การวิจัยทางการท่องเที่ยว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Getting Started with e-Learning
Advertisements

STUDY VISIT PROGRAM IN USA
ที่ปรึกษาวัยรุ่นอัจฉริยะ ด้านการศึกษาต่อต่างประเทศ Intelligent Counselor on Studying Aboard โดย นางสาวช่อเพชร มหาเพชร นายธนภัทร จามพฤกษ์
Conclusion from GET. จากสไลด์ด้านบน เป็น appid ที่ได้ลองสมัครไป จากนั้นได้ลองนำเอา appid & key ที่ได้ลองไป โพสต์ข้อความแบบ GET จะได้ดังนี้
Introduction Education Internet Compare home with website
2 nd Pan Asia Pacific Congress on Military Medicine.
Internet, & Network โดย ศน.ไพฑูรย์ ปลอดอ่อนและ อ.ศรชัย เกษมสุข.
PHP Update : August 23,2012.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
กิจกรรมที่ 3 คำถาม สเตฟาน เป็น ครูสอนคอมพิวเตอร์ ทำงานใน โรงเรียนบัวแก้ววิทยาลัย สเตฟาน ได้รับคำสั่ง จากผู้บริหาร ให้นำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยใน การทำงานด้านต่างๆ.
กำหนดการ – น. ลงทะเบียน – น. กล่าวต้อนรับและเปิดการสัมมนา – น. นโยบายส่งเสริมการลงทุนใน รูปแบบคลัสเตอร์ โดย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการ.
Testing & Assessment Plan Central College Network I.
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
โรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต Internet Technology
TCP/IP Protocol นำเสนอโดย นส.จารุณี จีนชาวนา
ทรัพยากรการท่องเที่ยว (TIM 1301)
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ก.พ.อ. 03 : ก้าวแรกสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
Risk Management System
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
บทที่ 4 การใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น Introduction to Internet
Research of Performing Arts
ABI/INFORM Collection
Information and Communication Technology Lab 13
1 Pattern formation during mixing and segregation of flowing granular materials. รูปแบบการก่อตัวของการผสมและการแยกกันของวัสดุเม็ด ผู้จัดทำ Guy Metcalfe.
โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome; MERS)
การสื่อสารและการใช้ภาษาไทย
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
ABI/INFORM Collection
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
เดินหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สู่ทศวรรษที่ 8
เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย
แนวทางการทำงานของ “วิทยากรแกนนำเน็ตประชารัฐ”
การปฐมนิเทศนักศึกษาฝึกงาน โรงเรียนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 พ. ศ
คำอธิบาย รายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 รหัสวิชา ง23102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตัวชี้วัด ม.3/1 อธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ.
แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด
กิจกรรมที่ 1 ให้นักศึกษาทำภาระกิจตามสถานการณ์ปัญหาที่กำหนด ซึ่งมี 4 สถานการณ์ปัญหา โดยให้ศึกษา และค้นคว้าจาก Internet หรือห้องสมุด แล้วสรุปตามความคิดของตนเอง.
Google Documents By Aj.Net Tullabhat Boonterm
การใช้ บัตรเครดิตราชการ
เจาะลึก google หลักการทำงานของ search engine
พญ.มยุรี ไกรศรินท์ สูตินรีแพทย์ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการของสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
บทที่ ๒ เรื่องที่ ๖ การเขียนรายงาน
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
นโยบายและแนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
ระบอบทรัพย์สินดิจิทัล
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
อุปนายกสมาคมวิจัยและพัฒนาการศึกษา ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์
งานการเงินนักศึกษา ส่วนการเงินและบัญชี
การใช้ระบบโปรแกรม การกำหนดสิทธิ์การใช้งาน  เจ้าหน้าที่ บันทึก
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เขียนบทความวิจัยอย่างไร ในวารสารวิชาการนานาชาติ
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
การเสนอโครงร่างโครงงานวิจัย (Research Proposal)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิจัยทางการท่องเที่ยว Research in Tourism รหัสวิชา 151-008

การเขียนรายงานการวิจัย ทางการท่องเที่ยว

ส่วนประกอบรายงานการวิจัย ประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญ 1.ส่วนนำ ปก บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ

