การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง เขตสุขภาพ ที่ 10
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ สถานการณ์และนโยบาย การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
สถานการณ์ผู้สูงอายุ ปี 2558 10.0214 ล้านคน 547,743 คน ประชากรทั้งหมด 64.9224 ล้านคน ประชากรทั้งหมด 4,526,523 คน ที่มา : 1. ประชากรกลางปี พ.ศ. 2558 สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขตสุขภาพที่ 10
ภาพรวมติดบ้าน,ติดเตียง ร้อยละ 7- 14.00 ลำ ดับ รายการข้อมูล อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร 1 ประชากรผู้สูงอายุ (จำนวนคน) 205,698 179,417 75,121 48,444 39,063 ร้อยละ 11.15 12.27 13.90 12.91 12.85 2 การประเมิน ADL 197,367 166,940 67,852 46,546 95.95 93.05 90.32 96.08 100.00 2.1 ร้อยละของผู้สูงอายุ กลุ่มที่ 1 ( ติดสังคม ) 181,702 154,669 58,222 41,809 35,660 92.06 92.65 85.81 89.82 91.29 2.2 ร้อยละของผู้สูงอายุ กลุ่มที่ 2 ( ติดบ้าน ) 13,581 10,786 8,962 4303 3,012 6.88 6.46 13.21 9.24 7.71 2.3 ร้อยละของผู้สูงอายุ กลุ่มที่ 3 ( ติดเตียง ) 2,084 1,485 668 434 391 1.06 0.89 0.98 0.93 1.00 3 การคัดกรอง (ร้อยละของการคัดกรอง) DM 78.92 91.41 83.43 88.25 90.83 HT 82.41 96.17 86.91 83.72 คัดกรองสุขภาพช่องปาก NA NA 9.05 ตา 78.65 8.38 ภาวะหกล้ม 23.36 32.46 ภาวะสมองเสื่อม 7.46 28.47 การกลั้นปัสสาวะ 13.9 34.51 ภาวะโภชนาการ 8.27 ภาวะซึมเศร้า 15.82 50.78 75.69 ข้อเข่าเสื่อม 13.8 48.99 59.48 การนอนหลับ 7.43 ภาพรวมติดบ้าน,ติดเตียง ร้อยละ 7- 14.00 ที่มา: ตรวจราชการรอบ 2 ปี 2558
จำนวนผู้สูงอายุ จำแนกตามเกณฑ์ ADL ในตำบลต้นแบบ LTC เขตสุขภาพที่ 10 นำร่องจำนวน 79 ตำบล
นำร่อง 1,000 ตำบล ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข สำหรับผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี 2559 นำร่อง 1,000 ตำบล ที่มา:เอกสารการชี้แจง สปสช. รร.ทีเค 30พย.58
1,000 ตำบล เจ๋ง
ทำไมถึงต้องทำ 1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ระดับปานกลางถึงทั้งหมดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ 2.ศักยภาพของครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุ ถดถอยลง จากขนาดครอบครัวที่เล็กลง การเคลื่อนย้ายแรงงานจากชนบทสู่เมือง การทำงานนอกบ้านของสตรี 3.ระบบบริการสาธารณสุขและบริการด้านสังคมที่ผ่านมาอยู่ในลักษณะตั้งรับ สามารถให้บริการหลักแก่กลุ่มที่ไม่มีภาวะพึ่งพิง สำหรับกลุ่มผู้มีภาวะพึ่งพิง บริการมีจำกัด และมักเป็นในรูปการสงเคราะห์เป็นครั้งคราว ไม่ต่อเนื่อง ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ รัฐบาลได้ให้งบค่าบริการ LTC ด้านการแพทย์ สำหรับผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน ๖๐๐ ล้านบาท ครอบคลุมร้อยละ ๑๐ ของกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ ที่มา:เอกสารการชี้แจง สปสช. รร.ทีเค 30พย.58
ข้อตกลงระหว่างกระทรวงสาธารณสุข และ สปสช -ส่งเสริมหน่วยบริการในสังกัดให้ความร่วมมือ/สนับสนุนอปท. บริหารจัดการระบบดูแลระยะยาวในพื้นที่ 1.เตรียมความพร้อมระบบบริการรองรับการดูแลผู้สูงอายุทีมีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ 2.จัดทีมหมอครอบครัวให้คัดกรองADLs และ Assessment ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงออก เป็น 4 กลุ่ม จัดทำแผนดูแลรายบุคคล เพื่อการสนับสนุนงบจากกองทุนlong term care 3.จัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและรับค่าบริการตาม ประกาศฯ 4.ประเมินผลร่วมกับ อปท.เพื่อพัฒนาระบบดูแลอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ สปสช. 1.สนับสนุนงบประมาณในพื้นที่นำร่อง 2.สนับสนุนการดำเนินการด้านอื่นๆไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการทำงานในพื้นที่
