แหล่งสารสนเทศ : การเลือกแหล่งสารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
ขอบเขตของการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ผู้จัดทำ ด. ช. พีรวิทย์ ขาสัก เลขที่ ด. ช. ปรเมษ พยัคฆันตร์ เลขที่ 18 ชั้น.. ม.1/10 โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน ครับบบ...
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
โครงงาน เรื่อง อินเทอร์เน็ต(Internet)
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
บทที่ 1 ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับระบบคุณภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ความต้องการ ทางด้านการเงิน และ การส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ความต้องการ ทางด้านการเงิน และ การส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต บริหารการจัดการ.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
ประสบการณ์จาก … คณะสู่หอกลาง by....JIM สืบเนื่องจากนโยบายของสถาบัน ฯ ที่มีการยุบรวมห้องสมุดจาก คณะต่าง ๆ มารวมไว้กับสำนักหอสมุดกลาง และได้เพิ่มพื้นที่อีกหนึ่ง.
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
Case Study.
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
บทที่ 5 เครื่องมือสืบค้นข้อมูล (Search Engine)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
สรุปงานศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ
บทที่ ๒ เรื่องที่ ๑๐ การค้นคว้าหาความรู้ทาง อินเทอร์เน็ต
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ทรัพยากรสัตว์ป่า.
บทที่6 ระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นหนังสือ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
จุดเริ่มต้นสวนสัตว์ไทย
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แหล่งสารสนเทศ : การเลือกแหล่งสารสนเทศ วรพจน์ พรหม จักร

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ ความหมายของแหล่ง สารสนเทศ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจลักษณะ ของแหล่งสารสนเทศแต่ละ ประเภทและแยกแยะความ แตกต่างได้ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเลือก แหล่งสารสนเทศได้อย่าง เหมาะสมและเป็นประโยชน์ วัตถุประสงค์

แหล่งสารสนเทศ เป็น แหล่งที่ผู้ใช้สารสนเทศ สามารถแสวงหา สารสนเทศที่ต้องการได้ แหล่งสารสนเทศ หรือ Information sources หมายถึง แหล่งที่เกิด, แหล่งผลิต หรือแหล่งที่ เป็นศูนย์รวมทรัพยากร สารสนเทศ ในรูปแบบ ที่หลากหลายไว้ ให้บริการค้นคว้าผู้ ต้องการสารสนเทศ       แหล่งสารสนเทศ

แหล่งสารสนเทศแบ่งได้ 4 กลุ่ม ดังนี้ แหล่งสารสนเทศบุคคล แหล่งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน แหล่งสารสนเทศอินเตอร์เน็ต

ประเภทของแหล่งสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศบุคคล ผู้ที่มีความรู้ + ประสบการณ์ ผู้สร้างสรรค์ ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ ปราชญ์ชาวบ้าน.... การเข้าถึง(access) พูดคุย ถาม-ตอบ สัมภาษณ์ ด้วย ช่องทางต่างๆ เช่น สอบถาม ส่วนบุคคล โทรศัพท์ อีเมล์ จดหมาย ตัวอย่าง : แฟนพันธุ์แท้, คุณหญิงพรทิพย์, โค้ชซิโก้ เกียรติศักดิ์ ..... ประเภทของแหล่งสารสนเทศ

แหล่งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศสถาบัน ห้องสมุด หอจดหมายเหตุ ศูนย์ข้อมูล, ศูนย์ สารสนเทศ .... แหล่งสารสนเทศสถาบัน

ห้องสมุด คือ ที่, สถานที่ รวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่ สารสนเทศหลากหลาย รูปแบบ เช่น หนังสือ ซีดี ดีวีดี สื่อ อิเล็กทรอนิกส์ มีระบบการ บริหารจัดการเพื่อให้ สารสนเทศและบริการที่ ตอบสนองต่อความต้องการ ของผู้ใช้บริการ แหล่งสารสนเทศสถาบัน