2.ส่วนเนื้อหา ประกอบด้วย 5 บท บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมา วัตถุประสงค์ในการวิจัย ขอบเขตการวิจัย สมมติฐานการวิจัย ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย นิยามศัพท์เฉพาะ *กรอบแนวคิดในการวิจัย

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม แนวคิด หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง บริบทสถานที่ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล

บทที่ 4 ผลการวิจัย ข้อมูลทั่วไปของประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ผลการวิจัย การทดสอบสมมติฐาน (ถ้ามี)

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย การอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ

ส่วนอ้างอิง บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผู้วิจัย

ส่วนนำ เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัยทางการท่องเที่ยว ปก รายงานการวิจัยทุกเรื่องจะมีปกนอก ปกใน

บทคัดย่อ คือ ข้อความที่เป็นการสรุปย่องานวิจัยเรื่องนั้น มักจะปรากฏในส่วนแรกของรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ บทคัดย่อ เป็นส่วนที่ผู้วิจัยเขียนสรุปย่อรายงานวิจัย โดยมีเนื้อหาที่สั้น กะทัดรัด และได้ใจความครอบคลุมเนื้อหาของการวิจัยโดยเฉพาะ บทคัดย่อทำหน้าที่รายงานผลการวิจัยเรื่องนั้น ๆ อย่างย่อ ๆ เพื่อให้ผู้ค้นคว้าได้ “ชิม” ว่า งานวิจัยเรื่องนั้นตรงกับที่ตนต้องการหรือไม่ หากตรง ก็จะได้อ่านงานวิจัยให้ละเอียดทั้งเล่ม หากไม่ตรง ก็ผ่านเลยไป

การเขียนบทคัดย่อ (Abstract การเขียนบทคัดย่อ (Abstract) บทคัดย่อประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. ส่วนหัว ซึ่งจะต้องพิมพ์ตามรูปแบบและเนื้อหาตามที่แต่ละสถาบันกำหนด 2. ส่วนเนื้อหา เป็นเนื้อหาของบทคัดย่อ ซึ่งแบ่งเป็น 3 แบบ คือ (1) แบบ 5 ย่อหน้า (2) แบบ 4 ย่อหน้า (3) แบบ 3 ย่อหน้า นิยมมากที่สุด 3. ส่วนช่วยการค้นหา ได้แก่ คำสำคัญ (Keywords)

การเขียนบทคัดย่อแบบ 3 ย่อหน้า ย่อหน้าที่ 1 ระบุวัตถุประสงค์ของการวิจัย ย่อหน้าที่ 2 ระบุระเบียบวิธีการวิจัย ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือการวิจัย และการวิเคราะห์ข้อมูล ย่อหน้าที่ 3 ระบุผลการวิจัยและการอภิปรายผล

ชื่องานวิจัย .......................................... ชื่อผู้วิจัย............................................... ปีที่ทำวิจัย............................................. บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ.............................................. ........................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................... ประชากร กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือ(อะไรในการทำวิจัย) ............ .................... ....................................................................................................... สรุปผลการวิจัย................................................................................... ........................................................................................................................

การเขียนคำสำคัญของบทคัดย่อ คำสำคัญ คือคำที่จะช่วยให้ผู้คนคว้าได้เข้าถึงบทคัดย่อเรื่องนี้ในการค้นด้วยคอมพิวเตอร์ มีหลักในการเขียนคำสำคัญดังนี้ 1. ในบทคัดย่อแต่ละเรื่อง ควรเสนอคำสำคัญหลาย ๆ คำ เพื่ออำนวยความสะดวกในการค้นคว้า นิยมเสนอมากถึง 5 คำ 2. ต้องเสนอเป็นคำ อย่าเสนอเป็นวลีหรือประโยค 3. คำที่เสนอต้องปรากฏในชื่อเรื่องหรือเนื้อหาของบทคัดย่อ

ส่วนนำ (ต่อ) เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) กิตติกรรมประกาศ การเขียนกิตติกรรมประกาศ  เป็นการเขียน เพื่อกล่าวขอบคุณ บุคคล  หน่วยงาน  ที่ให้ ความช่วยเหลือ  สนับสนุนในการเขียนงานวิจัย