เป้าหมายเฉพาะของการพัฒนาระบบการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาวด้านสาธารณสุขในพื้นที่ 1,000ตำบล (เขต 10 =79 ตำบล) พัฒนาและใช้เครื่องมือในการคัดกรองประเมินความ จำเป็นที่จะได้รับบริการดูแลระยะยาว 2. พัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ต้านสาธารณสุขและด้านสังคมที่ เป็นรูปธรรมที่จะสนับสนุนการดูแลโดยครอบครัวในชุมชน 3. พัฒนาหลักสูตร/จัดอบรมCare manager และ Care giver 4. พัฒนารูปแบบการอภิบาลและบริหารจัดการระบบดูแล ผู้สูงอายุระยะยาวด้านสาธารณสุขในพื้นที่
ชุดสิทธิประโยชน์บริการ LTC เชิงรุกในพื้นที่ บริการด้านสาธารณสุข เช่น - การประเมินความต้องการดูแลทางการแพทย์ - การดูแลทางการพยาบาล -การดูแลด้านเภสัชกรรม -การฟื้นฟูสมรรถภาพ - การดูแลด้านสุขภาพจิต -การดูแลด้านสุขภาพช่องปาก -การดูแลด้านโภชนาการ -การดูแลด้านการแพทย์แผนไทย/ทางเลือก ตามที่คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หรือ สปสช. กำหนด ๒. บริการด้านสังคม เช่น บริการช่วยเหลืองานบ้าน การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน , บริการ อุปกรณ์ช่วยเหลือทางสังคม ,กิจกรรมนอกบ้าน และอื่นๆ
สิ่งจำเป็นที่ต้องทำสำหรับพื้นที่นำร่อง Assessment ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ทำ Care plan -เพื่อให้เห็นว่าจะต้องให้บริการอะไร,เท่าไหร่,อย่างไร การบริหารในฟากทีม สธ. จะได้มีข้อมูลให้คณะกรรมการLTCของตำบล พิจารณา
โรคอะไร/Socio-economic โรคอะไร,รุนแรง? /Socio-economic ความถี่การบริการดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง ตามแนบท้ายชุดสิทธิประโยชน์ (เมย.-กย59) ติดบ้าน ติดเตียง บุค คล ประเภท1 ประเภท2 ประเภท3 ประเภท4 ความถี่ งบ CM 1ครั้ง/ด. ได้ไม่เกิน 4000บ. /คน/ปี เบิกได้ 3-6,000บ. 4-8,000บ. 2 ครััง/สป. 5-10,000 /คน/ปี 6ครั้ง: 6ด. 6 ครั้ง: 6ด. 12ครั้ง :6ด. 6ครั้ง Cg 2ครั้ง/ด. 1ครั้ง/สป. 2ครั้ง/สป. 12ครั้ง: 6ด. 4ครั้ง/ด. 8ครั้ง/ด. 24ครั้ง:6 ด. 24ครั้ง: 6 ด. 48ครั้ง:6 ด. ประเด็นพิจารณา โรคอะไร/Socio-economic โรคอะไร,รุนแรง?/Socio-economic โรคอะไร,รุนแรง? /Socio-economic ความยากง่ายของ care plan care plan เฉลี่ยรายหัวพึ่งพิง 5,000 บ./คน/ปี:เฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุข
-บริหารจัดการกองทุน LTC คณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 1.ผู้บริหารสูงสุดของ อปท.:ประธาน 2.ผู้แทนกรรมการกองทุน หลักประกันสุขภาพ (2คน) 3.ผู้อำนวยการรพ.ของรัฐ 4.สสอ. 5.หน.หน่วยบริการปฐมภูมิของรัฐ 6.ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาว CM 7.ผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลที่มีภาวะพึ่งพิง CG 8.ปลัด อปท -บริหารจัดการกองทุน LTC -จัดบริการ :ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการ/สุขภาพดีขึ้น แนวทางปฏิบัติที่ดี เพื่อขยายผลในปี 60,61
เป้าหมายการดำเนินงานใน 3 ปี (ทั่วประเทศ) ปีที่ 1 (ปี 2559) ครอบคลุมพื้นที่และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง 10% ประมาณ 1,000 พื้นที่ (เทศบาลหรือ อบต. ขนาดใหญ่ และกรุงเทพมหานคร) ดูแล 100,000 ราย ปีที่ 2 (ปี 2560) ครอบคลุมพื้นที่และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง 50% ประมาณ 5,000 เทศบาล/ตำบล และ 500,000 ราย ปีที่ 3 (ปี 2561) ครอบคลุมพื้นที่และผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง 100% หรือ ทุกเทศบาล/ตำบล ประมาณ 1,000,000 ราย
บทบาทสมมุติ การทำCare conference ผู้พิจารณา 1.ผู้บริหารสูงสุดของ อปท.:ประธาน 2.ผู้แทนกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ (2คน) 3.ผู้อำนวยการรพ.ของรัฐ 4.สสอ. 5.หน.หน่วยบริการปฐมภูมิของรัฐ 6.ผู้จัดการระบบการดูแลระยะยาว CM 7.ผู้ช่วยเหลือผู้ดูแลที่มีภาวะพึ่งพิง CG 8.ปลัด อปท 9.ตัวแทนครอบครับผู้สูงอายุ/ผู้สูงอายุ ผู้สังเกตการณ์: สังเกตการทำบทบาทสมมุติและสะท้อนการเรียนรู้ โจทย์ ประชุมพิจารณาการจ่ายเงินcare plan ผู้สูงอายุพึ่งพิง ภายในระยะเวลาสำหรับการดูแล 3 ด.