การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Continuous Quality Improvement
Advertisements

ทบทวนให้ถึงแก่น น.พ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
คู่มือการพัฒนาคุณภาพ HA SPA SAR 2011 HA Scoring Guideline 2011
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
Quality Improvement Track
แนวคิดบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
1 Quality Improvement Tract สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ( องค์การมหาชน )
Service Profile บริการ/ทีม: ……………………………. โรงพยาบาลนครปฐม
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
Smart to Re-Acc :common pitfalls part I นพ. สมคิด เลิศสินอุดม 6 กรกฎาคม 2559.
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
Hospital Safety Model: Move by CoP
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
เกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติเพื่อองค์กรที่เป็นเลิศ
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาคุณภาพ
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
Risk Management System
Framework for Evaluation & Sharing
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
PCT / ระบบสำคัญ : ใช้ Cycle of Learning ในการหมุน PDSA
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้นำกับการพัฒนาคุณภาพแบบฉบับ HA
ทบทวนมาตรฐานHA ตอนที่ III กระบวนการการดูแลผู้ป่วย
การเยี่ยมสำรวจภายใน HA 401
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
แนวทางการจัดทำรายงาน
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
สร้างคุณค่าจากพลัง ชาว HACC นครชัยบุรินทร์
Note เรียน คณะกรรมการทีมระบบ
รายงานการประเมินตนเอง
บริบท เป็นโรงพยาบาลทั่วไปขนาด 30 เตียง และเปิดให้บริการ 38 เตียง
Risk Management in New HA Standards
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
Easy Quality for CLT/PCT
รัชนีย์ วงค์แสน งานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
Template of Quality Report for CLT/PCT
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
เป็นฐานสำคัญขององค์กร
นโยบายแห่งชาติด้านยาของไทย
จาก Recommendation สู่การพัฒนาคุณภาพ
Service Plan สาขาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
วิสัยทัศน์ (Vision) โรงพยาบาลชลบุรี มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางการแพทย์ และสถาบันวิชาการชั้นนำระดับชาติ
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
อาการของมะเร็งเต้านม ที่กลับเป็นซ้ำ และ หรือ แพร่กระจาย
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
จงลุกขึ้น ... ฉายแสง ภารกิจที่ท้าทาย ผู้วินิจฉัย 6: 12.
โรงพยาบาลนนทเวช.
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
Framework for Evaluation & Sharing
การพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี
ตึกผู้ป่วยในพิเศษสูติ-นรีเวชกรรม Presentation
เกษตรอำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

ศึกษา Hospital profile ของโรงพยาบาลแล้วสรุปประเด็น

ทบทวน SPA ค้นหาคุณค่า SPA

SPA : Standards – Practice - Assessment มาตรฐาน ทำความเข้าใจ จับประเด็นสำคัญ SPA : Standards – Practice - Assessment

(3) ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้ออยู่บนพื้นฐานของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย การปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ เป็นไปตามข้อกำหนดในกฎหมาย และจัดทำแนวทางปฏิบัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร. กิจกรรมที่ควรดำเนินการ • ICN และคณะกรรมการ IC ร่วมกันเลือกสรร scientific evidence (หลักฐานวิธีการที่ได้รับการพิสูจน์ว่าได้ผลจากการศึกษาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์) ที่ update จากแหล่งที่เหมาะสม เช่น CDC, ชมรมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล • นำข้อมูลหลักฐานดังกล่าวมาเปรียบเทียบกับแนวทางปฏิบัติงานที่ใช้อยู่ (ถ้ามีการจัดทำไว้แล้ว) ทบทวนแนวทางปฏิบัติให้ทันสมัยกับ evidence • ทำ gap analysis เพื่อหาช่องว่างของการปฏิบัติกับมาตรการที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว กำหนดเป้าหมายและแผนการปรับปรุง • จัดทำแนวทางปฏิบัติงานเท่าที่จำเป็น เพื่อเป็นที่ใช้อ้างอิง ทำความเข้าใจ และธำงให้การปรับปรุงที่เกิดขึ้นมีความยั่งยืน ประเด็นที่ควรตอบในแบบประเมินตนเองโดยสรุป • ตัวอย่าง scientific evidence ที่นำมาใช้ในการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ S P A นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล “คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA” 10th HA National Forum 12 มีนาคม 2552

