ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
Advertisements

หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
นางสาวปทุมวัลย์ เตโช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัด ลำพูน พฤติกรรมในการใช้บริการ อินเตอร์เน็ตศูนย์วิทยบริการ ของนักศึกษาวิทยาลัย เทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ.
ความพึงพอใจของครูต่อการใช้โปรแกรมระบบจัดการข้อมูลสถานศึกษา Online (School Information System Advance : SISA) ในวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ โดย.
ณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการในมหาวิทยา ราชภัฏนครราชสีมา
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
RMC2005.
การใช้งานระบบ MIS ความสำคัญและผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ผู้นำเสนอ น. ส. สุทธินี มหามิตร ฝ่ายระบบคอมพิวเตอร์ สำนักบริการคอมพิวเตอร์ 30 พฤษภาคม 2550 ผู้นำเสนอ น. ส. สุทธินี มหามิตร ฝ่ายระบบคอมพิวเตอร์ สำนักบริการคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
ระบบบริหารงานบุคคล.
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
เอกสารแนะนำการใช้งานระบบจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ (เบื้องต้น) โดย นายพชร อินทรวรพัฒน์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
NU.Libray Online Purchasing System
แนวทางการบริหารงาน สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
สินค้าและบริการ.  บริการ Internet Data Center (IDC) เป็นศูนย์กลางข้อมูลอินเทอร์เน็ตครบวงจร ที่ให้บริการโดย บมจ. ทีโอ ที เป็นบริการรับฝากอุปกรณ์ ICT.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและ ถ่ายทอดเทคโนโลยี. สำนักส่งเสริมพัฒนาการบัญชีและถ่ายทอดเทคโนโลยี ลำ ดับ หลักสูตร คน : รุ่น ว / ด / ป ที่ ดำเนินการ 1.ข้าราชการใหม่40.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
ระบบงานธุรการ (GA Center). นายวรากร หอมมณฑา รหัสนิสิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา ตำแหน่งงาน System Programmer.
Windows xp starter Edition ซอฟแวร์เพื่อคนไทย ซ. windows xp starter Edition คืออะไร Windows xp Starter Edition เป็นความ ร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลไทยกับ ไมโครซอฟท์ที่ต้องการให้ผู้ใช้งาน.
ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้ใช้ต่อการบริการของ ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี Expectation and.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
Mahanakorn University of Tecnology มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะวิทยาการและเทคโนโลยี สารสนเทศ.
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
และการใช้เครื่องมือในการสร้างเว็บเพจ
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
Sripatum University Chonburi Campus
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
วันที่ 15 – 16 มิถุนายน 2558 ณ สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
V ระบบการจัดการฐานข้อมูล บทที่ 2 วงจรการพัฒนาระบบ (SDLC : System Development Life Cycle) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา น้อยดอนไพร สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
บทที่ 1 : บทนำ อาจารย์วิภาดา เชี่ยวชาญ วท.ม.,วท.บ.
โครงการจัดทำระบบจัดเก็บข้อมูลการใช้งาน และประเมินคุณภาพอุปกรณ์ไฟฟ้า
ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
บทที่ 4 การให้บริการแพลตฟอร์ม Platform as a service(PaaS) 4.1 ความหมาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System ธราธร ชอบไร่2 สุชาดา พรหมโคตร1,2,3 วิชัย พัวรุ่งโรจน์1,2 ปาริชาติ แสงระชัฎ1,4 1สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 4สาขาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

บทนำ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

บทนำ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

บทนำ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เพื่อเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

ขั้นตอนและวิธีการดำเนินงาน

1. ขั้นตอนการวิเคราะห์ความต้องการของระบบ (Requirement Analysis) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้บริการจากบริษัทหนังสือต่างประเทศ เช่น EBSCO, Gale, IG, Springer Link เป็นต้น ความต้องการของผู้ใช้งานจากหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกที่ต้องการเผยแพร่ข้อมูลในรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แก่ผู้ใช้งาน เช่น หนังสือ วารสาร คู่มือ รายงาน เป็นต้น ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

2. ขั้นตอนการออกแบบระบบ (Design) ผู้ดูแลระบบ (Admin) ผู้ใช้งาน (User) ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

2. ขั้นตอนการออกแบบระบบ (Design) ผู้ดูแลระบบ (Admin) สามารถจัดการข้อมูลผู้ใช้งานได้ สามารถจัดการข้อมูลหนังสือได้ สามารถจัดการข้อมูลหมวดหนังสือได้ สามารถเก็บสถิติในการเข้ามาอ่านหนังสือได้ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