วัตถุประสงค์หลักของห้องสมุด เพื่อการศึกษา (Education) เพื่อข่าวสารความรู้ (Information) เพื่อการค้นคว้าวิจัย (Research) เพื่อความจรรโลงใจ (Inspiration) เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ (Recreation) วัตถุประสงค์หลักของห้องสมุด

ประเภทของห้องสมุด หอสมุดแห่งชาติ ห้องสมุดประชาชน ห้องสมุดโรงเรียน ห้องสมุดเฉพาะ ห้องสมุด สถาบันอุดมศึกษา, ห้องสมุดมหาวิทยาลัย ประเภทของห้องสมุด

ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด สิ่งพิมพ์รัฐบาล (สร, GP) หนังสืออ้างอิง (อ, R, Ref) นวนิยาย(นว, Fic) เรื่องสั้น(รส, SC) หนังสือเด็ก(ด, C) จุลสาร กฤตภาค หนังสือ/ตำรา วารสาร(วิชา การ, สารคดี ,บันเทิง) หนังสือพิมพ์ เชิง ปริมาณ เชิง คุณภาพ สื่อโสตทัศน์ วิทยานิพนธ์(ว น, วพ, Thesis) รายงานการ วิจัย(วจ, Res) ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด

การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ จัดเก็บในระบบหมวดหมู่ DDC(Dewey Decimal Classification) LC(Library of Congress Classification) NLM(U.S. National Library of Medicine Classification) การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ

DDC 000 ความรู้ทั่วไป 500 วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ 100 ปรัชญา จิตวิทยา 000 ความรู้ทั่วไป 100 ปรัชญา จิตวิทยา 200 ศาสนา 300 สังคมศาสตร์ 320-329 การเมืองการ ปกครอง 330-339 เศรษฐศาสตร์ 340-349 กฎหมาย 350-359 การบริหารรัฐ กิจ 370-379 การศึกษา 400 ภาษา 500 วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ 510-519 คณิตศาสตร์ 530-539 ฟิสิกส์ 600 วิทยาศาสตร์ ประยุกต์ 610-619 การแพทย์ พยาบาล 630-639 เกษตรศาสตร์ 650-659 บริหารธุรกิจ การบัญชี 700 ศิลปะ 800 วรรณคดี วรรณกรรม 900 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว DDC

LC จัดหมวดหมู่โดยใช้อักษร โรมัน จำนวน 20 หมวด แต่ใช้ 21 ตัวอักษร จัดหมวดหมู่โดยใช้อักษร โรมัน จำนวน 20 หมวด แต่ใช้ 21 ตัวอักษร A B C D E-F G H J K L M N P Q R S T U V Z ไม่ใช้ I O W X Y A-P หมวดหมู่เกี่ยวกับ มนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ Q-V หมวดหมู่เกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์ Z หมวดหมู่เกี่ยวกับ บรรณารักษศาสตร์ LC

เลขเรียกหนังสือ ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 เลขหมวดหมู่จาก หนังสือชื่อ “สารสนเทศและ การศึกษาค้นคว้า” คือ 025 ส่วนที่ 2 เลขผู้แต่งและชื่อเรื่อง เช่น ธิดารัตน์ เจริญเขต เลขผู้แต่ง คือ ธ51เรื่องที่แต่ง “สารสนเทศและการศึกษา ค้นคว้า” เลขเรียก คือ 025 ธ51ส ส่วนที่ 3 ลักษณะเพิ่มเติม ปี พ.ศ./ค.ศ. ฉบับที่ เล่มที่ 025 ธ51ส 2551 ล.2 ฉ.2 025 ธ51ส 2551 ฉ.3

แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน ได้แก่ โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ บริการข่าวสารทันสมัย ประเภท ข่าว เหตุการณ์สำคัญ สาระ ความรู้ต่างๆ แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน

แหล่งสารสนเทศอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วโลกให้สามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้ เว็บไซต์ (World Wide Web, WWW) นอกจากนั้นยังมี จดหมายอิเล็กทรอนิกส์(E-mail) FTP(File Transfer Protocol) บริการโอนย้ายไฟล์ แหล่งสารสนเทศอินเทอร์เน็ต

การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ เราสามารถเลือกใช้แหล่ง สารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และเป็นประโยชน์ โดยมีหลัก ในการพิจารณาดังนี้ มีความสะดวกในการเข้าใช้ อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งที่เข้า ใช้ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ เพียงแต่ผู้ใช้ต้องมีเครื่อง คอมพิวเตอร์และเข้าถึงแหล่ง ความรู้เป็น ห้องสมุดก็เป็น แหล่งที่มีความสะดวกในการ เข้าใช้ จัดตั้งอยู่ในบริเวณที่ เป็นศูนย์กลาง และเปิด ให้บริการตามเวลาที่กำหนด การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ

การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ เป็นแหล่งที่มีความน่าเชื่อถือ ห้องสมุดเป็นแหล่งสารสนเทศที่ มีความน่าเชื่อถือมากกว่าแหล่ง บุคคลและอินเทอร์เน็ต เนื่องจากมีวิธีการคัดเลือก จัดหา จัดเก็บ ทรัพยากร สารสนเทศอย่างเป็นระบบ และมุ่งเน้นให้บริการ สารสนเทศที่ตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้อย่างสะดวก รวดเร็ว ทำให้ผู้ใช้ ประหยัดเวลาในการค้นหา สารสนเทศ “แหล่งสารสนเทศบุคคล”ควร คำนึงถึงผู้ที่มีชื่อเสียงคุณวุฒิ หรือประสบการณ์ที่เป็นที่ ยอมรับกว้างขวาง อาจเป็น ระดับประเทศหรือ นานาชาติ การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ

การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ ในขณะที่อินเทอร์เน็ตเป็น แหล่งที่มีความน่าเชื่อถือน้อย กว่าห้องสมุด เนื่องจากมีการ เผยแพร่ความรู้จำนวนมากที่ ขาดการกลั่นกรองเนื้อหา บางครั้งอาจไม่ถูกต้อง ไม่ ครบถ้วน หรือขัดต่อศีลธรรม ดังนั้นการใช้เว็บไซต์ต่างๆจึง ควรมีความระมัดระวัง ควร เลือกเว็บไซต์เป็นของสถาบัน ต่างๆที่น่าเชื่อถือมากกว่า เว็บไซต์ของบุคคล หรือ หน่วยงานที่ไม่รู้จักชื่อเสียงใน การเลือกใช้ การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ

การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ มีความสอดคล้องกับลักษณะของ เนื้อหาสารสนเทศที่ต้องการ เช่น             - ถ้าต้องการความรู้เฉพาะ สาขาวิชา อาจเลือกใช้ ห้องสมุด คณะ, ห้องสมุดเฉพาะ, ศูนย์ สารสนเทศ             - ถ้าต้องการความรู้ทั่วไป หลากหลายสาขาวิชา อาจเลือกใช้ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย             - ถ้าเรื่องที่ต้องการ เฉพาะเจาะจงและหาอ่านไม่ได้จาก ทรัพยากรสารสนเทศ อาจต้องใช้ แหล่งบุคคล ที่เชี่ยวชาญในเรื่อง นั้น การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ

การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ ระมัดระวังเรื่องความ ทันสมัยของเนื้อหาที่ นำเสนอสื่อมวลชน เป็น แหล่งที่เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ที่เป็น ปัจจุบัน ดังนั้น ข้อมูล ข่าวสาร ที่เผยแพร่จึง ล้าสมัยเร็ว เช่น ราคา ทองคำ อาจมีการ เปลี่ยนแปลงตัวเลขทุกวัน ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้อง พิจารณา วัน เดือน ปี ของการผลิต หรือเผยแพร่ ข้อมูลของแหล่งสื่อมวลชน ด้วย การเลือกใช้แหล่งสารสนเทศ