นโยบายคลินิกหมอครอบครัว(Primary care cluster) & การผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว
In-service training TRACT3 มีคำถามเรื่องคุณภาพการเรียนการสอนที่หลากหลาย บางแห่งแพทย์ประจำบ้านถูกให้ทำงานประจำมากกว่าโอกาสในการเรียน แพทย์ถูกนับให้เป็นภาระงานในโรงพยาบาล ไม่มีสถาบันวิชาการเป็นเครือข่ายให้แพทย์ประจำบ้านโดยเฉพาะด้านการวิจัย ขาดแหล่งทุนที่สนับสนุนโรงพยาบาลที่เป็นแหล่งฝึก แพทย์ที่เรียนไม่มีเงื่อนไขการชดใช้ทุนหลังเรียน โครงการจบลงในปี2559
In-service training กระทรวงสาธารณสุข 2560-2564 มีแผนพัฒนาและปรับปรุงรายละเอียดของหลักสูตรใหม่และทำ workshopกับสถาบันฝึกอบรม สถาบันฝึกอบรมต้องมีPCCหรือCatchment area ให้แพทย์ประจำบ้านได้ฝึกปฏิบัติงาน แพทย์ประจำบ้านต้องใช้เวลาส่วนใหญ่เรียนและปฏิบัติงานในPCCหรือCatchment area แพทย์ประจำบ้านไม่ถูกนับเป็นภาระงาน พยายามให้มีระบบสนับสนุนสถาบันฝึก สร้างเครือข่ายกับมหาวิทยาลัยในเชิงวิชาการ งานวิจัย
In-service training กระทรวงสาธารณสุข 2560-2564 กำหนดให้แพทย์ต้องปฏิบัติหน้าที่ในจังหวัดที่ถูกจัดสรรอย่างน้อย1ปีภายในเขต โดยคณะกรรมการผลิตและบริหารแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวระดับเขตเป็นผู้กำหนดโดยพิจารณาจาก ศักยภาพสถาบันผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในจังหวัด ความขาดแคลนแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในจังหวัด การเป็นศูนย์แพทย์ศาสตร์ศึกษา เป็นสำคัญ หลังจากจบการศึกษาแล้ว คณะกรรมการผลิตและบริหารแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวระดับจังหวัดจัดสรรแพทย์เพื่อปฏิบัติงานในโรงพยาบาลภายในจังหวัดต่อไป
In-service training กระทรวงสาธารณสุข 2560-2564 “ข้อจำกัดตามกฏแพทยสภารับได้เฉพาะแพทย์ที่สมัครตอนเป็นexternเท่านั้น”
ทิศทางพัฒนาการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว Province based training “ยกระดับสถาบันฝึกให้เป็น In-service training plus หรือเรียกตามภาษานักการศึกษาว่า Formal training และทำให้เป็นเครือข่ายสถาบันฝึกอบรมเบ็ดเสร็จภายในจังหวัด Province based training”
Province based training สามารถรับแพทย์ได้ทั้งตั้งแต่ตอนเป็นexternและสามารถรับสมัครแพทย์ตอนที่เป็นแพทย์ใช้ทุนหรือแพทย์ที่ใช้ทุนเสร็จแล้วได้และเครือข่ายที่ผ่านการรับรองจะถือว่ามีคุณภาพและมาตราฐาน
สรุปแนวทางพัฒนาแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวระดับเขต ทุกจังหวัดต้องมีแผนทำให้เกิดเครือข่ายสถาบันฝึกอบรมภายในจังหวัด โดยมีโรงพยาบาลทั่วไปเป็นสถาบันหลักและโรงพยาบาลชุมชนเป็นสถาบันร่วมผลิตเป็นอย่างน้อย โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ที่พร้อมและเข้าเกณฑ์สถาบันหลักสามารถพัฒนาให้เป็นสถาบันหลักได้โดยมีโรงพยาบาลชุมชนเป็นสถาบันร่วมผลิต ยกระดับให้เป็นเครือข่ายผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในจังหวัดแบบ Formal training และ in-service training ส่วนกลางจะมีworkshopและประสานราชวิทยาลัยเพื่อขอรับรองสถาบันต่อไป
แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารและผลิตระดับเขต กำหนดให้แพทย์ต้องปฏิบัติหน้าที่ในจังหวัดที่ถูกจัดสรรอย่างน้อย1ปีภายในเขต โดยคณะกรรมการผลิตและบริหารแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวระดับเขตเป็นผู้กำหนดโดยพิจารณาจาก ศักยภาพสถาบันผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในจังหวัด ความขาดแคลนแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวในจังหวัด การเป็นศูนย์แพทย์ศาสตร์ศึกษา เป็นสำคัญ หลังจากจบการศึกษาแล้ว คณะกรรมการผลิตและบริหารแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวระดับจังหวัดจัดสรรแพทย์เพื่อปฏิบัติงานในโรงพยาบาลภายในจังหวัดต่อไป
