งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 3 Programming By Wathinee duangonnam

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 3 Programming By Wathinee duangonnam"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 3 Programming By Wathinee duangonnam
เขียนโปรแกรม โดยสร้างขั้นตอนการทำงานโปรแกรมแบบเลือกทำ : Decision By Wathinee duangonnam

2 เนื้อหาวันนี้ Algorithm & Programming โดยสร้างขั้นตอนการทำงานโปรแกรมแบบเลือกทำ : Decision if if ..Else if ซ้อน if switch ..case

3 โอเปอร์เรเตอร์ (Operator)
โอเปอร์เรเตอร์ (Operator) คือเครื่องหมายแทนการปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ หรือเปรียบเทียบ ข้างล่างนี้จะแจกแจงตัว Operator ประเภทต่างๆ

4

5 รู้จักกับ ++ ,-- x=x+1 มีความหมายเดียวกับ x++ x=x-1 มีความหมายเดียวกับ x-- เช่น x=5 x++ คือ x= 6 y=10 y -- คือ y=9

6 แสดง การกำหนดค่า

7 แสดงเครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูล

8 แสดงเครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบข้อมูล
ตัวอย่าง ผลลัพธ์ == เท่ากับ 3==10 false != ไม่เท่ากับ 3!=10 true > มากกว่า 3>10 < น้อยกว่า 3<10 >= มากกว่าหรือเท่ากับ 3>=10 <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ 3<=10

9 แสดงตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์

10 แสดงตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์
เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง a=10,b=5 ผลลัพธ์ && AND (a>b)&&(b==10) true || OR (a<b)||(a==10) ! NOT !(a==b)

11 อัลกอริทึม (Algorithms)

12 การเขียนผังงาน : Flowchart

13 สัญลักษณ์ในผังงาน Decision สัญลักษณ์ที่ใช้สำหรับการสร้างเงื่อนไข เพื่อตัดสินใจทางเลือกที่ต้องการ Preparation แทนการทำงานเป็นรอบ (loop)

14 สัญลักษณ์ในผังงาน On-Page Reference เป็นสัญลักษณ์ที่นำมาใช้แทนจุดเชื่อมโยงของแผนภาพ(ผังงาน) ในหน้าเดียวกัน \ off-page Reference เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนการเชื่อมโยงจาก จุดเชื่อมจากหน้าหนึ่งไปยังอีกหน้าหนึ่ง (ในกรณีที่อยู่คนละหน้า)

15 โครงสร้างควบคุม (Control Structure)
การควบคุมโปรแกรมให้ทำงานได้ตามต้องการ เราจำเป็นต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างควบคุมของการเขียนภาษาโปรแกรม ประกอบด้วย ลำดับการทำงาน (Sequence) ทางเลือก,ตัดสินใจ (Decision) การวนซ้ำ (Iteration)

16 โครงสร้างควบคุม (Control Structure)

17 การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision)
คือ การเขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น

18 การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision)
แสดงการตรวจสอบเงื่อนไขให้โปรแกรมเลือกทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งมี 3 กรณี การเลือกแบบ 1 เส้นทาง การเลือกแบบ 2 เส้นทาง การเลือกแบบหลายทางเลือก (N ทางเลือก)

19 รูปแบบการสร้างทางเลือก เพื่อใช้ในการตัดสินใจทำงานอย่างเดียวเท่านั้น
การเลือกแบบ 1 เส้นทาง รูปแบบการสร้างทางเลือก เพื่อใช้ในการตัดสินใจทำงานอย่างเดียวเท่านั้น เท็จ จริง เงื่อนไข คำสั่งเมื่อเป็นจริง

20 ระบบไฟแดง

21 ตัวอย่าง ให้กำหนดค่าตัวเลข 1 จำนวน ถ้าเป็นเลขคู่ให้บวกค่าเพิ่มอีก 1
Start x=3 false true (x%2)==0 x++ Stop

22 Start 22 x=3 ตัวอย่าง ให้กำหนดค่าตัวเลข 1 ค่าถ้าเป็นเลขคู่ ให้แสดงข้อความบอกว่า เป็นจำนวนคู่จากนั้น บวกค่าเพิ่มอีก 1 ค่า no yes (x%2)==0 x “เป็นจำนวนคู่” x++ Stop