2. ขั้นตอนการออกแบบระบบ (Design) ผู้ใช้งาน (User) สามารถสมัครสมาชิกได้ สามารถค้นหาหนังสือได้ สามารถอ่านหนังสือแบบ Filbook ได้ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

ความสามารถการใช้งานของผู้ดูแลระบบและผู้ใช้งานระบบ ความสามารถในการใช้งาน ผู้ดูแลระบบ ผู้ใช้งานระบบ จัดการข้อมูลหนังสือ √ X จัดการข้อมูลผู้ใช้งาน ค้นหาหนังสือได้ สามารถเพิ่มหนังสือ สามารถจัดการข้อมูลหนังสือ สามารถอ่านหนังสือ สามารถสมัครสมาชิกได้ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System) นายธราธร ชอบไร่

กระบวนการดำเนินงาน ของระบบ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

3. ขั้นตอนการพัฒนาระบบ (Implementation) ฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ Notebook 1 เครื่อง หน่วยประมลผล: Intel(R) Core(TM) i5-5200U CPU@ 2.80 GHz2.50 -หน่วยความจำ : 4.0 0 GB (3.89 GB usable) -System type : 64 bit Operating System ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

ระบบปฏิบัติการ windows 10 pro Web Server Xampp Sublime ภาษา PHP ภาษา HTML5 ภาษา Java script jQuery mobile Bootstrap CSS3 Flipbook

Data Flow Diagram : Context diagram

Data Flow Diagram : Level 0 ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

Entity Relationship Diagram ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

ผลการศึกษา การแสดงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

การแสดงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบฟลิ๊บบุ๊ค ผลการศึกษา การแสดงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบฟลิ๊บบุ๊ค ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

การเก็บสถิติในการเข้ามาอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้ ผลการศึกษา การเก็บสถิติในการเข้ามาอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ได้ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

การแสดงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แนะนำแก่ผู้อ่าน ผลการศึกษา การแสดงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แนะนำแก่ผู้อ่าน ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

การเพิ่มข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ผลการศึกษา การเพิ่มข้อมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

การจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ผลการศึกษา การจัดการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

4. ขั้นตอนการทดสอบโปรแกรม (Testing and Setting) จากการทดสอบการใช้งานโปรแกรมได้ประเมินความพึงพอใจจากการใช้งาน พบว่า ผู้ใช้งานมีความ พึงพอใจอยู่ในระดับ “มาก” และยังมีความคิดเห็นเพิ่มเติมในการพัฒนา เช่น เพิ่มจำนวนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ให้มากขึ้น เป็นต้น ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

การประเมินการใช้งานระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System) รายการ ค่าเฉลี่ ย S.D. ผลการ ประเมิน 1.ด้านตรงตามความต้องการ (Function Requirement) 4.32 0.51 มาก 2.ด้านความสามารถทำงานได้ตามหน้าที่ (Function) 4.35 0.54 3.ด้านความง่ายต่อการใช้งาน (Usabilit y)  4.36 0.55 4.ด้านประสิทธิภาพ (Performance) 4.38 0.58 5.ด้านความปลอดภัยของข้อมูล (Securit y) 4.37 0.56 รวมทั้งหมด ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

5. ขั้นตอนการบำรุงรักษา ประเมินผล และปรับปรุงระบบ (Evolution) การนำระบบเข้าสู่ระบบศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (Server) ของมหาวิทยาลัย เพื่อให้ผู้ใช้งานได้ใช้บริการทั่วไป พร้อมทั้งเก็บสถิติ คำแนะนำ และแก้ไขปัญหาการใช้งาน ฝึกอบรมการใช้งานให้กับเจ้าหน้าที่ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติจากการใช้งานเพื่อนำมาปรับปรุงโปรแกรมต่อไป ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

อภิปรายผล ในการพัฒนาระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย เพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักศึกษา เจ้าหน้าที่และบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย และบุคคลภายนอก ซึ่งได้มีการนำการออกแบบเว็บไซต์แบบรีสปอนซีฟ (Responsive Web Design : RWD) และการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แบบฟลิ๊บบุ๊ค (Flip Book) ทำให้เกิดความสะดวกสบาย รวดเร็วต่อการอ่านหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ต้องเสียเวลาในการยืม-คืนหนังสือ และเป็นการส่งเสริมการเข้าใช้บริการของศูนย์วิทยบริการ รวมทั้งเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ศูนย์วิทยบริการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Book System)

ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System ธราธร ชอบไร่2 สุชาดา พรหมโคตร1,2,3 วิชัย พัวรุ่งโรจน์1,2 ปาริชาติ แสงระชัฎ1,4 1สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 4สาขาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย