บทที่ 8 การเขียนประเภทอื่น ๆ เพื่อการประชาสัมพันธ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศิลปะการเป็นโฆษก.
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
ระบบฐานข้อมูลบริการวิชาการ ของสำนักงานบริการวิชาการ ระเบียบพัฒนาวิชาการ พ. ศ.2551 คู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมูล บริการวิชาการ – สะดวก รวดเร็ว ไม่ซับซ้อน.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
โดย ครูสมจินตนา เทียมวิไล
การพูดเพื่องานวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
ความหมายของเรียงความ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
จังหวัดสมุทรปราการ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
เยาวเรศ ก้านมะลิ 1 อรัญ ซุยกระเดื่อง2
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 การเขียนประเภทอื่น ๆ เพื่อการประชาสัมพันธ์ หัวข้อเนื้อหาประจำบท 1. แนวคิดเกี่ยวกับการเขียนสุนทรพจน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 2. ขั้นตอนการเขียนสุนทรพจน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 3. ประเภทการเขียนสุนทรพจน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 4. การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ในโอกาสต่าง ๆ

แนวคิดเกี่ยวกับการเขียนสุนทรพจน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ สุนทรพจน์ หมายถึง การพูดที่ดีงาม ไพเราะ มักมีในพิธีต้อนรับ แขกเมืองคนสำคัญ พิธีได้รับตำแหน่งสำคัญ วันสำคัญระดับชาติ หรือเป็นการกล่าวในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพื่อสร้างสรรค์ จรรโลงใจมีวัตถุประสงค์โดยเฉพาะ มีการจัดเตรียมการพูดเป็นอย่างดี ใช้ถ้อยคำไพเราะลึกซึ้งกินใจ จับใจ โน้มน้าวให้ผู้ฟังเห็นคล้อยตาม กระตุ้นผู้ฟัง มีความมั่นใจและยินดีร่วมมือ สร้างบรรยากาศให้เกิดความสุขแก่ผู้ฟัง

ช่องทางการเขียนสุนทรพจน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 1. ทางการพูดหรือการกล่าวในที่ชุมชน จำเป็นต้องขึ้นต้นด้วยการกล่าวทักทายที่ประชุมหรือผู้เกี่ยวข้องตามความเหมาะสมด้วย โดยทั่วไปไม่ควรเกิน 3 องค์ประชุมหลัก 2. ทางสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น รายงานประจำปี เอกสารแนะนำหน่วยงานหรือโครงการ ซึ่งมักจะพบในรูปของเอกสารแทรกตามสื่อหนังสือพิมพ์ต่าง ๆ

โครงสร้างการเขียนสุนทรพจน์ 1. คำขึ้นต้นหรือคำปฏิสันถาร เป็นส่วนของคำกล่าวทักทายผู้รับฟัง เป็นการให้เกียรติผู้ที่มา เข้าร่วมในพิธีหรือในการประชุมนั้น ๆ การกล่าวทักทายควรเรียงลำดับการทักทายจากผู้ที่มีอาวุโส 2. ส่วนนำ เป็นส่วนที่บอกถึงจุดประสงค์ และมุ่งที่จะตรึงความสนใจของผู้รับสาร 3. เนื้อเรื่อง เป็นส่วนสำคัญของรายละเอียดเนื้อหา เมื่อเปรียบเทียบกับส่วนอื่นแล้วจะมีสัดส่วนมากที่สุดเพราะเป็นส่วนที่จะให้ข้อมูลและรายละเอียดต่าง ๆ แก่ผู้ฟัง ส่วนนี้นับเป็นส่วนสำคัญมากที่สุด ทั้งนี้ความสำเร็จของการพูดส่วนใหญ่ขึ้นกับเนื้อหา 4. สรุป เป็นข้อความส่วนท้ายก่อนจบ เป็นส่วนที่ผู้เขียนจะต้องสร้างความจดจำ ความประทับใจแก่ผู้ฟัง

แนวทางการเขียนสุนทรพจน์ 1. การกำหนดแนวคิด 2. การรวบรวมข้อมูล 3. การเขียนร่าง 4. การตรวจสอบความสมบูรณ์ของร่าง 5. การเขียนอย่างละเอียด ก่อนการเขียนสุนทรพจน์

ประเภทของสุนทรพจน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 1. การกล่าวปราศรัย หรือ สารจากประธานกรรมการ อาจมีโอกาสต่าง ๆ เช่น ครบรอบปีก่อตั้งของสถาบัน การขยายกิจการ การเปิดอาคารสำนักงานแห่งใหม่ เนื้อหา - โอกาส ความสำคัญของโอกาส - ประวัติความเป็นมา - จุดมุ่งหมายของกิจการ หน่วยงาน หรือ โครงการ - หลักการดำเนินงานหรืออุดมการณ์ของหน่วยงาน กิจกรรมสำคัญ ๆ หรือผลงานเด่นที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานหรือโครงการที่เป็นประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม และขอบคุณผู้ให้การสนับสนุน

