บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
บทที่ 5 การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
บทที่ 3 หลักฐานการสอบบัญชีและการตรวจสอบ
Entity-Relationship Model E-R Model
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
การเขียนโปรแกรม ภาษาซีเบื้องต้น โดย คุณครูปวีณา แนววงศ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
Pushdown Automata : PDA
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
ไฟไนต์ออโตมาตาที่คาดเดาไม่ได้ (Non-deterministic Finite Automata)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
1.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 8: การทำซ้ำ (while, do-while)
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
บทเรียนโปรแกรมเพื่อการทบทวน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
สมการเชิงเส้น (Linear equation)
BC320 Introduction to Computer Programming
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง การควบคุมทิศทางการทำงาน
Vernier เวอร์เนียร์ คือเครื่องมือที่ใช้วัดระยะ (distance) หรือ ความยาว (length) ให้ได้ค่าอย่างละเอียด เวอร์เนียร์ต่างจากไม้บรรทัดทั่วๆไป เพราะมี 2 สเกล.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
Control Statement เงื่อนไขคำสั่งในโปรแกรม ภาษา C
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 4 มกราคม 2562
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
บทที่ 3 Programming By Wathinee duangonnam
สมการพหุนาม ที่มีความซับซ้อนมากขึ้น
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
บทที่ 10 การแบ่งปัญหาใหญ่ออกเป็นปัญหาย่อยและการสร้างลำดับขั้นตอนย่อย
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
Supply Chain Management
Chapter 3 : Array.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
Array: One Dimension Programming I 9.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
กิจกรรมที่ 12 รวบรวมข้อมูลอย่างไรกันดี
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ (Condition (if-else))

จุดประสงค์การเรียนรู้ สามารถเข้าใจการกำหนดเงื่อนไขตัดสินใจ สามารถออกแบบเงื่อนไขการตัดสินใจจากโจทย์ปัญหาให้อยู่ในรูปแบบสมการคณิตศาสตร์ได้ สามารถกำหนดเงื่อนไขตัดสินใจอย่างเหมาะสมเพื่อให้ได้คำตอบออกมาถูกต้องตามที่โจทย์กำหนดได้

หัวข้อเรื่อง เงื่อนไขตัดสินใจคืออะไร ตัวอย่าง

เงื่อนไขตัดสินใจคืออะไร เทคนิคสำหรับการพิจารณาโจทย์ปัญหาที่มีทางเลือกหลายทางเลือก ให้เหลือเพียงทางเลือกเดียว เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่โจทย์กำหนด

ตัวอย่างที่ 1 สอบตกหรือสอบผ่าน จงแสดงผลการเปรียบเทียบการสอบของคะแนนต่อไปนี้ โดยมีสถานะ น้อยกว่า 50 แสดงผลว่า “สอบตก” มากกว่าหรือเท่ากับ 50 แสดงผลว่า “สอบผ่าน”

ขั้นตอนการทำงาน รับค่าตัวเลขมาใส่ตัวแปร X เช็คเงื่อนไง x < 50 2.1 จริง “สอบตก” 2.2 เท็จ “สอบผ่าน”

60 คะแนน สอบตก สอบผ่าน สอบผ่าน

20 คะแนน สอบตก สอบตก สอบผ่าน

49 คะแนน สอบตก สอบตก สอบผ่าน

50 คะแนน สอบตก สอบผ่าน สอบผ่าน

ผังงาน (flowchart) เริ่มต้น รับค่า score score >= 50 “สอบผ่าน” “สอบตก” สิ้นสุด จริง เท็จ

ถ้า score = 49 เริ่มต้น รับค่า score รับค่า 49 score >= 50 49 >= 50 จริง เท็จ “สอบผ่าน” “สอบตก” “สอบตก” สิ้นสุด

ถ้า score = 50 เริ่มต้น รับค่า score รับค่า 50 score >= 50 50 >= 50 จริง เท็จ “สอบผ่าน” “สอบตก” “สอบผ่าน” สิ้นสุด

ตัวอย่างที่ 2 สถานะของน้ำ จงระบุสถานะของน้ำ โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ อุณหภูมิมากกว่าหรือเท่ากับ 100 องศาเซลเซียส ก๊าซ อุณหภูมิตั้งแต่ 1-99 องศาเซลเซียส ของเหลว อุณหภูมิน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0 องศาเซลเซียส ของแข็ง

