กล่าวเปิดประชุมเชิงปฎิบัติการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
มาตรการป้องกันควบคุม การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในช่วง เทศกาลสงกรานต์ จังหวัด นครศรีธรรมราช.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ 17 ตุลาคม 2560
การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ กระทรวงสาธารณสุข
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
อดีต ปัจจุบัน อนาคต ของเอชไอวี ในประเทศไทย
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
แพทย์หญิงศศิธร ตั้งสวัสดิ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บจากจราจรทางถนน
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กล่าวเปิดประชุมเชิงปฎิบัติการ “ การพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการ วิเคราะห์ และ นำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการป้องกันการบาดเจ็บทางถนน สำหรับบุคลากรระดับจังหวัดและเขตสุขภาพ” วันที่ 30 พฤษภาคม- 1 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมไมด้า รีสอร์ท งามวงศ์วาน โดย นพ.สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

Global Status of Road Safety 2015 โดยองค์การอนามัยโลก ชี้ว่าประเทศไทยมีผู้เสียชีวิตสูงถึง 24,237 คน คิดเป็นอัตราตาย 36.2 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งสูงกว่าอัตราตายเฉลี่ย 17.5 ถึง 2 เท่า และสูงเป็นอันดับ 2 ของโลก

นายกฯ ห่วงเรื่องอุบัติเหตุทางถนน พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการ “คืนความสุขให้คนในชาติ” 30 ตค.58 เรื่องอุบัติเหตุทางถนน เป็นเรื่องที่มีกังวลและห่วงใยมาโดยตลอด การ สูญเสียชีวิตจากการจราจรสูงมาก ถือเป็นการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ อันมีค่าสูงสุดของประเทศ และการสูญเสียทางเศรษฐกิจด้วย ผมก็ไม่อยากให้มีสักคนเดียว 

และดำเนินงานต่อเนื่อง ข้อ 5 ป้องกันควบคุมการบาดเจ็บ โดยเฉพาะการจราจรทางถนน เปลี่ยนจาก “ตั้งรับ” เป็น “การรุก” เพื่อลดการบาดเจ็บ และความรุนแรง (เจ็บตาย) และดำเนินงานต่อเนื่อง “ตลอดทั้งปี”