23 Start 23 Read x no ตัวอย่าง ให้รับข้อมูลตัวเลข 1 ค่า แล้วแสดงผลตัวเลขนั้นออกทางหน้าจอ แต่ ถ้าตัวเลขไม่ใช่เลขคู่ให้ทำเป็นเลขคู่ก่อน yes (x%2) !=0 x++ Print x Stop

24 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 1
ให้รับค่าข้อมูลคะแนนเต็ม 10 ถ้าคะแนน ให้แสดงข้อมูลว่า “ท่านสอบผ่าน ,Pass”

25 การเลือกแบบ 2 เส้นทาง เมื่อเงื่อนไขเป็น จริง จะทำอย่างหนึ่ง
เมื่อเงื่อนไขเป็น จริง จะทำอย่างหนึ่ง เมื่อเงื่อนไขเป็น เท็จ จะทำอีกอย่างหนึ่ง เท็จ เงื่อนไข จริง คำสั่งเมื่อเป็นเท็จ คำสั่งเมื่อเป็นจริง

26 ให้รับค่าข้อมูลคะแนน (เต็ม 100 ) โดยเกณฑ์ดังนี้ 1-50 แสดงข้อมูล “Fail”
ตัวอย่าง ให้รับค่าข้อมูลคะแนน (เต็ม 100 ) โดยเกณฑ์ดังนี้ 1-50 แสดงข้อมูล “Fail” แสดงข้อมูล “Pass”

27 Start Read A false A>=51 true print “Fail” print “Pass” Stop

28 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 2
ให้กำหนดค่าให้กับตัวแปร ถ้าเป็นเลขคู่ให้ แสดงข้อความ Even number ถ้าเป็นเลขคี่ให้แสดงข้อความ Odd number

29 การเลือกแบบหลาย (n) เส้นทาง
เงื่อนไข 1 จริง คำสั่งเมื่อเป็นจริง เมื่อเงื่อนไขเท่ากับทางใดก็จะเลือกทำเฉพาะทางนั้น เท็จ เงื่อนไข 2 จริง คำสั่งเมื่อเป็นจริง เท็จ จริง เงื่อนไข 3 คำสั่งเมื่อเป็นจริง เท็จ คำสั่งเมื่อเป็นเท็จ คำสั่งถัดไป

30 ตัวอย่าง Start ออกแบบ Flowchart ให้คอมพิวเตอร์รับคะแนนนักศึกษา (X) แล้วนำมาจัดกลุ่มตามเงื่อนไขและแสดงผลทางจอภาพ เงื่อนไข คะแนน กลุ่ม G คะแนน กลุ่ม P คะแนนต่ำกว่า 50 กลุ่ม F Read X X>=80 Yes group = ‘G’ No X>=50 Yes group = ‘P’ No group = ‘F’ group Stop

31 ตัวอย่าง Start ออกแบบ Flowchart ให้คอมพิวเตอร์รับคะแนนนักศึกษา (X) แล้วนำมาจัดกลุ่มตามเงื่อนไขและแสดงผลทางจอภาพ เงื่อนไข คะแนน กลุ่ม G คะแนน กลุ่ม P คะแนนต่ำกว่า 50 กลุ่ม F Read X X> 79 Yes group = ‘G’ No X > 4 9 Yes group = ‘P’ No group = ‘F’ group Stop

32 ตัวอย่าง Start ออกแบบ Flowchart ให้คอมพิวเตอร์รับคะแนนนักศึกษา (X) แล้วนำมาจัดกลุ่มตามเงื่อนไขและแสดงผลทางจอภาพ เงื่อนไข คะแนน กลุ่ม G คะแนน กลุ่ม P คะแนนต่ำกว่า 50 กลุ่ม F Read X X<50 Yes group = ‘F’ No X< 80 Yes group = ‘P’ No group = ‘G’ group Stop

33 ตัวอย่าง Start ออกแบบ Flowchart ให้คอมพิวเตอร์รับคะแนนนักศึกษา (X) แล้วนำมาจัดกลุ่มตามเงื่อนไขและแสดงผลทางจอภาพ เงื่อนไข คะแนน กลุ่ม G คะแนน กลุ่ม P คะแนนต่ำกว่า 50 กลุ่ม F Read X X<=49 Yes group = ‘F’ No X<=79 Yes group = ‘P’ No group = ‘G’ group Stop