กิจกรรมกลุ่ม เลือกมาตรฐานที่สนใจและศึกษา S-P-A จาก S Standard ที่เลือก มี P Practice ข้อไหนที่ท่านทำแล้ว ท่านทำได้ดีอย่างไร Practice ข้อไหนที่ท่านอยากทำ จะทำอย่างไร ท่านคิดว่าท่านใช้ประโยชน์จาก SPA อย่างไร

เพื่อจุดประกายการพัฒนา การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนา สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

(on PPT) SPA in Action Standards Practice Assessment SPA in Action What? : อะไรคือปัญหาเฉพาะในเรื่องนี้ Standards Practice Assessment How? : จะทำอย่างไรกับเรื่องนี้ดี SPA in Action ขอรับรอง HA SAR2011 PDCA QI Report (on PPT) ต่ออายุขั้นที่ 2

SPA in Action SPA 3P นำมาตรฐาน Purpose Standards in มาสู่การปฏิบัติ Process Practice Action ประเมินให้เห็นชัด Performance Assessment

SPA in Action What? : อะไรคือปัญหาเฉพาะในเรื่องนี้ (3) ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้ออยู่บนพื้นฐานของความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย การปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ เป็นไปตามข้อกำหนด ในกฎหมาย และจัดทำแนวทางปฏิบัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร. What? : อะไรคือปัญหาเฉพาะในเรื่องนี้ How? : จะทำอย่างไรกับเรื่องนี้ดี More How? : แล้วจะให้สิ่งดีๆ นี้ธำรงอยู่อย่างไร

คำถามเพื่อตรวจสอบตนเอง (3) ระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้ออยู่บนพื้นฐานของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ทันสมัย การปฏิบัติซึ่งเป็นที่ยอมรับ เป็นไปตามข้อกำหนดในกฎหมาย และจัดทำแนวทางปฏิบัติไว้เป็นลายลักษณ์อักษร. คำถามเพื่อตรวจสอบตนเอง ดำเนินการปรับปรุง Evidence ใหม่ๆ เกี่ยวกับงาน IC มี อะไรบ้าง ทบทวนว่ามีการนำ evidence ดังกล่าวไปกำหนดเป็นแนวทางปฏิบัติ ของ รพ.อย่างไร Evidence ที่มีอยู่ในแนวทางปฏิบัติ ของ รพ. แต่ยังมีการปฏิบัติกันน้อย มี ทบทวนว่าจะส่งเสริมให้มีการปฏิบัติ มากขึ้นได้อย่างไร SPA in Action

กิจกรรมกลุ่ม ศึกษา SPA in Action ในมาตรฐานที่เลือก จากโอกาสพัฒนาที่พบ ลองแลกเปลี่ยนเพื่อสรุปว่าถ้าไม่ดำเนินการในแต่ละเรื่องจะได้รับผลกระทบหรือผลเสียอย่างไร จากโอกาสพัฒนาที่พบถ้าจะลงมือ Action เพื่อดำเนินการพัฒนาท่านจะวางแผนในการดำเนินการอย่างไรให้ครอบคลุมทั้งหมด มีประเด็นอะไรที่อยากตั้งคำถามเพิ่มเติม

SPA in Action จุดมุ่งหมายเพื่อนำไปสู่การวางแผนพัฒนาในประเด็นที่สำคัญขององค์กร ไม่ใช่ให้ตอบ สรพ. อาจจะใช้ SPA in Action แทน SPA ได้ สามารถเพิ่มคำถามได้เองเพื่อความสมบูรณ์ สามารถวางแผนพัฒนาโดยไม่ต้องปฏิบัติตามแนวทางในคอลัมน์ขวาทั้งหมดก็ได้ บางเรื่องต้องกลับไปดูรายละเอียดใน SPA