1 2 3 บริหารจัดการ จัดการข้อมูล ป้องกัน รักษา ก.สาธารณสุข ข้อ 5 : ป้องกันควบคุมการบาดเจ็บ โดยเฉพาะ RTI นโยบายเร่งด่วน พ.ศ. 2559 ภาพรวม ข้อเสนอเพื่อสามารถดำเนินงานได้ “ตลอดปี” 1 2 3 4 บริหารจัดการ จัดการข้อมูล ป้องกัน รักษา Quick win ส่วน กลาง EOC RTI ในระบบ ICS / สธฉ. บูรณาการ prevention กับ Service plan พัฒนากลไกข้อมูล ตาย 3 ฐาน บาดเจ็บ IS / 43 แฟ้ม สอบสวน case พัฒนา model DHS/ศปถ.อำเภอ ด่านชุมชน มาตรการองค์กร 3-6 เดือน มีข้อมูลตาย 3 ฐาน ระบบเฝ้าระวัง/รายงาน และ จัดการความเสี่ยงสำคัญ เขตสุขภาพ สสจ./รพ. EOC RTI สสจ., สคร. Trauma & Emergency TEA Unit รพ. A S M1 เขตสุขภาพ (แผน + สนับสนุน งปม. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล 2. จัดอบรม Emergency &Trauma Admin Unit) 3. บริหารจัดการข้อมูล+นำเสนอ ศปถ.จว.ทุกเดือน บูรณาการข้อมูล 3 ฐาน สอบสวน case ตามเกณฑ์ ชี้เป้า“ 5 จุดเสี่ยง” ที่ต้องแก้ไข 3-6 เดือน มีการแก้ไขจุดเสี่ยง 5 จุด/จว /ไตรมาส (380 จุด) การทำงานในปัจจุบัน การทำงานยังขาดการบูรณาการ ยังแยกส่วนการป้องกัน และการรักษา ข้อมูลผู้ป่วยอยู่ในโรงพยาบาล อยู่ในระบบ ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์ในด้านการป้องกัน เนื่องจากไม่มีผู้รับผิดชอบในการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ นำเสนอ เพื่อชี้เป้า ทั้งในส่วนของโรงพยาบาล และ สสจ. (ไม่มีผู้รับผิดชอบหลักงานอุบัติเหตุเป็นเพียงงานฝาก ทำเฉพาะช่วงเทศกาล) ผู้บริหาร/ผู้ปฎิบัติงานในพื้นที่บ่งส่วน ยังมีความคิดว่างานอุบัติเหตุไม่ใช่ภารกิจของสาธารณสุข มีเพียงงานรักษาเท่านั้น จึงให้ความสำคัญกับงานป้องกันน้อย รอเป็นฝ่ายรับ ไม่รุกออกไปทำงานป้องกัน พบว่าในบางพื้นที่ ที่ฝ่ายสาธารณสุขลุกขึ้นมาขับเคลื่อนงานโดยการนำข้อมูลผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากระบบรายงานในโรงพยาบาล และจากการสอบสวน ไปนำเสนอในเวทีหลายระดับ ทั้งระดับจังหวัด อำเภอ และตำบล ทำให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ นายก อบต./เทศบาล ให้ความสนใจ ให้ความสำคัญกับปัญหา แล้วหาแนวทางแก้ไข เกิดมาตรการชุมชน การแก้ไขจุดเสี่ยง มาตรการด่านชุมชน เช่น ภูเก็ต น่าน นครราชสีมา สิงห์บุรี ฯลฯ จึงมีข้อเสนอดังนี้ - ส่วนกลาง ให้เปิด OC ของงานอุบัติเหตุทางถนนในระบบ ICS โดยมีสำนักสาธารณสุขฉุกเฉินรับผิดชอบ ในช่วงวิกฤตให้เปิด EOC ทำหน้าที่พัฒนากลไกข้อมูล (เชื่อมข้อมูล 3 ฐาน สอบสวน case) พัฒนาModel (DHS/DC ด่านชุมชน มาตรการองค์กร) - เขตสุภาพ/สสจ./รพ. ให้เปิด OC ของจังหวัดเชื่อมงานกับ รพ.และศปถ.จังหวัด และ เปิด EOC กรณีเกิดวิกฤต // ตั้ง Emergency & Trauma Admin Unit ใน รพ.ระดับ A S M1 เขตทำหน้าที่ สนับสนุนงบประมาณ จัดทำแผน นิเทศ ติดตาม กำกับ ประเมินผล// จัดอบรมพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ใน Emergency & Trauma Admin unit จังหวัดทำหน้าที่ บริหารจัดการข้อมูล นำเสนอ ให้กับศปถ.จังหวัด ทุกเดือน (เชื่อมข้อมูล 3 ฐาน สอบสวน แase สำคัญ) // วิเคราะห์ นำเสนอ 5 จุดเสี่ยง ที่ต้องแก้ไข //ทำมาตรการองค์กร - อำเภอ ให้ สสอ.เป็นฝ่ายเลขาร่วมใน ศปถ.อำเภอ ทำหน้าที่บริหารจัดการข้อมูล นำเสนอ ศปถ.อำเภอ ทุกเดือน ชี้จุดเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง// สอบสวน case สำคัญ ผลลัพธ์ 3-6 เดือน ส่วนกลาง : ข้อมูลตาย 3 ฐาน ทุกจังหวัด //เกิด Model ต้นแบบในพื้นที่เสี่ยง //เกิดข้อเสนอเชิงนโยบาย เขต/รพ./สสจ. : เสนอข้อมูลตาย สอบสวน และจุดเสี่ยงให้กับ ศปถ.จังหวัด ทุกเดือน // มีการนำข้อมูลไปแก้ไขจุดเสี่ยง 5 จุด/จังหวัด/ไตรมาส อำเภอ : การบาดเจ็บและเสียชีวิตที่จุดเสี่ยงลดลง // เกิดแผนปฏิบัติการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่ดำเนินงานตลอดปี อำเภอ DHS /DC สสอ.เป็นเลขาร่วมใน ศปถ.อำเภอ จัดการข้อมูล สอบสวน case ชี้จุดเสี่ยง และ พฤติกรรมเสี่ยง เสนอ ศปถ.อำเภอทุกเดือน ติดตาม ผลการดำเนินงาน “แก้จุดเสี่ยง”+ อื่นๆ ดำเนินการ (มาตรการองค์กร มาตรการชุมชน ด่าน ชุมชนช่วงเทศกาล) 3-6 เดือน 1. “ช่วงเทศกาล” เจ็บ ตายลดลงในพื้นที่ตั้งด่านชุมชน (7,255 จุด) 2. แก้ไขจุดเสี่ยง 1 จุด/ อำเภอ/ไตรมาส (878จุด)

มาตรการจัดการข้อมูล หัวใจสำคัญของการป้องกันแก้ไขปัญหาการบาดเจ็บบนท้องถนน ข้อมูล 3 ฐาน ข้อมูลเฝ้าระวังการบาดเจ็บ และ การระบุจุดเสี่ยง / พฤติกรรมเสี่ยง ข้อมูลสอบสวนสาเหตุ โครงการ RSIS โดยความร่วมมือ สำนักควบคุมโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน และ ศูนย์วิชาการเพื่อความปลอดภัยทางถนน

ผู้เสียชีวิต .. อุบัติเหตุทางถนน ลดลงครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 50) 1 การบริหารจัดการ เจ้าภาพ แผนงาน งบประมาณ 2 โครงสร้าง พื้นฐาน ถนน ผังเมือง ที่ปลอดภัย 3 ยานพาหนะ มาตรฐาน (ปลอดภัย) 4 คนใช้รถ-ถนน มีความรู้ พฤติกรรม ความปลอดภัย 5 ระบบ ดูแล ช่วยเหลือ ที่ดี UN .. เสนอแนวทาง ให้ทุกประเทศวางฐาน 5 เสาหลัก