34 ตัวอย่าง ออกแบบ Flowchart ให้รับค่าคะแนนนักศึกษา (X)
Start ตัวอย่าง Read X Yes X > =80 ออกแบบ Flowchart ให้รับค่าคะแนนนักศึกษา (X) แล้วนำมาตัดเกรดตามเงื่อนไขและแสดงผลเกรดทางจอภาพ เงื่อนไข คะแนน เกรด A คะแนน เกรด B คะแนน เกรด C คะแนน เกรด D คะแนนต่ำกว่า 50 เกรด F grade =‘A’ No X >=70 Yes grade =‘B’ No Yes X > =60 grade =‘C’ No Yes X > =50 grade =‘D’ No grade =‘F’ grade Start

35 ตัวอย่าง ออกแบบ Flowchart ให้รับค่าคะแนนนักศึกษา (X)
Start ตัวอย่าง Read X Yes X > 79 ออกแบบ Flowchart ให้รับค่าคะแนนนักศึกษา (X) แล้วนำมาตัดเกรดตามเงื่อนไขและแสดงผลเกรดทางจอภาพ เงื่อนไข คะแนน เกรด A คะแนน เกรด B คะแนน เกรด C คะแนน เกรด D คะแนนต่ำกว่า 50 เกรด F grade =‘A’ No X > 69 Yes grade =‘B’ No Yes X > 59 grade =‘C’ No Yes X > 49 grade =‘D’ No grade =‘F’ grade Start

36 ตัวอย่าง ออกแบบ Flowchart ให้รับค่าคะแนนนักศึกษา (X)
Start ตัวอย่าง Read X Yes X < =49 ออกแบบ Flowchart ให้รับค่าคะแนนนักศึกษา (X) แล้วนำมาตัดเกรดตามเงื่อนไขและแสดงผลเกรดทางจอภาพ เงื่อนไข คะแนน เกรด A คะแนน เกรด B คะแนน เกรด C คะแนน เกรด D คะแนนต่ำกว่า 50 เกรด F grade =‘F’ No X <=59 Yes grade =‘D’ No Yes X <=69 grade =‘C’ No Yes X <= 79 grade =‘B’ No grade =‘A’ grade Start

37 การเขียนโปรแกรม Decision

38 ผลที่ได้จะเป็น true หรือ false
การเลือกแบบ 1 เส้นทาง คำสั่ง If ใช้สำหรับการตัดสินใจ โดยถ้าเป็นจริงจะทำตามคำสั่งต่างๆ ที่กำหนดไว้ภายใต้เงื่อนไข ซึ่งเงื่อนไขจะอยู่ภายในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) ถ้าเป็นจริงแล้วจะไปทำงานคำสั่งที่อยู่ภายในเครื่องหมายปีกกา { } ผลที่ได้จะเป็น true หรือ false if (เงื่อนไข) { ประโยคคำสั่งเมื่อเงื่อนไขเป็นจริง; } ถ้ามีคำสั่งเพียงบรรทัดเดียวไม่จำเป็นต้องใส่ปีกกา { } ก็ได้ แต่ถ้ามีมากกว่า 1 บรรทัดต้องใส่ปีกกาด้วย

39 โจทย์ ให้กำหนดค่าคะแนน(เต็ม 10 คะแนน)โดยถ้า คะแนนมากกว่า 5 ให้แสดงข้อมูล Pass

40 ตัวอย่างโปรแกรม แบบกำหนดค่า (ง่าย)
กรณี น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ในโปรแกรมไม่ได้ให้แสดงข้อมูลอะไร

41 ให้กำหนดค่าตัวเลข 1 ค่า แล้วแสดงผล
โจทย์ ให้กำหนดค่าตัวเลข 1 ค่า แล้วแสดงผล โดยถ้าตัวเลขไม่ใช่เลขคู่ให้บวกเพิ่มอีก 1 ค่า

42 ตัวอย่างโปรแกรม

43 โจทย์ กรณีรับข้อมูลทาง keyboard ( 1 เงื่อนไข)
ให้รับค่าข้อมูลคะแนนเต็ม 10 ถ้าคะแนนมากกว่า 5 คะแนนให้แสดงข้อมูลว่า “ท่านสอบผ่าน”

