หัวข้อ: ภาคธุรกิจประกันชีวิตในยุค AEC ประเทศไทยในบริบทโลกและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หัวข้อ: ภาคธุรกิจประกันชีวิตในยุค AEC โดย สุวิทย์ สรรพวิทยศิริ นักวิจัยอาวุโส สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง
Economic Wave Of Global Economy 1970-1995 1995-2010 2010-? Multi-polar Economic Powers
คน+ความรู้ เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจมหภาค ระบบ การเงิน (ดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน เงินเฟ้อ ดุลการคลัง) ระบบ การเงิน ตลาดเงิน ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารเฉพาะกิจ ตลาดตราสารทุน ตลาดแรก ตลาดรอง (SET MAI) ตลาดอนุพันธ์ (TFET) ตลาดตราสารหนี้ ตลาดรอง (BEX) ประกันชีวิต NON-Bank ภาคการผลิต เกษตร อุตสาหกรรม บริการ ทรัพย์สินของประเทศ คน+ความรู้ เทคโนโลยี ปัจจัยพื้นฐาน ระบบเศรษฐกิจเป็นการเชื่อมโยงส่วนต่างๆ ให้มีชีวิตร่วมกัน ดูที่ละส่วนไม่ได้ แก้ปัญหาแยกส่วนไม่ได้
The world with high debt: global debt/GDP
Debt to GDP in Asia is still low KS, Bloomberg
Global balance is going to shift
จะมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในอนาคตอันใกล้
จีนเปลี่ยนจากคู่แข่งของอาเซียนกลายเป็นตลาดที่มีกำลังซื้อที่สำคัญ
ผลสำรวจภาคการผลิตอุตสาหกรรมในปัจจุบันแนวโน้มในอีก 5 ปีข้างหน้า
เงินลงทุนโดนตรงใน AEC
มูลค่าการลงทุนถาวรใน AEC
Infrastructure spending is likely a key growth driver for ASEAN going forward Source: Local Governments, Goldman Sachs Global ECS Research
Distributions Age in ASEAN shown to see that are entering society the elderly. 2012 2050E 0-14 15-64 65+ Philippines 35 61 4 23 65 12 Cambodia 31 17 68 15 Brunei 26 70 16 63 21 Laos 34 62 69 14 Malaysia 30 5 19 18 Myanmar 25 6 64 20 Indonesia 67 7 Vietnam 13 59 28 Thailand 10 56 Singapore 72 11 49 40 Japan 29 45 43 World 9 Source: FPRI Research
CBRE's Q1 2013 Asia Luxury Residential Market View reports luxury home prices continue to rise but rate of growth eases as cooling measures take hold.
ส่องกล้อง สแกน จุดเด่น-จุดด้อยบนแผนที่อาเซียน ประเทศ จุดเด่น จุดด้อย บรูไน ดารุสซาลาม กำลังซื้อสูง ค้าส่ง ค้าปลีก ก่อสร้าง คมนาคม กำลังเติบโต ตลาดขนาดเล็ก ขาดกำลังแรงงาน เคร่งครัดการนำเข้าสินค้าอาหาร กัมพูชา ค่าจ้างแรงงานต่ำที่สุดในอาเซียน ส่งเสริมต่างชาติเข้ามาพัฒนาถนนได้เสรี ทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายสมบูรณ์ ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนา ขาดแรงงานที่มีทักษะ ระบบการเงิน การธนาคาร ศาลไม่น่าเชื่อถือ กฎระเบียบการค้าเปลี่ยนแปลงบ่อย อินโดนีเซีย ขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลาดขนาดใหญ่ ระบบธนาคารที่แข็งแกร่ง แรงงานมีจำนวนมาก ราคาถูก ทำเลที่ตั้งเป็นเกาะ กระจายตัว สาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร กฎหมาย กฎระเบียบขาดความชัดเจน ลาว ค่าจ้างแรงงานต่ำ มีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านชีวภาพ ด้านพลังงานไฟฟ้าและทรัพยากรธรรมชาติ ต้นทุนการลงทุนสูง กฎระเบียบยังให้สิทธิประโยชน์กับคนพื้นเมืองสูงมาก