มาตรฐานที่เป็นจุดเน้นในการธำรงการพัฒนาบันไดขั้นที่ 2 สู่ HA ประจำปี 2557 I-6 การจัดการกระบวนการ II-1 การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัยและคุณภาพ II-4 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (IC) II-6 ระบบการจัดการด้านยา III-1 การเข้าถึงและเข้ารับบริการ III-2 การประเมินผู้ป่วย III-3 การวางแผนการดูแลผู้ป่วย III-4 การดูแลผู้ป่วย III-5 การให้ข้อมูลและเสริมพลังแก่ผู้ป่วย ครอบครัว III-6 การดูแลต่อเนื่อง

รายงานการพัฒนาคุณภาพ ที่เป็นผลมาจากการใช้ SPA in Action Template รายงานการพัฒนาคุณภาพ ที่เป็นผลมาจากการใช้ SPA in Action สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2556

อธิบายการใช้ Template การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ประเด็นการพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ Standard Precautions การทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อ การจัดการกับสิ่งที่ปนเปื้อนเชื้อโรค การส่งเสริมการล้างมือ การแยกพื้นที่ที่ต้องการความสะอาดจากพื้นที่ปนเปื้อน จุดที่มีโอกาสแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม ระบุประเด็นที่นำมาพัฒนาในเรื่องนั้นๆ ระบุการปรับปรุงที่เกิดขึ้น รวมทั้งการปฏิบัติสำคัญที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ระบุผลลัพธ์เชิงปริมาณหรือคุณภาพ (ถ้าสามารถทำได้) พยายามเขียนให้กระชับที่สุด เพื่อทบทวนและเรียนรู้ร่วมกันภายในทีม

กิจกรรมกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตอบ template ตามมาตรฐาน นำเสนอ

รูปแบบที่ 1 รายงานพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน 10 บท

การปรับปรุง/ผลการพัฒนาที่สำคัญ 3P ในระดับหน่วยงาน หน่วยงาน เป้าหมายสำคัญ การปรับปรุง/ผลการพัฒนาที่สำคัญ

การปรับปรุง/ผลการพัฒนาที่สำคัญ 3P ในระบบงานสำคัญ ระบบงาน เป้าหมายสำคัญ การปรับปรุง/ผลการพัฒนาที่สำคัญ

3P ในประเด็นเชิงกลยุทธ์ การปรับปรุง/ผลการพัฒนาที่สำคัญ เป้าหมายสำคัญ การปรับปรุง/ผลการพัฒนาที่สำคัญ

การตอบสนองอุบัติการณ์ RCA การปรับปรุงระบบงาน

ระบบบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ประเด็นพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ วัฒนธรรมความปลอดภัย การระบุ/บ่งชี้ความเสี่ยง การกำหนดมาตรการป้องกัน การปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน การรายงานอุบัติการณ์ การเรียนรู้จากอุบัติการณ์ การติดตามแนวโน้มของอุบัติการณ์

การปฏิบัติ/การปรับปรุง Patient Safety Goals Goals การปฏิบัติ/การปรับปรุง ผลลัพธ์ Safe Surgery Infection Medication Process Line/tubing/catheter Emergency

การปรับปรุงที่เป็นผลจากการทบทวน การทบทวนคุณภาพ การทบทวน การปรับปรุงที่เป็นผลจากการทบทวน การทบทวนข้างเตียง การทบทวนเวชระเบียน การทบทวนอุบัติการณ์ การทบทวนการใช้ยา การทบทวนคำร้องเรียน การทบทวนโดยผู้ชำนาญ การทบทวนการส่งต่อ การทบทวนการติดเชื้อ

การป้องกันการติดเชื้อ การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ประเด็นพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ Standard Precautions การทำลายเชื้อและทำให้ปราศจากเชื้อ การจัดการกับสิ่งที่ปนเปื้อนเชื้อโรค การส่งเสริมการล้างมือ การแยกพื้นที่ที่ต้องการความสะอาดจากพื้นที่ปนเปื้อน จุดที่มีโอกาสแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ การปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม

การป้องกันการติดเชื้อ ประเด็นพัฒนาในพื้นที่เฉพาะ การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ห้องคลอด ห้องผ่าตัด หอผู้ป่วยวิกฤติ หน่วยซักฟอก หน่วยจ่ายกลาง โรงครัว หน่วยกายภาพบำบัด โรงเก็บศพ หน่วยบำบัดน้ำเสีย

การป้องกันการติดเชื้อ การปรับปรุง/มาตรการป้องกันที่ใช้ปฏิบัติ อัตราการติดเชื้อ การปรับปรุง/มาตรการป้องกันที่ใช้ปฏิบัติ CA-UTI VAP SSI BSI

การสั่งใช้ยา และการจัดเตรียมยา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ประเด็นพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ปัญหาเกี่ยวกับการสั่งใช้ยา ปัญหาเกี่ยวกับการถ่ายทอดคำสั่ง การเข้าถึงเภสัชสารสนเทศ การเข้าถึงข้อมูลผู้ป่วย ระบบ Drug Reconcile Pre-dispensing error

การบริหารยาและติดตามผล การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ประเด็นพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ Medication Error ADR การให้ข้อมูลผู้ป่วย การติดตามผลการให้ยา การรายงานเมื่อเกิดปัญหา

การลดอุปสรรคต่อการเข้าถึง การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ โรคที่ไม่สามารถให้บริการได้ โรคที่มีปัญหาในการเดินทาง โรคที่ไม่ยอมมา ไม่ถูกพามา โรคที่คิวนัดนาน โรคที่ไม่ต้องมา รพ.ถ้าใช้ IT อุปสรรคด้านกายภาพ อุปสรรคด้านภาษา อุปสรรคด้านวัฒนธรรม อุปสรรคด้านอื่นๆ ขั้นตอนที่ไม่มีประโยชน์ การรอคอย

การใช้ข้อมูลเพื่อกำหนดบริการ ข้อมูลปัญหาสุขภาพของชุมชน การนำมาใช้เพื่อปรับปรุง/ขยายบริการ

การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินและเร่งด่วน กลุ่ม ผป.ที่ต้องดูแลฉุกเฉิน/เร่งด่วน การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ที่ ER ที่ OPD ที่ ward ที่ ห้องตลอด การผ่าตัดฉุกเฉิน/เร่งด่วน ระบบการติดตามข้อมูล ผลการติดตามและการปรับปรุง

การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ การรับ/ส่งต่อ ประเด็นพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ โรค/ปัญหาการตัดสินใจรับไว้รักษา โดยไม่เหมาะสม โรค/ปัญหาการตัดสินใจส่งต่อ โดยไม่เหมาะสม ปัญหาการอธิบายและช่วยเหลือผู้ป่วยในการหารพ. โรค/ปัญหาการดูแลก่อนส่งต่อไม่เหมาะสม โรค/ปัญหาการดูแลระหว่างส่งต่อไม่เหมาะสม ปัญหาจากการไม่สามารถรับเข้า ICU ในเวลาที่เหมาะสม

การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ Informed Consent ประเด็นพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ กลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาในการรับรู้และเข้าใจ ข้อมูลทีสำคัญที่ผู้ป่วยต้องได้รับทราบ ข้อมูลที่แพทย์ต้องให้แก่ผู้ป่วยด้วยตนเอง หัตถการที่ควรทำสื่อพิเศษ ข้อมูลที่ควรบันทึกใน informed consent

การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ การประเมินผู้ป่วย ประเด็นพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ระบบที่มักเป็นปัญหา ประเมิน (Hx/PE) ไม่ครอบคลุม การระบุปัญหาและความต้องการที่สำคัญ/เร่งด่วน มิติองค์รวมที่มักประเมินไม่สมบูรณ์ CPG ที่มีโอกาสนำมาใช้ในการประเมิน กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องมีการประสานที่ดีในการประเมิน กลุ่มโรคที่มักมีปัญหาประเมินล่าช้า/ไม่ถูกต้อง