44 ตัวอย่างโปรแกรมรับค่าข้อมูลตัวเลข ทาง keyboard

45 ให้รับข้อมูลตัวเลข 1 ค่าแล้วแสดงผล
โจทย์ ให้รับข้อมูลตัวเลข 1 ค่าแล้วแสดงผล โดยถ้าตัวเลขไม่ใช่เลขคู่ให้บวกเพิ่มอีก 1 ค่า

46 ตัวอย่างโปรแกรม

47 ผลของโปรแกรมในกรณี ต่าง ๆ

48 คำสั่งต่างๆ เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง ; } else {
การเลือกแบบ 2 เส้นทาง คำสั่ง If...else เป็นคำสั่งที่มี 2 เงื่อนไข ถ้าเงื่อนไขใน If เป็นจริงก็จะเข้าไปทำงานคำสั่งภายใน If แต่ถ้าเงื่อนไขเป็นเท็จจะไปทำงานคำสั่งภายใน else รูปแบบเป็นดังนี้ if (เงื่อนไข) { คำสั่งต่างๆ เมื่อเงื่อนไขเป็นจริง ; } else { คำสั่งต่างๆ เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ ; }

49 ให้รับค่าข้อมูลคะแนนเต็ม 10
โจทย์ ให้รับค่าข้อมูลคะแนนเต็ม 10 ถ้าคะแนน ให้แสดงข้อมูลว่า “ท่านสอบผ่าน ,Pass” ถ้าคะแนน 1 – 5 ให้แสดงข้อมูล “ท่านสอบตก, Fail”

50 ตัวอย่างโปรแกรม

51 ผลของโปรแกรมในกรณี ต่าง ๆ

52 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 11
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 11 ให้กำหนดค่าตัวเลข 2 ตัว โดยนำตัวแปร 2 ค่ามาเรียง มาก  น้อย

53 การเลือกแบบ N เส้นทาง คำสั่ง if แบบซ้อน(Nested IF) เป็นคำสั่งที่มีเงื่อนไขเพื่อการตัดสินใจมากกว่า 2 เงื่อนไขขึ้นไป หรือกล่าวโดยสรุป คือ การใช้คำสั่ง if ซ้อน if if (เงื่อนไขที่ 1) { คำสั่งต่างๆ เมื่อเงื่อนไขที่ 1 เป็นจริง ; } else if (เงื่อนไขที่ 2) { คำสั่งต่างๆ เมื่อเงื่อนไขที่ 2 เป็นจริง ; } else if (เงื่อนไขที่ 3) { คำสั่งต่างๆ เมื่อเงื่อนไขที่ 3 เป็นจริง ; } else { คำสั่งต่างๆ เมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ ; }

54 ให้รับค่าข้อมูลคะแนนเต็ม 10
โจทย์ ให้รับค่าข้อมูลคะแนนเต็ม 10 ถ้าคะแนน ให้แสดงข้อมูลว่า “ท่านสอบผ่าน ,Pass” ถ้าคะแนน 1 – 5 ให้แสดงข้อมูล “ท่านสอบตก, Fail” แต่ถ้าระบุข้อมูลมากกว่า 10 ให้แสดงข้อมูล “รับค่าคะแนน เท่านั้น ,Error ”

55 ตัวอย่างโปรแกรม

56 ผลของโปรแกรมกรณี ต่างๆ

57 โจทย์ ให้เขียนโปรแกรมคำนวณเกรด โดยรับคะแนนทาง keyboard จากนั้นแสดงผลเกรดที่ได้โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 0-49 ได้เกรด F 50-59 ได้เกรด D ได้เกรด C ได้เกรด B ได้เกรด A

58 ตัวอย่างโปรแกรม

59 ผลของโปรแกรมในกรณีต่าง ๆ
ผลของโปรแกรมในกรณีต่าง ๆ

60 โจทย์สำหรับนักศึกษา

61 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 1
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 1 ให้รับค่าตัวเลข 2 จำนวน จากนั้นแสดงเมนูเพื่อให้ผู้ใช้เลือกดำเนินการกับตัวเลข ดังนี้ กด 1 เพื่อหาผลรวมตัวเลข กด 2 เพื่อหาผลคูณตัวเลข กด 3 เพื่อหาค่าเฉลี่ย นอกเหนือจากนี้ให้แสดงข้อความ “ให้เลือก 1,2,3 เท่านั้นกรุณาป้อนข้อมูลใหม่”