ส่องกล้อง สแกน จุดเด่น-จุดด้อยบนแผนที่อาเซียน ประเทศ จุดเด่น จุดด้อย เมียนมาร์ ค่าจ้างแรงงานต่ำ มีทรัพยากรธรรมชาติ น้ำมันและก๊าซธรรมชาติจำนวนมาก มีพรมแดนเชื่อมโยงจีนและอินเดีย มีตลาดขนาดใหญ่ ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนา ความไม่แน่นอนทางการเมือง ฟิลิปปินส์ แรงงานความรู้ด้านเทคโนโลยี สื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ระบบสาธารณูปโภคยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร สหภาพแรงงานแข็งแกร่ง กฎระเบียบเปลี่ยนแปลงบ่อย คอรัปชั่นสูง สิงคโปร์ รายได้เฉลี่ยต่อคนเป็นอันดับ 1 ในอาเซียน ศูนย์กลางการค้า การเดินเรือและการเงิน มีความพร้อมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ พึ่งพาการนำเข้าวัตถุดิบและขาดแคลนแรงงานระดับล่าง ค่าใช้จ่ายการดำเนินธุรกิจสูง เวียดนาม มีปริมาณสำรองน้ำมันดิบมากเป็นอันดับ 2 ในเอเชียแปซิฟิก มีแนวชายฝั่งทะเลยาวกว่า 3,200 กม. จำนวนประชากรมาก มีคุณภาพ ต้นทุนที่ดินและค่าเช่าสำนักงานค่อนข้างสูง ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร กฎหมายยังขาดความชัดเจน ไทย ศูนย์กลางเชื่อมโยงภูมิภาคอาเซียน เป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมรายใหญ่ของโลก สถานบันการเงินมั่นคง เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นขั้นกลาง ปัญหาการจราจรในเมืองใหญ่ การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญายังไม่เข้มแข็ง
จับกระแสเศรษฐกิจโลก ความเสี่ยงและโอกาสของไทย
“จับกระแสเศรษฐกิจ โลก”
เศรษฐกิจไทยเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกในสัดส่วนที่สูง 1. จับกระแสเศรษฐกิจโลก
ใครคือประเทศคู่ค้าที่สำคัญของไทย? 1. จับกระแสเศรษฐกิจโลก
เศรษฐกิจโลกปี 58 โดยรวมมีแนวโน้มดีขึ้น จากการฟื้นตัวของสหรัฐฯ IMF outlook (Jan 15) 2556 2557F 2558F World* 3.7 3.6 3.8 - China 7.7 7.4** 6.8 - Japan 1.6 0.04** 0.6 - US 2.2 2.5** - Eurozone -0.4 0.9** 1.2 - ASEAN-5 5.2 4.5 * คำนวณจากสัดส่วนการส่งออกของไทยปี 57 ** ตัวเลขจริง 1. จับกระแสเศรษฐกิจโลก
…แต่ฟื้นตัวอย่างเปราะบาง บนพื้นฐานของความเสี่ยง เศรษฐกิจสหรัฐฯ เศรษฐกิจสหรัฐฯ ฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่ง จากการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนที่ขยายตัวดีต่อเนื่อง อัตราว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 5.7 ของกำลังแรงงานรวม (ม.ค. 58) ความเชื่อมั่นผู้บริโภคอยู่ที่ระดับ 102.9 จุด สูงสุดในรอบ 7 ปี 5 เดือน (ม.