มอเตอร์ไซด์ .. คือ กลุ่มหลัก ที่เสียชีวิต (ร้อยละ 73) ข้อมูลเฝ้าระวังการบาดเจ็บ ก.สาธารณสุข 2555

กระทรวงสาธารณสุข .. จะสนับสนุนให้เกิด “การจัดการที่เข้มแข็ง” เพื่อบรรลุเป้าหมายทศวรรษความปลอดภัยทางถนน ยกระดับการจัดการข้อมูลบาดเจ็บและเสียชีวิต ให้สามารถ วิเคราะห์สาเหตุการบาดเจ็บและตายจากอุบัติเหตุ เพื่อทราบ “ปัจจัยเสี่ยง” สำคัญที่จะนำไปสู่การแก้ไข พัฒนาระบบบริหารจัดการในทุกระดับ ระบบบัญชาการเหตุการณ์สำคัญ ICS(Incident Command System) และมีศูนย์ปฎิบัติการ EOC (Emergency Operation Center) คอยติดตามปัญหาอย่างใกล้ชิด

รพ. ระดับจังหวัด จะมี Trauma Emergency Admin รพ.ระดับจังหวัด จะมี Trauma Emergency Admin. Unit ที่ช่วยประมวลข้อมูลบาดเจ็บ ร่วมกับ สสจ. เพื่อนำเสนอ ศปถ.จังหวัดทุกเดือน ระดับอำเภอ และ ตำบล ซึ่งเป็น “จุดจัดการ” ที่ สำคัญ ใช้กลไกหลัก DHS ระบบบริการสุขภาพระดับ อำเภอ ที่เน้นงาน “เชิงรุก” โดยให้ สาธารณสุขอำเภอ ร่วมเป็นผู้ช่วยเลขานุการ ศปถ.อำเภอ นำข้อมูล รพ. และ หน่วยงานต่างๆ ( ตร., กู้ชีพกู้ภัย) วิเคราะห์ ชี้ปัญหา/ สาเหตุ โดยเฉพาะ “จุดเสี่ยง” * ศปถ = ศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน

ส่งเสริม และ สนับสนุนให้เกิดการ “ป้องกันความเสี่ยงหลัก” กระทรวงสาธารณสุข .. จะสนับสนุนให้เกิด “การจัดการที่เข้มแข็ง” เพื่อบรรลุเป้าหมายทศวรรษความปลอดภัยทางถนน ส่งเสริม และ สนับสนุนให้เกิดการ “ป้องกันความเสี่ยงหลัก” วิเคราะห์และนำเสนอ ศปถ.จังหวัด/อำเภอ และหน่วยงานหลัก เพื่อการ จัดการจุดเสี่ยง อย่างน้อย 5 จุด/จังหวัด/ไตรมาส ผู้บาดเจ็บในโรงพยาบาล และ รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล จะได้รับการ ส่งเสริมสุขภาพ เพื่อสร้างความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น แนะนำ ญาติ / ผู้ป่วย Head Injury จากการไม่สวมหมวกกันน๊อก ก่อน กลับบ้าน ให้ความร่วมมือกับโรงเรียน ที่นำนักเรียนในชุมชน มามีกิจกรรม เรียนรู้ความปลอดภัยจากผู้ประสบเหตุ ตามความเหมาะสม ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วม “ด่านชุมชน” และ หน่วยงานต่างๆ มีการ กำหนด “มาตรการองค์กร ด้านความปลอดภัยทางถนน”

มาตรฐานการดูแลรักษาในโรงพยาบาล และการส่งต่อ ผู้ป่วย กระทรวงสาธารณสุข .. จะสนับสนุนให้เกิด “การจัดการที่เข้มแข็ง” เพื่อบรรลุเป้าหมายทศวรรษความปลอดภัยทางถนน พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ร่วมกับหน่วยงาน และท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง ให้มีการพัฒนามาตรฐานและยกระดับการดูแล รักษา ตั้งแต่ การรับแจ้งและช่วยเหลือได้รวดเร็ว และ มาตรฐานการดูแล ณ จุด เกิดเหตุ มาตรฐานการดูแลรักษาในโรงพยาบาล และการส่งต่อ ผู้ป่วย การช่วยเหลือเยียวยา และ ฟื้นฟูสภาพ เพื่อดำรงชีวิตต่อได้อย่างมี คุณภาพ

เกิดขึ้นตลอดทั้งปี และ บาดเจ็บจากการจราจรทางถนน ถือเป็นเรื่องเร่งด่วน .. ทุกๆ ความสูญเสีย ส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อครอบครัว สังคม และ ประเทศชาติ ที่สำคัญความสูญเสียทั้งหมดนี้ เกิดขึ้นตลอดทั้งปี และ เราสามารถ “ป้องกันได้”