การออกแบบแนวทางการประเมิน การประเมินผู้ป่วย (2) กลุ่มผู้ป่วย ปัญหาเฉพาะ การออกแบบแนวทางการประเมิน อายุน้อยมาก สูงอายุมาก ระยะสุดท้าย หญิงเจ็บท้องคลอด ผิดปกติทางจิตใจ สงสัยว่าจะติดยา/สุรา เหยื่อที่ถูกกระทำทารุณ พยายามฆ่าตัวตาย Rape

การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ การวินิจฉัยโรค ประเด็นพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ การวินิจฉัยโรคที่ไม่เฉพาะเจาะจง โรคที่มีโอกาสวินิจฉัยผิด โรคที่มีโอกาสวินิจฉัยคลาดเคลื่อน โรคที่มีโอกาสวินิจฉัยล่าช้า ภาวะที่แต่ละวิชาชีพมีโอกาสวินิจฉัยไม่สอดคล้องกัน ภาวะสำคัญที่มักจะมิได้รับการวินิจฉัย

การวางแผนการดูแลผู้ป่วย การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ โอกาสพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ โรคที่ต้องวางแผนดูแลร่วมกัน ปัญหาของผู้ป่วยที่มักไม่มีแผนดูแล/ไม่ได้รับการดูแล โรคที่ควรใช้ข้อมูลวิชาการ เป็นแนวทางการดูแลเพิ่มขึ้น โรคที่ควรให้ผู้ป่วย/ครอบครัวมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ โรคที่มักต้องมีการทบทวนและปรับแผนการดูแล

การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ การวางแผนจำหน่าย โอกาสพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ โรคที่ควรมีแผนจำหน่ายในรูปแบบ Care map ล่วงหน้า กลุ่มผู้ป่วยที่มักพบและสามารถรับรู้ปัญหาหลังจำหน่ายได้ตั้งแต่แรกรับ การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยและครอบครัวที่จำเป็น

การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ การดูแลทั่วไป โอกาสพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ความล่าช้าในการดูแลผู้ป่วย การดูแลที่อาจเกินความสามารถ แนวทางปฏิบัติที่อาจถูกละเลย สิ่งที่ไม่เอื้อต่อความเป็นส่วนตัวของผู้ป่วย โอกาสสร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา สิ่งแวดล้อมที่อาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วย/โอกาสเกิดอุบัติเหตุต่อผู้ป่วย ภาววะแทรกซ้อนที่มีโอกาสพบ

การดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง ผู้ป่วย/บริการที่เสี่ยงสูง การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ผู้ป่วยโรคติดต่อ ผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ ผู้ป่วยที่ถูกผูกยึด ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ การให้เลือด การฟอกเลือดด้วยไตเทียม การให้ยาเคมีบำบัด

การดูแลผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง (2) การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ ประเด็นพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ การทำหัตถการที่มีความเสี่ยง การเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลง การรายงานการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย การตอบสนองเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ภาวะวิกฤติ ความไวในการตรวจจับหรือบ่งชี้เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์

การให้ข้อมูลและเสริมพลัง กลุ่มผู้ป่วยที่มุ่งเน้น การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์

การให้ข้อมูลและเสริมพลัง การดูแลตนเอง/การเสริมทักษะ การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ การทำแผล การฉีดยา การพ่นยา การประกอบอาหาร กายภาพบำบัด การดูแลสายสวน การดูดเสมหะ การเปลี่ยนถุงอุจจาระ

การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ การดูแลต่อเนื่อง ประเด็นพัฒนา การปฏิบัติ/การปรับปรุง/ผลลัพธ์ กลุ่มผู้ป่วยที่จำเป็นต้องติดตามต่อเนื่อง กลุ่มผู้ป่วยที่ต้องการความช่วยเหลือและคำปรึกษาหลังจำหน่าย การประสานงานข้อมูลกับหน่วยบริการในพื้นที่ การประสานข้อมูลกับทีมเยี่ยมบ้าน การประสานข้อมูลกับแผนกผู้ป่วยนอก การสร้างความร่วมมือและพัฒนาศักยภาพให้หน่วยบริการในพื้นที่