62 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 2
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 2 ให้ระบุอักขระ a A (5 อักขระ) ถ้า ระบุตัวเลขให้แสดงข้อมูลว่า “The character is a digit ” ถ้า ระบุ ตัว a ให้แสดงข้อมูลว่า “The character is a lowercase letter” ถ้า ระบุ ตัว A ให้แสดงข้อมูลว่า “The character is a uppercase letter” กรณีอื่น ๆ ให้แสดงข้อมูลว่า “Error ,Please input a A ”

63 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 3
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 3 ให้แสดงข้อมูลสภาพอากาศของช่วงเดือน โดยให้ระบุข้อมูลเดือน คือเลข 1-12 เดือน 1,2,3 แสดงข้อความ ร้อนปานกลาง เดือน 4,5, “” ร้อนมาก เดือน 7,8, “” ฝนตก ชุกถึงชุกมาก เดือน 10 ,11,12 “” ร้อนเล็กน้อย นอกเหนือจากนี้ให้แสดงข้อความ เกิดข้อผิดพลาด กรุณาระบุ 1-12 เท่านั้น รูปแบบแสดงข้อความดังนี้ เดือน …….. มีอากาศแบบ ……….

64 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 4
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 4 ให้เขียนโปรแกรมเพื่อทำข้อสอบ 1 ข้อ ดังนี้           2*5+25/5-5 = ?                1.  5                                                4.  20                5.  25          ให้เลือกตัวเลือก 1 – 5 โดย            - ถ้าเลือกข้อ 2 ให้แสดงข้อความว่า “Right”                - ถ้าเลือกข้อ 1 ,3,4,5 ให้แสดงข้อความว่า “Wrong”                - ถ้าไม่เลือกข้อ ให้แสดงข้อความว่า “Error”

65 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 5
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 5 ให้เขียนโปรแกรมโดยใช้คำสั่ง switch.. case ให้ระบุ A,B,C,D หรือ F กรณี มีค่าเท่ากับ A ให้แสดงข้อความ Excellent กรณี มีค่าเท่ากับ Bให้แสดงข้อความ Good กรณี มีค่าเท่ากับ C ให้แสดงข้อความ OK กรณี มีค่าเท่ากับ D ให้แสดงข้อความ Improved กรณี มีค่าเท่ากับ F ให้แสดงข้อความ You must do better than this ถ้าตัวแปรไม่ตรงกับกรณีใดเลยให้ แสดงข้อความ What is your grade

66 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 6
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 6 โปรแกรมคำนวณเกรด โดยรับคะแนนทาง keyboard โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 0-49 ได้เกรด F 50-59 ได้เกรด D ได้เกรด C ได้เกรด B ได้เกรด A ถ้านอกเหนือจากนั้นให้แสดงข้อความว่า “คะแนนจะต้องอยู่ระหว่าง ”

67 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 7
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 7 ให้ระบุ A,B,C,D หรือ F กรณี มีค่าเท่ากับ A ให้แสดงข้อความ Excellent กรณี มีค่าเท่ากับ Bให้แสดงข้อความ Good กรณี มีค่าเท่ากับ C ให้แสดงข้อความ OK กรณี มีค่าเท่ากับ D ให้แสดงข้อความ Improved กรณี มีค่าเท่ากับ F ให้แสดงข้อความ You must do better than this ถ้าตัวแปรไม่ตรงกับกรณีใดเลยให้ แสดงข้อความ What is your grade

68 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 8
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 8 รับค่าตัวเลข 3 ค่า โดยนำตัวเลขมาเรียง มาก  น้อย ยกตัวอย่างแนวคิด(มี 6 กรณี) n1>n2 and n1<n ผล n3 n1 n2 n2>n1 and n2<n ผล n3 n2 n1 n1>n3 and n1<n ผล n2 n1 n3 n3>n1 and n3<n2 ผล n2 n3 n1 n2>n3 and n2<n ผล n1 n2 n3 n3>n2 and n3<n ผล n1 n3 n2