ประเภทของสุนทรพจน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 2. การกล่าวอวยพร หรือสารแสดงความยินดี หรือสารอวยพร ในฐานะของแขกผู้ทรงเกียรติหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องในองค์กรใดองค์กรหนึ่ง เนื้อหา - ฐานะของผู้กล่าว กล่าวในนามของใคร โอกาส ความสำคัญของโอกาสนั้น - ความสำคัญ และบทบาทขององค์กรหรือหน่วยงานที่มีต่อส่วนรวม อาจเป็นเชิงเศรษฐกิจ หรือสังคม - ชื่นชมผลงานหรือกิจกรรมที่โดดเด่นเป็นพิเศษ แสดงความยินดีและอวยพรต่อกิจการ

ประเภทของสุนทรพจน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 3. การกล่าวรายงาน เน้นการสื่อสารผ่านช่องทางการพูดเป็นหลัก โดยทั่วไปเป็นหน้าที่ของประธานกรรมการจัดงาน ซึ่งต้องรายงานต่อประธานในงาน เนื้อหา - หลักการและเหตุผลของการจัดงาน วัตถุประสงค์ ระยะเวลาการจัดงาน - กิจกรรมต่าง ๆ ที่น่าสนใจ - ขอบคุณคณะกรรมการหรือผู้รับผิดชอบจัดงาน และอวยพรให้งานประสบความสำเร็จลุล่วง

ประเภทของสุนทรพจน์เพื่อการประชาสัมพันธ์ 4. การกล่าวเปิดงาน ใช้ในโอกาสที่ประธานในพิธีกล่าวตอบรับการรายงาน และกล่าวเปิดงานในลำดับถัดไป เนื้อหา - การแสดงความยินดีที่ได้มาเป็นประธานเปิดงาน - กล่าวชื่นชมความสำคัญและวัตถุประสงค์ของการจัดงาน - ขอบคุณคณะกรรมการหรือผู้รับผิดชอบจัดงาน และอวยพรให้งานประสบความสำเร็จลุล่วง

การพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์ในโอกาสต่าง ๆ 1. การพูดในหน้าที่พิธีกร คือ ผู้ดำเนินการในพิธีต่าง ๆ เป็นบุคคลที่ทำหน้าที่กำกับให้กิจกรรม รายการ หรือ พิธีการต่าง ๆ ดำเนินการไปให้แล้วเสร็จเรียบร้อยตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยพิธีกรควรจะมีทักษะเป็นพิเศษคือ เป็นคนพูดเป็น ทักษะการพูดต้องดี บุคลิกดี ท่าที่สง่า พิธีกรต้องสื่อสารแล้วคนฟังเข้าใจ ไม่พูดมากเกินไป รู้รายละเอียดของแต่ละรายการ รายละเอียดเกี่ยวกับกิจกรรมและเวลาให้สัมพันธ์กัน รู้จักผู้เกี่ยวข้องในแต่ละรายการ (ใครจะมารับช่วงเวทีต่อไป) รู้กาลเทศะ หลักสำคัญของการเป็นพิธีกรต้องประสานกับผู้พูด ผู้กำกับรายการและเจ้าของงานให้เรียบร้อย

การเขียนบทพูดของพิธีกร การเขียนบทพูดของพิธีกรก็มีความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้ดำเนินการเรียบร้อยตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งมีแนวทางการเขียน คือ การกำหนดขอบเขตของเรื่อง รวบรวมเนื้อหา วางโครงเรื่อง จัดลำดับความสำคัญ การใช้ถ้อยคำของตนเอง เลือกคำให้เหมาะกับงานแต่ละประเภท คำนึงถึงกลุ่มผู้ฟังเสมอ ตรวจสอบความถูกต้องของบทก่อน พูดทุกครั้ง

2. การกล่าวต้อนรับในโอกาสที่มีผู้มาเยี่ยมเยือน หรือผู้มาร่วมงานคนใหม่ มักจะจัดงานต้อนรับเป็นการแสดงอัธยาศัยไมตรีอันดียิ่ง และเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์กัน การกล่าวต้อนรับเป็นการแสดงออกถึงการให้เกียรติผู้มาเยือนหรือผู้มาใหม่ ก่อให้เกิดความอบอุ่นเป็นกันเองต่อผู้มาใหม่

การเขียนบทพูดเพื่อต้อนรับ ประกอบด้วยคำปฏิสันถารเพื่อกล่าวทักทาย เช่น ท่านอธิการบดี ท่านรองอธิการบดี คณาจารย์และท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน....” ต่อด้วยความรู้สึกยินดีของผู้ต้อนรับ ตามด้วยเนื้อเรื่องความเกี่ยวพันของผู้มาเยือนหรือผู้มาใหม่ สรุปด้วยความปรารถนาดีของเจ้าภาพหรือเจ้าของสถานที่ หากเป็นการเยี่ยมเยือนจงกล่าวอย่างมีความหวังว่าจะได้ต้อนรับการกลับมาของผู้มาเยี่ยมเยียนอีกใน

3. การกล่าวขอบคุณวิทยากร ข้อควรระวังอย่าพูดถึงความสำคัญของเรื่องยืดยาว พร้อมเชิญชวนให้ผู้ฟังร่วมปรบมือเป็นเกียรติแก่วิทยากร

การเขียนบทการกล่าวขอบคุณวิทยากร * ผู้กล่าวขอบคุณจะบอกว่ากล่าวในนามใคร * กล่าวถึงความสำคัญของเรื่องที่พูดอย่างสั้น ๆ * เน้นประโยชน์ที่ผู้ฟังได้รับจากการฟังคราวนี้