ค. 58) ประเด็นที่ต้องติดตาม คือ ธนาคารกลางสหรัฐฯ อาจขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ในปี 58 พายุหิมะรุนแรงในช่วงไตรมาส 1 ปี 58 อาจส่งผลต่อการใช้จ่ายในประเทศ เศรษฐกิจยูโรโซน เศรษฐกิจยูโรโซนชะลอตัวต่อเนื่อง โดย GDP ปี 57ขยายตัวร้อยละ 0.9 อัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 11.4 ของกำลังแรงงานรวม (ธ.ค. 57) อัตราเงินเฟ้อทั่วไปติดลบที่ร้อยละ -0.6 (ม.ค. 58)ติดต่อกันเป็นเดือนที่ 2 ECB ยังคงนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย โดยคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ที่ร้อยละ 0.05 ต่อปี และมีการทำ QE ต่อเนื่องในปีนี้ มาตรการคว่ำบาตรการค้าต่อรัสเซียยังคงส่งผลต่อการค้าของยูโรโซน ตลอดจนการเจรจาต่อโครงการช่วยเหลือทางการเงินของกรีซ ยังคงเป็นความเสี่ยงสำคัญ เศรษฐกิจญี่ปุ่น เศรษฐกิจญี่ปุ่นยังคงหดตัวต่อเนื่อง โดย GDP ปี 57 เศรษฐกิจญี่ปุ่นขยายตัวเพียงร้อยละ 0.04 อัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 3.5 (ไตรมาส 4/57) อัตราเงินเฟ้ออยู่ที่ร้อยละ 2.5 (ไตรมาส 4/57) ประเด็นที่ต้องติดตาม มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมวงเงิน 3.5 ล้านล้านเยน (ร้อยละ 0.7 ของ GDP) การปรับแผนขึ้น VAT ระยะ 2 มาตรการ QE เพิ่มเติมของ BOJ วงเงินกว่า 80 ล้านล้านเยนต่อปี (เพิ่มขึ้น 20 ล้านล้านเยนต่อปี) ส่งผลให้เงินเยนอ่อนค่า ส่งผลดีต่อภาคการส่งออก เศรษฐกิจจีน เศรษฐกิจจีนขยายตัวชะลอลง โดย GDP ปี 57 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.4 โดยแม้ว่าการบริโภคภาคเอกชนยังคงขยายตัวได้ต่อเนื่อง แต่การลงทุน การผลิตภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนการส่งออกชะลอลงต่อเนื่อง เครื่องชี้เศรษฐกิจล่าสุดยังคงสะท้อนการชะลอตัว เช่น ในเดือน ม.ค. 58 มูลค่าการส่งออกหดตัวร้อยละ -3.3 และมูลค่าการนำเข้าหดตัวร้อยละ -20.0 ส่งผลให้ดุลการค้าเกินดุลสูงถึง 6 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเด็นที่ต้องติดตาม ภาคอสังหาริมทรัพย์ที่ซบเซา ดัชนีราคาบ้านใหม่หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 ทางการจีนเริ่มกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายและอัตราเงินสำรองของธนาคารพาณิชย์ เศรษฐกิจอาเซียน เศรษฐกิจอาเซียนในไตรมาสที่ 4 ปี 57 ส่วนใหญ่ มีแนวโน้มดีขึ้น โดยเฉพาะประเทศที่พึ่งพาอุปสงค์ ในประเทศ ขณะที่อุปสงค์ในตลาดโลกชะลอลง ส่งผลกระทบต่อภาคส่งออก ประเด็นที่ต้องติดตาม การแข่งขันลดค่าเงิน จะส่งผลกระทบต่อประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคที่เป็นคู่แข่ง การส่งออก อีกทั้งอาจเป็นปัจจัยกดดันเงินเฟ้อต่อไป
ประเด็นความเสี่ยงของยุโรปที่ต้องจับตามอง ECB ขยายขนาดมาตรการ QE ECB ประกาศขยายขนาดมาตรการซื้อสินทรัพย์ทางการเงิน เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ เมื่อวันที่ 22 ม.ค. 58 สินทรัพย์ที่เข้าซื้อ: Covered Bond และ ABS ตามโครงการที่ประกาศในเดือน ต.ค. 5, และพันธบัตรรัฐบาลของประเทศสมาชิก วงเงิน: เดือนละ 6 หมื่นล้านยูโร (6.9 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ) ช่วงเวลา: มี.ค. 58 - ก.