ขั้นตอนการทำงาน 1. รับค่าอุณหภูมิ 2. ถ้าค่าของอุณหภูมิมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0 2.1 จริง น้ำจะมีสถานะเป็นของแข็ง 2.2 เท็จ ต้องทดสอบเพิ่มว่าค่าของอุณหภูมิมีค่าเท่าใด 3. ถ้าค่าของอุณหภูมิมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 100 3.1 จริง น้ำจะมีสถานะเป็นก๊าซ 3.2 เท็จ น้ำจะมีสถานะเป็นของเหลว 4. แสดงค่าสถานะ

90 อุณหภูมิ ก๊าซ ของเหลว ของเหลว ของแข็ง องศาเซลเซียส

อุณหภูมิ -5 ก๊าซ ของเหลว ของแข็ง ของแข็ง องศาเซลเซียส

อุณหภูมิ 100 ก๊าซ ก๊าซ ของเหลว ของแข็ง องศาเซลเซียส

เริ่มต้น ผังงาน (flowchart) รับค่า temp temp <= 0 จริง เท็จ “ของแข็ง” temp >= 100 จริง เท็จ “ก๊าซ” “ของเหลว” สิ้นสุด

เริ่มต้น รับค่า temp ถ้า temp = 90 temp <= 0 90 <= 0 จริง เท็จ “ของแข็ง” temp >= 100 90 >= 100 จริง เท็จ “ก๊าซ” “ของเหลว” “ของเหลว” สิ้นสุด

เริ่มต้น รับค่า temp ถ้า temp = -5 temp <= 0 -5 <= 0 จริง เท็จ “ของแข็ง” temp >= 100 “ของแข็ง” จริง เท็จ “ก๊าซ” “ของเหลว” สิ้นสุด

เริ่มต้น รับค่า temp ถ้า temp = 100 temp <= 0 100 <= 0 จริง เท็จ “ของแข็ง” temp >= 100 100 >= 100 จริง เท็จ “ก๊าซ” “ของเหลว” “ก๊าซ” สิ้นสุด

ตัวอย่างที่ 3 ชมภาพยนต์ โดยมีราคาของบัตรชมภาพยนต์ดังนี้ Day Deluxe Premium Sofa Monday 100.- 120.- 300.- Tuesday Wednesday 80.- Thursday 140.- 400.- Friday Saturday 160.- 450.- Sunday

กำหนดให้รับข้อมูลเข้า 2 จำนวน ดังนี้ ตัวแปร day สำหรับเก็บข้อมูลของวันที่จะซื้อบัตรชมภาพยนตร์ ตัวแปร seat สำหรับเก็บข้อมูลของที่นั่งสำหรับชมภาพยนต์

ขั้นตอนการทำงาน 1. รับค่า day และ seat 2. ตรวจสอบค่า day = Monday หรือ day = Tuesday 2.1 จริง ตรวจสอบค่า seat = Deluxe 2.1.1 จริง ราคาที่ต้องจ่ายคือ 100.- 2.1.2 เท็จ ตรวจสอบค่า seat = Premium 2.1.2.1 จริง ราคาที่ต้องจ่ายคือ 120.- 2.1.2.2 เท็จ ราคาที่ต้องจ่ายคือ 300.- 2.2 เท็จ ตรวจสอบค่า day = Wednesday 2.2.1 จริง ตรวจสอบค่า seat = Deluxe 2.2.1.1 จริง ราคาที่ต้องจ่ายคือ 80.-

2. 2. 1. 2 เท็จ ตรวจสอบค่า seat = Premium 2. 2. 1. 2 2.2.1.2 เท็จ ตรวจสอบค่า seat = Premium 2.2.1.2.1 จริง ราคาที่ต้องจ่ายคือ 100.- 2.2.1.2.2 เท็จ ราคาที่ต้องจ่ายคือ 300.- 2.2.2 เท็จ ตรวจสอบค่า day = Thursday หรือ day = Friday 2.2.2.1 จริง ตรวจสอบค่า seat = Deluxe 2.2.2.1.1 จริง ราคาที่ต้องจ่ายคือ 120.-