แผนขยายกำลังผลิตและยกระดับTraining center ในระดับเขต
เกณฑ์การเป็นสถาบันหลัก จำนวนเตียง > 150 เตียงขึ้นไป จำนวนอาจารย์ : แพทย์ประจำบ้าน จำนวน OPD case / ปี จำนวนครอบครัวที่ได้รับการเยี่ยมบ้าน ครอบครัว / ปี จำนวนกิจกรรมป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ ครั้ง / ปี จำนวนอาจารย์สาขาเฉพาะทาง
เกณฑ์สถาบันฝึกอบรมหลัก
สถาบันสนับสนุนวิชาการ รพศ. ตัวอย่างหลักสูตร In-service Training ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. Intern Med Sx Ortho Ped OB&GYN ER FM หรือ รพศ. / รพท. รพช R1 WSH I A1 A2 A3 A4 A5 O1 S1 S2 T1 R2 Selective1 Selective2 Elective Psy Skin Eye Rehab Anes ENT X-Ray สถาบันสนับสนุนวิชาการ รพศ. WSH II T2 R3 WSH III T3
ตัวอย่างหลักสูตร Formal training ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. R1 FM MED Sx Ortho PED OB & GYN ER รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก รพร.นครไทย รพ.พุทธชินราช รพ.พุทธชินราข Psy Skin Rehab Eye ENT Anes X-ray Elective Selective
ตัวอย่างหลักสูตร Formal Training ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. R1 FM MED Sx Ortho PED OB & GYN ER รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก Psy Skin Rehab Eye ENT Anes X-ray รพร.นครไทย Elective Selective รพ.พุทธชินราช
เขตบริการสุขภาพที่ 2 482,129 คน ประกอบด้วย 5 จังหวัด ประชากรทุกสิทธิ รวม 3,676,344 คน 976,609 คน 599,565 คน 591,734 คน 1,026,307 คน เป้าหมายการจัดตั้งคลินิกหมอครอบครัว จำนวน 370 แห่ง ในปี 2569
ข้อมูลประชากร จากฐานข้อมูล HDC จังหวัด จำนวนประชากร พิษณุโลก 863,440 เพชรบูรณ์ 996,929 สุโขทัย 601,613 ตาก 619,083 อุตรดิตถ์ 459,674 รวม 3,540,739 ข้อมูลประชากร จากฐานข้อมูล HDC
แผนดำเนินการจัดตั้ง PCC (ทีม) เขตบริการสุขภาพที่ แผนดำเนินการจัดตั้ง PCC (ทีม) จังหวัด ประชากร PCC ทีม 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 รวม พิษณุโลก 863,440 28 79 14 10 13 12 4 3 2 1 เพชรบูรณ์ 991,502 40 96 11 9 8 สุโขทัย 578,181 25 55 6 7 ตาก 500,676 37 42 5 อุตรดอตถ์ 430,854 27 รวมทั้งเขต 3,364,654 157 312 34 44 46 36 22 18 16 ขอเสนอพิจารณา แหล่งที่มาของข้อมูลประชากร ไม่ได้มาจากที่เดียวกัน และไม่ตรงกับข้อมูลของเขต
ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ของเขตบริการสุขภาพที่ 2 รวม ปี 60 ปี 61 ปี 62 ปี 63 ปี 64 ปี 65 ปี 66 ปี 67 ปี 68 ปี 69 Formal Training 40 2 4 3 5 32 44 45 58 67 260 In-service Training ในเขต 6 7 12 57 รวมจำนวนแพทย์ที่จบ 8 11 17 36 50 52 62 74 357 คิดที่ 90% ของคนที่จบ = TEAM ที่ทำงานจริง 7.2 9.9 6.3 15.3 32.4 46.8 55.8 66.6 285.3 จำนวนทีมหมอครอบครัว ที่เพิ่มในแต่ละปี 10 15 47 56 325 เป้าหมาย ทีมหมอครอบครัว ในแต่ละปี 34 46 22 18 16 312 จำนวนแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวสะสม 63 78 110 155 202 258 12.82 15.06 18.27 20.19 25 35.26 49.68 64.74 82.69 104.17
ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดพิษณุโลก โรงพยาบาล ประชากร จำนวนทีม อาจารย์แพทย์ FM ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดพิษณุโลก วว. อว. 2560 2561 รวม 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 FT ISVT ม.นเรศวร 53,389 5 4 start 1 5 3 6 25 รพ.พุทธชินราช 233,258 22 7 8 2 11 43 19 รพ.นครไทย 87,391 1 24 รพ.บางกระทุ่ม 48,015 1 รพ.วังทอง 121,268 10 2 รพ.บางระกำ 95,158 9 รพ.พรหมพิราม 87,695 2 รพ.วัดโบสถ์ 37,790 รพ.เนินมะปราง 58,374 รพ.ชาติตระการ 41,102 863,440 79 146
ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดพิษณุโลก ปัจจุบันรพ.พุทธชินราช พิษณุโลก เป็นสถาบันหลัก ผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว Formal Training ตั้งแต่ ปี 2544 เป็นสถาบันสนับสนุนวิชาการของ In-service Training ตั้งแต่ ปี 2552 พัฒนาให้ รพ.พุทธชินราช เป็นสถาบันหลัก โดยมี รพร.นครไทย เป็นสถาบันร่วมผลิต ในปี 2561 เริ่มฝึกอบรม และจบมาทำงานที่ PCC ปี 2565 พัฒนาให้ รพ.พุทธชินราช เป็นสถาบันหลัก โดยมี รพ.บางกระทุ่ม เป็นสถาบันร่วมผลิต ในปี 2562 เริ่มฝึกอบรม และจบมาทำงานที่ PCC ปี 2566 การผลิตตั้งแต่ปี 2562 ที่จะจบมาทำงาน PCC ในปี 2566
ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดเพชรบูรณ์ โรงพยาบาล ประชากร จำนวนทีม อาจารย์แพทย์ FM ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดเพชรบูรณ์ วว. อว. 2560 2561 รวม 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 FT ISVT รพ.เพชรบูรณ์ 211,087 20 1 2 3 4 5 25 รพ.หล่มสัก 156,569 15 22 รพ.วิเชียรบุรี 133,526 13 24 รพ.เขาค้อ 35,200 รพ.หนองไผ่ 98,541 9 รพ.หล่มเก่า 70,663 7 รพ.ศรีเทพ 77,459 รพ.วังโป่ง 27,586 รพ.บึงสามพัน 77,998 8 รพ.ชนแดน 84,656 รพ.น้ำหนาว 18,217 991,502 96 6 10 71 พัฒนาให้ รพ.เพชรบูรณ์ เป็นสถาบันหลัก โดยมี รพ.หล่มสักเป็นสถาบันร่วมผลิต ในปี 2561 เริ่มฝึกอบรม และจบมาทำงานที่ PCC ปี 2565 - พัฒนาให้ รพ.วิเชียรบุรี เป็นสถาบันหลัก ในปี 2563
ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดตาก โรงพยาบาล ประชากร จำนวนทีม อาจารย์แพทย์ FM ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดตาก วว. อว. 2560 2561 รวม 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 ISVT FT รพ.สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช 99,258 9 1 2 2 รพ.แม่สอด 137,311 11 3 4 1 5 23 รพ.แม่ระมาด 39,729 22 รพ.บ้านตาก 46,605 1 7 รพ.สามเงา 31,341 รพ.ท่าสองยาง 45,664 รพ.พบพระ 46,056 รพ.อุ้งผาง 25,072 รพ.วังเจ้า 29,640 550,676 42 61 พัฒนาให้ รพ.แม่สอดเป็นสถาบันหลัก โดยมี รพ.แม่ระมาดเป็นสถาบันร่วมผลิต ในปี 2561 เริ่มฝึกอบรม และจบมาทำงานที่ PCC ปี 2565 - ให้โควตาทุนต้นสังกัด รพ. ตสม. และ รพ.บ้านตาก เพื่อเรียน Formal Training
ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดสุโขทัย โรงพยาบาล ประชากร จำนวนทีม อาจารย์แพทย์ FM ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดสุโขทัย วว. อว. 2560 2561 2562 รวม 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 FT ISVT รพ.สุโขทัย 104,710 10 2 1 รพ.ศรีสังวรสุโขทัย 71,452 7 5 3 4 26 รพ.สวรรคโลก 69,133 6 23 รพ.คีรีมาศ 49,960 รพ.ทุ่งเสลี่ยม 52,296 รพ.ศรีสัชนาลัย 91,081 9 รพ.กงไกรลาศ 65,392 รพ.บ้านด่านลานหอย 47,905 รพ.ศรีนคร 26,252 รวม 578,181 55 59 พัฒนาให้ รพ.ศรีสังวรสุโขทัย เป็นสถาบันหลัก โดยมี รพ.สวรรคโลกเป็นสถาบันร่วมผลิต ในปี 2562 เริ่มฝึกอบรม และจบมาทำงานที่ PCC ปี 2566 เป็นการผลิตเพื่อภายในจังหวัด - ให้โควตาทุนต้นสังกัด รพ. สุโขทัย เพื่อเรียน Formal Training และเป็นสถาบันปฏิบัติงานของ In-service Training
ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดอุตรดิตถ์ โรงพยาบาล ประชากร จำนวนทีม อาจารย์แพทย์ FM ศักยภาพในการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวของจังหวัดอุตรดิตถ์ วว. อว. รวม 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 FT ISVT รพ.อุตรดิตถ์ 132,920 11 1 2 3 6 29 รพ.ท่าปลา 45,550 4 รพ.ลับแล 46,910 5 รพ.พิชัย 77,260 8 รพ.น้ำปาด 37,013 รพ.ตรอน 34,252 รพ.ฟากท่า 9,583 รพ.บ้านโคก 14,552 รพ.ทองแสนขัน 32,814 430,854 40 รพ.อุตรดิตถ์ เป็นสถาบันปฏิบัติงานของ In-service Training ให้โควตาทุนต้นสังกัด รพ.อุตรดิตถ์ เพื่อเรียน Formal Training ทุกปี ใช้ศักยภาพของจังหวัดอื่นในการผลิต FM