ย. 59 เป้าหมาย - กระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม - เพิ่มอัตราเงินเฟ้อให้กลับมาอยู่ใกล้ระดับเป้าหมาย (2%) ความเข้มงวดของโครงการช่วยเหลือทางการเงินจาก EU ECB และ IMF (Troika) ทำให้เกิดแรงต่อต้านภายในประเทศกรีซ รัฐบาลใหม่ของกรีซต้องการลดเงื่อนไขของโครงการ โดยเฉพาะเงื่อนไขการรัดเข็มขัดทางการคลัง ขณะที่ประเทศเจ้าหนี้ไม่ยอม โครงการฯ จะครบกำหนดระยะเวลาในวันที่ 28 ก.พ. 58 หากไม่สามารถต่ออายุโครงการฯ ได้ กรีซอาจมีสภาพคล่องไม่เพียงพอสำหรับภาระหนี้ที่มีอยู่ และอาจผิดนัดชำระหนี้ในเดือน มี.ค. 58 เกิดความเสี่ยงในระบบการเงินยุโรป และความเสี่ยงการที่กรีซจะออกจากยูโรโซน สถานการณ์ล่าสุด: สามารถเจรจาต่ออายุโครงการออกไปอีก 4 เดือน การต่ออายุโครงการช่วยเหลือทางการเงินของกรีซ สถานการณ์เศรษฐกิจรัสเซีย รัสเซียพึ่งพาการส่งออกพลังงานในระดับสูง ดังนั้น ราคา พลังงานที่ลดลงกว่าร้อยละ 40 จึงส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ รัสเซียค่อนข้างมาก - รายได้จากการส่งออกพลังงานมีสัดส่วนกว่าร้อยละ 70 ของ มูลค่าส่งออกรวม - รายได้ภาษีน้ำมันมีสัดส่วนกว่าครึ่งหนึ่งของรายได้รัฐ โดยรวม การคว่ำบาตรทางการค้าระหว่างรัสเซียและสหรัฐฯ – ยุโรป ส่งผลให้การส่งออกหดตัวต่อเนื่อง ความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจไทย: การส่งออก : 0.05% ของยอดการส่งออกรวม ปี 56 การท่องเที่ยว : 6.6% ของจำนวนนักท่องเที่ยวรวม ความผันผวนของตลาดการเงินโลกและดอลลาร์แข็งค่า ธนาคารกลางสวิส (SNB) ยกเลิกการตรึงค่าเงินสวิสฟรังก์จากยูโร เมื่อวันที่ 15 ม.ค. 58 เดิม ตรึงไว้ที่ 1.2 สวิสฟรังก์ต่อยูโร ใหม่ ปล่อยค่าเงินลอยตัว เป้าหมาย ลดภาระการแทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยนของ SNB ผล ค่าเงินสวิสฟรังก์แข็งค่าขึ้นทันทีร้อยละ 24.7 เป็นสัญญาณบ่งชื้ว่า ECB น่าจะขยายมาตรการ QE Daeng – Origination of Eurozone Debt crisis Cyprus
“ความเสี่ยงและโอกาส ของไทย”
โครงสร้างการส่งออกที่เปลี่ยนไป “ไทยคว้าโอกาสจากการฟื้นตัวของ G3 ได้น้อย จากโครงสร้างส่งออกที่เปลี่ยนไป” อัตราขยายตัว(%) แยกตามตลาด 2555 2556 2557 การส่งออกรวม 3.0 -0.3 -0.4 สหรัฐอเมริกา 4.6 0.8 4.1 ญี่ปุ่น -1.7 -5.2 -1.9 สหภาพยุโรป -9.7 2.6 4.2 อาเซียน (9) 4.5 5.0 0.2 - CLMV 10.5 11.8 9.0 จีน 2.4 1.4 -7.9 ฮ่องกง 9.6 0.7 -4.4 อินเดีย 5.7 -5.3 8.4 ทวีปออสเตรเลีย 22.1 5.6 -8.8 2. ความเสี่ยงและโอกาสของไทย
การเงินโลกผันผวน “ค่าเงินบาทและตลาดเงินตลาดทุนไทยผันผวนตามการเคลื่อนย้ายเงินทุนต่างชาติ จากนโยบายการเงินของประเทศเศรษฐกิจหลักที่ไม่สอดคล้องกัน” 2. ความเสี่ยงและโอกาสของไทย
ราคาน้ำมันโลกตกต่ำกระทบราคา สินค้าเกษตร “เศรษฐกิจโลกที่ชะลอลงและอุปทานส่วนเกิน ส่งผลให้ราคาโภคภัณฑ์และราคาเกษตรลดลงต่อเนื่อง” 2. ความเสี่ยงและโอกาสของไทย
โอกาส : การค้าชายแดนมีบทบาทมากขึ้น Myanmar 180 bn baht (+10%) Malaysia 516 bn baht (-8%) Lao PDR 132 bn baht (+30%) Cambodia 82 bn baht (+28%) 2. ความเสี่ยงและโอกาสของไทย 32
ขอบคุณครับ