2. 2. 2. 1. 2 เท็จ ตรวจสอบค่า seat = Premium 2. 2. 2. 1. 2 2.2.2.1.2 เท็จ ตรวจสอบค่า seat = Premium 2.2.2.1.2.1 จริง ราคาที่ต้องจ่ายคือ 140.- 2.2.2.1.2.2 เท็จ ราคาที่ต้องจ่ายคือ 400.- 2.2.2.2 เท็จ ตรวจสอบค่า seat = Deluxe 2.2.2.2.1 จริง

2. 2. 2. 2. 2 เท็จ ตรวจสอบค่า seat = Premium 2. 2. 2. 2. 2

ผังงาน (flowchart) เริ่มต้น รับค่า day, seat day = Monday or day = Tuesday จริง จริง seat = Deluxe “100.-” เท็จ seat = Premium จริง “120.-” เท็จ เท็จ “200.-” A1 B1

A1 B1 day = Wednesday จริง จริง seat = Deluxe “80.-” เท็จ seat = Premium จริง “100.-” เท็จ เท็จ “300.-” A2 B2

A2 B2 day = Thursday or day = Friday จริง จริง seat = Deluxe “120.-” เท็จ จริง seat = Premium เท็จ “140.-” เท็จ จริง seat = Deluxe “140.-” “400.-” เท็จ จริง seat = Premium “160.-” เท็จ “450.-” สิ้นสุด

เมื่อตัวแปร day = Saturday และตัวแปร seat = Premium เริ่มต้น day = Saturday และ seat = Premium รับค่า day, seat day = Monday or day = Tuesday จริง จริง seat = Deluxe “100.-” เท็จ seat = Premium จริง “120.-” เท็จ เท็จ “200.-” A1 B1

A1 B1 day = Wednesday จริง จริง seat = Deluxe “80.-” เท็จ seat = Premium จริง “100.-” เท็จ เท็จ “300.-” A2 B2

A2 B2 day = Thursday or day = Friday จริง จริง seat = Deluxe “120.-” เท็จ จริง seat = Premium เท็จ “140.-” เท็จ จริง seat = Deluxe “140.-” “400.-” เท็จ จริง seat = Premium “160.-” เท็จ “450.-” สิ้นสุด

เงื่อนไข จากตัวอย่าง จะพบว่า การเขียนผังงานที่มีเงื่อนไข จะใช้สัญลักษณ์ condition หรือสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด

เงื่อนไขภายในสัญลักษณ์ควรจะเป็น x = 1 และต่อด้วยการดำเนินการใด ๆ การวาง หรือเขียนข้อความที่เป็นเงื่อนไขภายในสัญลักษณ์ condition นั้น จะต้องแทนด้วยประพจน์ที่สามารถระบุค่าความจริงได้ ว่าจริง หรือ เท็จ ตัวอย่าง กำหนดให้ รับค่า x เงื่อนไขภายในสัญลักษณ์ควรจะเป็น x = 1 และต่อด้วยการดำเนินการใด ๆ

ถ้าเงื่อนไขมีมากกว่า 1 เงื่อนไข ควรใช้การเชื่อมประพจน์ คือ “หรือ (or)” “และ (and)” วางระหว่างประพจน์

ตัวอย่างการเชื่อมประพจน์ เงื่อนไขคือ ต้องอายุมากกว่า 18 ปี แต่ไม่เกิน 25 ปี สามารถเขียนเป็น ประพจน์ได้ คือ age > 18 and age < 25 เงื่อนไขคือ คะแนนตั้งแต่ 75 – 80 คะแนน สามารถเขียนเป็นประพจน์ได้ คือ (score > 75 or score = 75) and (score < 80 or score = 80) หรือเขียนได้อีกรูปแบบ คือ score >= 75 and score <= 80

แนะนำบล็อคคำสั่งสำหรับเงื่อนไข เหมาะกับเงื่อนไขเดี่ยวเพียงเงื่อนไขเดียว เหมาะกับเงื่อนไขเดี่ยวหลายๆ เงื่อนไข ที่ต่อเนื่องเป็นชุด เหมาะกับเงื่อนไขแบบสองเงื่อนไข เหมาะกับเงื่อนไขแบบสองเงื่อนไข ที่ต่อเนื่องเป็นชุด

