ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนา งานวิจัย สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ 2551.
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
ผลการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคเอดส์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ทีมคลินิกเบาหวาน/ความดัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
การประชุม เรื่อง การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ 4 ปี (พ. ศ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
EB9 (3) มีการประชุมหรือสัมมนาหรือแลกเปลี่ยนความรู้ภายในหน่วยงาน เพื่อให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่เจ้าหน้าที่ หรือไม่
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
สรุปผลการดำเนินงานวิจัย สวส. ปี 2559
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
สรุปประเด็นสำคัญ.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
จังหวัดสมุทรปราการ.
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานสถานการณ์E-claim
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด นายศักดิ์ณรงค์ สอนคง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

“ นกน้ำเพลินตา สมิหลาเพลินใจ เมืองใหญ่สองทะเล เสน่ห์สะพานป๋า ศูนย์ค้าแดนใต้ ”

บทบาทหน้าที่ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา การเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในส่วนของยาเสพติดและโรคเอดส์ การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค วางแผนการดำเนินงาน การดำเนินงานตามแผนงานกิจกรรม การนิเทศ ติดตาม ประเมินผล การสรุปผลการดำเนินงาน การนำเสนอผลงาน

การติดตามผลการดำเนินงาน ในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติดในหน่วยบริการ จังหวัดสงขลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 ฝ่ายพัฒนาระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์

พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลสิงหนคร โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลจะนะ โรงพยาบาลธัญรักษ์สงขลา สิงหนคร เมืองสงขลา หาดใหญ่ จะนะ

ผู้มารับบริการในคลินิกบำบัดยาเสพติด จังหวัดสงขลา ในช่วงระยะเวลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556 ผู้ใช้ยาเสพติดที่รับบริการทั้งสิ้น 402 ราย IDU = 220 ราย (54.7%) และ Non IDU = 182 ราย (45.3%)

ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ %

ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ จำแนกตามกลุ่มอายุ และวิธีการใช้ยา/สารเสพติด % มีอายุตั้งแต่ 14 – 66 ปี ปี ผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ส่วนใหญ่มีอายุเฉลี่ย 35.4 ปี (14-66 ปี) โดยเฉลี่ยผู้ใช้/สารเสพติดเริ่มใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดครั้งแรกเมื่ออายุ 21 ปี และฉีดมาเป็นระยะเวลานานประมาณ 17 ปี

ยา/ สารเสพติดที่เคยใช้ ภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนเข้ารับบริการในครั้งนี้ ยา/ สารเสพติดที่เคยใช้ ภายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนเข้ารับบริการในครั้งนี้ % แบ่งภาคก่อนนะ ทำเป็นกราฟดีกว่าอ่ะ 63% ของ IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด 17% ของ Non IDU ใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิด (4x100, สุรา)

พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการใช้ยา/สารเสพติด N (89.3%) (57.5%) (31.7%)

ร้อยละของพฤติกรรมการมีเพศสัมพันธ์ และ การใช้ถุงยางอนามัย เมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุด %

ความรู้เกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวีที่ตอบได้ถูกต้อง ของผู้ใช้ยาเสพติดที่มารับบริการ %

สถานการณ์เอชไอวีในผู้ใช้ยา/สารเสพติด ในหน่วยบริการ จังหวัดสงขลา % เติม N

ร้อยละของผู้ใช้ยา/สารเสพติดด้วยวิธีฉีดที่ได้รับบริการ การบริการที่ได้รับ IDU (N = 220) จำนวน ร้อยละ MMT 171 77.7 การแลกเปลี่ยนเข็ม และกระบอกฉีดยาใหม่ 36 16.4 การสอน/สนับสนุนอุปกรณ์ในการ ทำความสะอาดเข็ม 60 27.3 การสนับสนุนถุงยางอนามัย 77 35.0

การตรวจคัดกรองสุขภาพของผู้ใช้ยา/สารเสพติดที่มารับบริการ ในช่วงระยะเวลา เดือนตุลาคม 2555 – กันยายน 2556  Screen IDU (N = 220) Non-IDU (N = 182) จำนวน ร้อยละ Screen TB 69 31.4 1 0.5 TB infected 6 8.7 100 Screen STI 65 29.5 2 1.1 STI infected 1.5 Screen HBV 79 35.9 3 1.6 HBV infected Screen HCV 34 15.5 HCV infected 2.9 50

ข้อมูลเฝ้าระวังกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด (IDUs) จังหวัดสงขลา ดำเนินเฝ้าระวัง พ.ศ. 2555 จำนวนกลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีดที่เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 173 คน เก็บข้อมูลในพื้นที่อำเภอจะนะ , หาดใหญ่ , เทพา , สิงหนคร , ระโนดและอำเภอเมือง เก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามและการเจาะเลือด ดำเนินการเก็บข้อมูลในช่วงเดือน ตุลาคม 2555 – มกราคม 2556

ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 จำนวน 173 ตัวอย่าง

ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 หมายเหตุ ผู้ใช้สารเสพติดบางคนใช้สารเสพติดมากกว่า 1 ชนิด

ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 ข้อมูลทั่วไป กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555 การติดเชื้อเอชไอวี จำนวน 71 คน

ร้อยละของการติดเชื้อ HIV กลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ. ศ แทรก Slide ไตเติ้ลการเฝ้าระวังในปะชากรกลุ่มต่าง ๆ

ความรู้ ทัศนคติเกี่ยวกับโรคเอดส์ กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดชนิดฉีด จังหวัดสงขลา พ.ศ. 2555

การบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์ จากข้อมูล การนำเสนอข้อมูลผ่านผู้บริหารระดับจังหวัดเพื่อกำกับติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน การสรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดทั้งในกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงอื่น ๆ วางแผนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและเอดส์ทั้งในระดับจังหวัดและระดับพื้นที่ เพื่อพัฒนามาตรฐานคุณภาพการดำเนินงานของคลินิกยาเสพติด เพื่อติดตามการดำเนินงานระดับจังหวัดและระดับพื้นที่ ทราบขนาดของปัญหา เพื่อวางแผนในการแก้ไขปัญหาในพื้นที่

ปัญหา/อุปสรรค การดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค การดำเนินงาน ผู้บริหารจะให้ความสำคัญในเรื่องของการแก้ปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นนโยบายหลักของรัฐบาล การให้ความสำคัญของการดำเนินงานเฝ้าระวังการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้สารเสพติด ยังมีน้อยเนื่องจากปัญหาความซับซ้อนทั้งในเรื่องของแบบ พสต./Harm Reduction การดำเนินงานเอดส์และยาเสพติด มีการแยกเป็น 2 ฝ่าย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบยาเสพติดของโรงพยาบาลมีภารกิจมาก

ปัญหา/อุปสรรค การดำเนินงาน ปัญหา/อุปสรรค การดำเนินงาน การเก็บข้อมูลฯ มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนทำให้ได้ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง ภาระงานของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบมีมาก การนำเข้าข้อมูลทั้ง พสต./Harm Reduction มีความล่าช้า ปัญหาในเรื่องการเบิกจ่ายงบประมาณ (บางเรื่อง)