความต่อเนื่อง
ขั้นตอนในการสร้างเครือข่าย 1. ขั้นตระหนักถึงความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายและการก่อตัวของเครือข่าย การศึกษาข้อมูลและสภาพการณ์ การสร้างศรัทธาและหาแนวร่วม การสร้างความตระหนักหรือการเสนอให้เห็นประเด็นปัญหา การแสวงหาข้อมูลและทางเลือก การค้นหาความต้องการและการหาจุดร่วมในการพัฒนาเครือข่าย การแสวงหาทางเลือกในการทำกิจกรรมที่ส่งเสริมความสัมพันธ์และการแสวงหาแกนนำเครือข่าย การสร้างระบบความสัมพันธ์ของเครือข่าย
ขั้นตอนในการสร้างเครือข่าย 2. ขั้นการสร้างพันธกรณีร่วมกันและการบริหารเครือข่าย การกำหนดวัตถุประสงค์และข้อตกลงร่วมกัน การกำหนดบทบาท หน้าที่ และการวางผังเครือข่าย การเสริมสร้างและพัฒนาผู้นำ การจัดระบบการติดต่อสื่อสาร การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่ต่อเนื่อง การติดตามและประเมินผลแบบมีส่วนร่วม การส่งเสริมและดำรงไว้ซึ่งความสัมพันธ์
ขั้นตอนในการสร้างเครือข่าย 3. ขั้นการพัฒนาความสัมพันธ์และการใช้ประโยชน์ การทบทวนและสรุปบทเรียน การเสริมสร้างผู้นำและหน่วยนำเครือข่าย การเสริมสร้างกิจกรรมสาธารณะและเวทีแห่งการแลกเปลี่ยนความรู้ การขยายกิจกรรมและแนวคิด การสร้างความรู้ใหม่และการจัดการความรู้ที่ต่อเนื่อง การเสริมสร้างวัฒนธรรมเครือข่ายเพื่อขจัดความขัดแย้ง การเสริมสร้างความน่าเชื่อถือและระบบการตรวจสอบแบบมีส่วนร่วม
ขั้นตอนในการสร้างเครือข่าย 4. ขั้นการรักษาความสัมพันธ์และความต่อเนื่อง การจัดกิจกรรมที่ต่อเนื่อง การรักษาสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกของเครือข่าย การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีและความรู้ใหม่ การกำหนดและสร้างระบบจูงใจในการทำงาน การบริหารจัดการข้อมูล ระบบสื่อสาร และการจัดการความรู้ที่ต่อเนื่อง การให้ความช่วยเหลือและการแก้ไขปัญหาภายในเครือข่าย การเสริมสร้างผู้นำรุ่นใหม่อย่างต่อเนื่อง
ข้อจำกัดของเครือข่าย ข้อโต้แย้งที่สำคัญของการทำงานเชิงเครือข่าย ความเป็นไปได้จริงของการทำงานเชิงเครือข่ายในสังคมทุนนิยมเสรีใหม่ที่เน้น เสรีภาพของปัจเจกบุคคล ความยั่งยืนของเครือข่าย
ต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจน
ต้องมีแผนที่ เป็นไปได้จริง
ต้องเป็นสิ่งที่ดีต่อสังคมส่วนรวม
ต้องมีการสื่อสารภายในกันอย่างสม่ำเสมอ
ต้องมีการสื่อสารต่อสาธารณะ
ต้องมีการสรุปบทเรียนทุกวัน
ปัจจัยเงื่อนไขที่มีผลต่อความมั่นคงของเครือข่าย ความหลากหลายของสมาชิก การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การสร้างระบบฐานข้อมูลของเครือข่ายที่เป็นระบบ การมีพันธะสัญญาที่หนักแน่นระหว่างกัน การพัฒนาอยู่ตลอดเวลา การเสริมพลังการทำงาน การเลื่อนไหลของข้อมูลข่าวสารภายในเครือข่าย
ปัจจัยเงื่อนไขที่มีผลต่อความมั่นคงของเครือข่าย (ต่อ) ต้องมีการสร้างเงื่อนไขให้มีการติดต่อสื่อสารกันอยู่สม่ำเสมอ การมีศูนย์ประสานงานที่หลากหลาย การมีผู้จัดการเครือข่าย มีทุนทั้งจากภายในและภายนอกชุมชน ควรมีการสร้างเครือข่ายในแนวตั้ง เพื่อหนุนช่วยเครือข่ายในแนวนอน เพื่อลดข้อจำกัดของเครือข่ายในแนวนอน
การพัฒนาเครือข่าย และวิเคราะห์ความเข้มแข็ง ของภาคีเครือข่าย ข้อคิดเห็น 1.ร่วมกันทบทวนการดำเนินงานที่ผ่านมา และวิเคราะห์เกณฑ์การประเมิน - การดำเนินงาน DHS กับ DC ยังไม่เชื่อมกัน - เกณฑ์การประเมิน DC พื้นที่ไม่มีส่วนร่วมคิดด้วย 2.การกำหนดประเด็นที่ต้องพัฒนา - การสร้าง/พัฒนาเครือข่าย : เครือข่ายมีเพียงพอ ควรพัฒนาให้เข้มแข็งมากขึ้น - พัฒนาเกณฑ์+กระบวนการประเมินและการจัดกลุ่ม Setting:โดยบูรณาการงาน DC กับการตรวจราชการ - การพัฒนาการขับเคลื่อนโครงการต่อไป : แบ่งเกณฑ์การประเมินเป็นสีเขียว เหลือง แดง จากนั้นควรพัฒนาสีเหลืองก่อน ( กรณีทรัพยากรมีน้อย )
ขอบคุณครับ