ตัวอย่างการเขียนกิตติกรรมประกาศ

ส่วนนำ (ต่อ) เทคนิคการเขียนรายงานการวิจัยทางการท่องเที่ยว (ต่อ) สารบัญ เป็นส่วนที่ระบุรายละเอียดต่างๆของรายงานการวิจัย โดยแยกออกเป็นบทและหัวข้อ สารบัญตาราง เป็นหน้าที่ถัดมาจากสารบัญ โดยส่วนนี้จะแสดงเลขที่และชื่อตารางทุกตารางที่ปรากฏในรายงานการวิจัย สารบัญภาพ เป็นหน้าที่ถัดมาจากสารบัญตาราง โดยส่วนนี้จะแสดงรายชื่อภาพที่ปรากฏในรายงานการวิจัย เช่น รูปภาพ รูปถ่าย

2.ส่วนเนื้อหา

บทที่ 1 บทนำ   1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ////////..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................   1.2 วัตถุประสงค์ของการวิจัย ////////..............................................................................................................................................................................................................................................................................................   1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.4 ขอบเขตของการวิจัย ////////........................................................................................................................................................................................................................................................................................................   1.5 นิยามศัพท์ ////////............................................................................................................................................................................................................................................................................................

วรรณกรรมและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 2 วรรณกรรมและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง   ////////(กล่าวนำ)..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................   2.1 หัวข้อใหญ่ 1 2.2 หัวข้อใหญ่ 2 2.1 หัวข้อใหญ่ ////////.................................................................................................................................................................... 2.1.1//หัวข้อย่อย ///////..................................................................................................................................................... 2.1.2// หัวข้อย่อย 2.2 หัวข้อใหญ่

บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย   ////////(กล่าวนำ)................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ 3.1 ประชากร ////////.................................................................................................................................................................... 3.2 กลุ่มตัวอย่างและสุ่มตัวอย่าง 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล

ผลการวิจัยและอภิปรายผล บทที่ 4 ผลการวิจัยและอภิปรายผล   ////////(กล่าวนำ).................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ 4.1 ผลการวิจัย ////////.................................................................................................................................................................... ส่วนที่ 1 ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคล ///////..................................................................................................................................................... ส่วนที่ 2 ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว   ส่วนที่ 3 ผลการทดสอบสมมติฐาน (ถ้ามี)

สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ   ////////การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (เขียนสรุปเป็นความเรียงเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง และวิธีดำเนินการวิจัย).............................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 5.1 สรุปผลการวิจัย ////////.................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................  5.2 อภิปรายผล ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5.3 ข้อเสนอแนะ

บรรณานุกรม ส่วนอ้างอิง

ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรม

หนังสือ ผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อหนังสือ. เล่มที่ (ถ้ามี). ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี). ชื่อชุดหนังสือและลำดับที่(ถ้ามี). สำนักพิมพ์ : สถานที่พิมพ์. ผู้แต่งคนเดียว : ไพศาล เหล่าสุวรรณ. (2535). หลักพันธุ์ศาสตร์. บริษัทการพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช : กรุงเทพมหานคร. ผู้แต่ง 2 คน : สรรใจ แสงวิเชียร และวิมลพรรณ ปิตธวัชชัย. (2517). กรณีสวรรคต 9 มิถุนายน 2489. กรุงสยามการพิมพ์ : พระนคร. ผู้แต่งมากกว่า 3 คน : สังวร ปัญญาดิลก และคณะ. (2522). การบัญชี 1-2. ไทยวัฒนาพานิช : กรุงเทพมหานคร. แต่งที่เป็นสถาบัน : คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สำนักงาน. ศูนย์ข้อสนเทศการวิจัย. (2540). ทำเนียบนักวิจัยแห่งชาติ ปี 2539. กรุงเทพมหานคร

บทความในหนังสือ ผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์). ชื่อบทความ. ในชื่อบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม. ชื่อหนังสือ. เลขหน้า.สำนักพิมพ์:สถานที่พิมพ์. ตัวอย่าง ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2537). การสร้างองค์ความรู้เพื่อการพัฒนาประเทศไทยด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม. ใน วิจารณ์พานิช, บทบาทของการวิจัย : การท้าทายของทศวรรษใหม่. หน้า 23-116. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย : กรุงเทพมหานคร.

