วัสดุคงเหลือ
ความหมายของวัสดุคงเหลือ สินทรัพย์ที่มีไว้เพื่อใช้ในการผลิต สินทรัพย์ในระหว่างกระบวนการผลิต สินทรัพย์ที่กิจการเก็บรักษาไว้เพื่อขาย
สินค้าที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ สินค้าระหว่างทาง F.O.B. shipping point F.O.B. destination สินค้าฝากขาย สินค้าผ่อนชำระ
ประเภทของวัสดุคงเหลือ จำแนกตามการผลิต วัตถุดิบ, ชิ้นส่วน, วัสดุสิ้นเปลือง, สินค้าระหว่างผลิต, สินค้าสำเร็จรูป จำแนกตามหน้าที่ วัสดุคงเหลือเพื่อขาย, วัสดุคงเหลือระหว่างทาง, วัสดุคงเหลือเพื่อป้องกันการขาดแคลน, วัสดุคงเหลือที่เกิดจากการสั่งเป็นล็อต
วัตถุประสงค์ของการจัดการวัสดุคงเหลือ ด้านการลงทุน ด้านการผลิตและการขาย ด้านการดำเนินงาน
ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับวัสดุคงเหลือ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต ค่าใช้จ่ายเมื่อสินค้าขาดสต็อก
ปัจจัยในการกำหนดระดับวัสดุคงเหลือ ปริมาณที่สั่งซื้อ ระยะเวลาการรอคอย การพยากรณ์ความต้องการ
การจัดการวัดสุภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน ปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) การกำหนดจุดสั่งซื้อ ปริมาณการสั่งซื้อที่จะได้รับส่วนลด
Economic Order Quantity 2Co.D EOQ = CH
การกำหนดจุดสั่งซื้อ R = L x d R = จุดสั่งซื้อ
การจัดการวัดสุภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน การกำหนดวัสดุคงเหลือเผื่อขาด จุดสั่งซื้อ = (ปริมาณการขายโดยเฉลี่ยต่อวัน x ระยะเวลาการรอคอย) + วัสดุเผื่อขาด
การควบคุมวัสดุคงเหลือในทางปฏิบัติ วิธีการควบคุมวัสดุคงเหลือ จำนวนหน่วย จำนวนเงิน
การควบคุมวัสดุคงเหลือในทางปฏิบัติ ระบบการตรวจสอบวัสดุคงเหลือ ระบบการตรวจสอบแบบต่อเนื่อง ระบบการตรวจสอบเมื่อสิ้นงวด
ปัจจัยการกำหนดขนาดของวัสดุคงเหลือ อัตราการหมุนเวียนของวัสดุคงเหลือ ความรวดเร็วของกระบวนการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการจัดหาและเก็บรักษาวัสดุ การคาดคะเนระดับราคาวัสดุในอนาคต ประสิทธิภาพของฝ่ายจัดซื้อ
Just in Time System : JIT ระบบการผลิตแบบทันเวลา ระบบการผลิตที่มีวัสดุคงเหลือเป็นศูนย์ (Stockless หรือ Zero inventory production System)
ขั้นตอนการทำ Case Study ระบุสถานการณ์ พิจารณาปัญหา หาสาเหตุของปัญหา กำหนดทางเลือก ประเมินผลทางเลือกและเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด การดำเนินงานตามทางเลือกที่ได้เลือกไว้ ข้อเสนอแนะ