แนะนำเงื่อนไข 1 and 1 จะได้ข้อเท็จจริงเป็น TRUE 1 and 0 จะได้ข้อเท็จจริงเป็น FALSE 0 and 0 จะได้ข้อเท็จจริงเป็น FALSE 1 or 1 จะได้ข้อเท็จจริงเป็น TRUE 1 or 0 จะได้ข้อเท็จจริงเป็น TRUE 0 or 0 จะได้ข้อเท็จจริงเป็น FALSE Not TRUE จะได้ข้อเท็จจริงเป็น FALSE Not FALSE จะได้ข้อเท็จจริงเป็น TRUE

ตัวอย่างโปรแกรม Scratch ที่ 1 สามารถเขียนผังงานได้ ดังนี้ เริ่มต้น รับค่า score score >= 50 “สอบผ่าน” “สอบตก” สิ้นสุด จริง เท็จ

เริ่มต้น รับค่า score score >= 50 “สอบผ่าน” “สอบตก” สิ้นสุด จริง เท็จ

ชมตัวอย่างได้ที่ https://scratch.mit.edu/projects/111056343/

ตัวอย่างโปรแกรม Scratch ที่ 2 คะแนนรวม <50 : เกรด F คะแนนรวม <60 : เกรด D คะแนนรวม <70 : เกรด C คะแนนรวม <80 : เกรด B คะแนนรวม <100 : เกรด A

homework , midterm , final เริ่มต้น homework , midterm , final score = homework + midterm + final score < 50 จริง เท็จ score < 60 “เกรด F” จริง เท็จ score < 70 “เกรด D” จริง เท็จ score < 80 “เกรด C” จริง เท็จ “เกรด B” “เกรด A” สิ้นสุด

homework , midterm , final เริ่มต้น homework , midterm , final score = homework + midterm + final score < 50 จริง เท็จ score < 60 “เกรด F” จริง เท็จ score < 70 “เกรด D” จริง เท็จ score < 80 “เกรด C” จริง เท็จ “เกรด B” “เกรด A” สิ้นสุด

homework , midterm , final เริ่มต้น homework , midterm , final score = homework + midterm + final score < 50 จริง เท็จ score < 60 “เกรด F” จริง เท็จ score < 70 “เกรด D” จริง เท็จ score < 80 “เกรด C” จริง เท็จ “เกรด B” “เกรด A” สิ้นสุด

homework , midterm , final เริ่มต้น homework , midterm , final score = homework + midterm + final score < 50 จริง เท็จ score < 60 “เกรด F” จริง เท็จ score < 70 “เกรด D” จริง เท็จ score < 80 “เกรด C” จริง เท็จ “เกรด B” “เกรด A” สิ้นสุด

homework , midterm , final เริ่มต้น homework , midterm , final score = homework + midterm + final score < 50 จริง เท็จ score < 60 “เกรด F” จริง เท็จ score < 70 “เกรด D” จริง เท็จ score < 80 “เกรด C” จริง เท็จ “เกรด B” “เกรด A” สิ้นสุด

homework , midterm , final เริ่มต้น homework , midterm , final score = homework + midterm + final score < 50 จริง เท็จ score < 60 “เกรด F” จริง เท็จ score < 70 “เกรด D” จริง เท็จ score < 80 “เกรด C” จริง เท็จ “เกรด B” “เกรด A” สิ้นสุด

homework , midterm , final เริ่มต้น homework , midterm , final score = homework + midterm + final score < 50 จริง เท็จ score < 60 “เกรด F” จริง เท็จ score < 70 “เกรด D” จริง เท็จ score < 80 “เกรด C” จริง เท็จ “เกรด B” “เกรด A” สิ้นสุด

homework , midterm , final เริ่มต้น homework , midterm , final score = homework + midterm + final score < 50 จริง เท็จ score < 60 “เกรด F” จริง เท็จ score < 70 “เกรด D” จริง เท็จ score < 80 “เกรด C” จริง เท็จ “เกรด B” “เกรด A” สิ้นสุด

ชมตัวอย่างได้ที่ https://scratch.mit.edu/projects/111057429/

แหล่งอ้างอิง ส่วนบรรยายจาก : http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Decision_Making.htm ดัดแปลงโจทย์ตัวอย่างที่ 2 จาก : https://www.fcwa.org/story_of_water/html/3forms.htm www.scratch.mit.edu