บทความในวารสาร ผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ชื่อวารสาร. ปีของวารสาร. เล่มที่. ฉบับที่. เลขหน้า. ตัวอย่าง ปริทรรศน์ พันธุ์บรรยงค์. แบบแผนแห่งความสำเร็จการบริหารงานแบบญี่ปุ่นในโรงงานอุตสาหกรรมของอังกฤษ. วารสารสมาคมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์คอนกรีตไทย. ปีที่ 2. ฉบับที่ 3. หน้า15.

วิทยานิพนธ์ ผู้เขียนวิทยานิพนธ์. ปีที่พิมพ์. ชื่อวิทยานิพนธ์. ระดับวิทยานิพนธ์. ชื่อสาขาวิชาหรือภาควิชา คณะ มหาวิทยาลัย. ตัวอย่าง ณัฐวุฒิ จินากูล. 2537. โครงสร้างอำนาจและระบบอุปถัมภ์ในชนบทไทย : กรณีศึกษาบ้านตา อำเภอบางบาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิทยานิพนธ์จากเว็บไซด์ ดาริณี สุวภาพ, ปาริชาติ เทวพิทักษ์, และดวงพร ผาสุวรรณ. (2547). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสอบประเมินความรู้เพื่อขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหนึ่ง ของคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต. ค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม 2550, จาก http:www.rsu.ac.th/research-abstract-005.php

สารสนเทศที่สืบค้นจากเว็บไซต์ต่างๆ ผู้แต่ง.(ปีที่เผยแพร่ หรือ วัน เดือน ปีที่เผยแพร่ หากมีข้อมูลครบ กรณีไม่ปรากฏ ให้ใช้ n.d. หรือ ม.ป.ป.).ชื่อเรื่องของเอกสารหรือสารสนเทศ.สืบค้นจาก (ระบุ URL) 1   ตัวอย่าง นลิน ญานศิริ, สรจักร เกษมสุวรรณ, และ เปี่ยมศักดิ์  เมนะเศวต.  (2557).  แหล่งที่มาของมลพิษทางทะเลในอ่าวไทย. สืบค้นจาก http://www.healthcarethai.com /แหล่งที่มาของมลพิษทางทะเลในอ่าวไทย           Health Central Network.  (2009).  Heart attack symptoms and warning signs.  Retrieved from http://www.healthcentral.com/heart-disease/patient-guide-44510-6.html

สารสนเทศที่สืบค้นจากเว็บไซต์ต่างๆ (ต่อ) การอ้างอิงจากเว็บไซต์ ผู้แต่ง.  ปีที่พิมพ์.  ชื่อเอกสาร.  สถานที่พิมพ์ : ผู้ผลิตหรือเจ้าของเว็บไซต์.  ออนไลน์. สืบค้นจาก http://www/, ค้นเมื่อวัน เดือน ปี 2 Lynch, Tim. 1996. DS9 trials and tribble-ations review. Peoria, IL: Bradley University. On-line. Available from Internet, http:// www.bradley.edu/campusorg/psiphi/DS9/ep/503r.html, accessed 8 October 1997.

กรณีที่มีหลายประเภทควรแยกเป็นภาคผนวก ก. ภาคผนวก ข. ไปตามลำดับ  ภาคผนวก  ภาคผนวก คือ เนื้อหาส่วนที่เป็นส่วนประกอบของงานวิจัย ที่ผู้วิจัยต้องการแสดงรายละเอียด แต่ไม่ต้องการเขียนลงไปในส่วนเนื้อหาสาระ เพราะมีรายละเอียดมากเกินไป เช่น เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ผลการทดลองใช้เครื่องมือ รายละเอียดผลการวิเคราะห์ข้อมูลและภาพถ่าย เป็นต้น กรณีที่มีหลายประเภทควรแยกเป็นภาคผนวก ก. ภาคผนวก ข. ไปตามลำดับ