Opportunity for Quality Improvement Need & Experience of Patients Evidence & Professional Standards Waste Safety

รูปแบบที่ 2

รายงานการพัฒนาคุณภาพทางคลินิก (Clinical CQI Report) กลุ่มโรค วัตถุประสงค์ของการพัฒนา (Purpose) กิจกรรมการพัฒนา (Process Improvement) ผลลัพธ์/การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (Performance)

Improvement Report Summary รูปแบบที่ 3 Improvement Report Summary

Improvement Report Summary ประเด็นมาตรฐาน กิจกรรมการพัฒนา ผลลัพธ์ การเข้าถึงบริการ จัดระบบให้คำปรึกษาทางไกลแก่ผู้ป่วยโรคหอบหืด มีผู้ใช้บริการ 13 ราย (มค.-มีค.57) HR การพัฒนาศักยภาพพยาบาล ให้อ่าน EKG ผู้รับการอบรมพัฒนา 3 ราย

การธำรงขั้นที่ 2 สู่ HA ปี 2557  ใช้กับสถานพยาบาลของรัฐที่มีจำนวนเตียงไม่เกิน 120 เตียงเท่านั้น X สถานพยาบาลที่มีจำนวนเตียงมากกว่า 120 เตียงขึ้นไป X สถานพยาบาลเอกชน สถานพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร ใช้การเยี่ยมสำรวจและประเมินด้วย overall scoring ตามรูปแบบเดิม

ขั้นตอนการธำรงขั้นที่ 2 สู่ HA ด้วย SPA in Action ภายหลังการเรียนรู้เครื่องมือ SPA in Action แต่ละโรงพยาบาลกลับไปศึกษา SPA in Action ในทุกมาตรฐานต่อ รวมรวบโอกาสพัฒนา ผ่านคำถามเพื่อตรวจสอบตนเอง จาก SPA in Action ในแต่ละมาตรฐาน ดำเนินการปรับปรุงโอกาสพัฒนา ด้วย PDCA เมษายน - พฤษภาคม 2557 โรงพยาบาลส่งเอกสาร เพื่อการธำรงขั้น 2 4.1 Hospital profile ฉบับย่อ 4.2 Template รายงานการพัฒนาคุณภาพที่เป็นผลมาจากการใช้ SPA in Action (มาตรฐาน 10 ระบบ) 4.3 Self recommendation แผนพัฒนาคุณภาพ จากการทำ PKM ปี 2556

Hospital profile รพ....... วิสัยทัศน์ ความท้าทายสำคัญ วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ความสามารถเฉพาะขององค์กร (Core Competency) โรคสำคัญในพื้นที่ กลุ่มผู้ป่วยเป้าหมาย เข็มมุ่ง/จุดเน้น

ขั้นตอนการธำรงขั้นที่ 2 สู่ HA ด้วย SPA in Action เมษายน - พฤษภาคม 2557 เมื่อสรพ.ได้รับเอกสารจากรพ.เพื่อการ ธำรงขั้น 2 5.1 สรพ. จัดกลุ่ม รพ. 4 แห่ง/กลุ่ม 5.2 จัดเวทีนำเสนอ โดย โรงพยาบาลนำเสนอ รายงานการพัฒนาคุณภาพที่เป็นผลมาจากการใช้ SPA in Action 4 รพ./ ผู้ประเมิน 1 ท่าน 5.3 ผู้ประเมิน พิจารณาความเหมาะสมในการต่ออายุขั้นที่ 2 (ต่ออายุทันที ,ต่ออายุหลังได้รับรายงานความก้าวหน้าเพิ่มเติม,ต่ออายุหลังมีการลงเยี่ยมโรงพยาบาลเพิ่มเติมก่อนพิจารณา ซึ่งรพ.เป็นผู้รับผิดชอบ ค่าใช้จ่ายในการเยี่ยม 1 manday) 5.4 สรพ.รายงานผลการธำรงการพัฒนาคุณภาพบันไดขั้นที่ 2 แก่ รพ.และสปสช.ภายใน 30 มิถุนายน 2557