69 คำสั่ง switch..case เป็นคำสั่งคล้ายกับคำสั่ง if แบบซ้อน เนื่องจากมีหลายทางเลือกให้ดำเนินการ แต่ switch..case จะมีข้อดีกว่าคำสั่ง if แบบซ้อน เพราะซับซ้อนน้อยกว่า

70 รูปแบบ คำสั่ง switch..case
switch (ตัวแปร) { case ค่าที่ 1 : คำสั่งกรณีที่ 1; break; case ค่าที่ 2 : คำสั่งกรณีที่ 2; …….. case ค่าที่ n : คำสั่งกรณีที่ n; default : คำสั่งเมื่อไม่มีค่าที่ตรงกับที่ระบุใน case ; }

71 คำอธิบาย จากรูปแบบของคำสั่งโปรแกรมจะตรวจสอบจากตัวแปรที่คำสั่ง switch (ตัวแปรในวงเล็บ)ว่ามีค่าเป็นเท่าไรแล้วนำมาตรวจสอบกับคำสั่ง case ถ้าตรงกับค่าของ case ใดก็จะทำงานตาม คำสั่งใน case นั้น เมื่อทำงานเสร็จ จะพบคำสั่ง break มีผลทำให้ออกไปจากคำสั่ง switch ทันที ในกรณีที่ไม่มีค่าใดตรงกับ case ที่ระบุโปรแกรม จะมาทำงานที่คำสั่ง default โดยอัตโนมัติ

72 ข้อกำหนดในการใช้คำสั่ง switch
1. ตัวแปรที่ใช้ในการตรวจสอบ จะต้องมีชนิดเป็นตัวเลขอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ char,byte,short หรือ int และต้องอยู่ภายในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) เท่านั้น 2. ชนิดของตัวเลขที่ใช้ในการตรวจสอบในคำสั่ง case จะต้องเป็นชนิดเดียวกันทั้งหมด 3. อาจไม่ใส่คำสั่ง break ไว้ก็ได้ แต่ถ้าไม่ใส่ จะทำให้โปรแกรมต้องตรวจสอบทุกๆเงื่อนไขจนกว่าจะหมด ซึ่งอาจทำให้เสียเวลาได้ ถ้าเงื่อนไขมีมากและซับซ้อน 4. คำสั่ง default อาจใส่หรือไม่ก็ได้ ถ้าใส่ก็นิยมใส่ไว้ที่บรรทัดสุดท้ายของการตรวจสอบ

73 ตัวอย่าง ให้เขียนโปรแกรมเพื่อทำข้อสอบ 1 ข้อ ดังนี้           2*5+25/5-5 = ?                1.  5                                                4.  20                5.  25          ให้เลือกตัวเลือก 1 – 5 โดย            - ถ้าเลือกข้อ 2 ให้แสดงข้อความว่า “Right”                - ถ้าเลือกข้อ 1 ,3,4,5 ให้แสดงข้อความว่า “Wrong”                - ถ้าไม่เลือกข้อ ให้แสดงข้อความว่า “Error”

74 เขียนคำสั่งเงื่อนไขที่นี้
ตัวอย่าง โปรแกรม :แสดงข้อมูล โจทย์ทางคณิตศาสตร์และนำตัวเลือกมาเก็บในตัวแปร x เขียนคำสั่งเงื่อนไขที่นี้

75 นำ x มาเลือกกรณี(case)

76 ตัวอย่างโปรแกรม (สมบูรณ์)

77 ผลกรณีต่าง ๆ

78 โจทย์ กรณีรับข้อมูลเป็น อักขระ
ให้เขียนโปรแกรมโดยใช้คำสั่ง switch.. case ให้ระบุ A,B,C,D หรือ F กรณี มีค่าเท่ากับ A ให้แสดงข้อความ Excellent กรณี มีค่าเท่ากับ Bให้แสดงข้อความ Good กรณี มีค่าเท่ากับ C ให้แสดงข้อความ OK กรณี มีค่าเท่ากับ D ให้แสดงข้อความ Improved กรณี มีค่าเท่ากับ F ให้แสดงข้อความ You must do better than this ถ้าตัวแปรไม่ตรงกับกรณีใดเลยให้ แสดงข้อความ What is your grade

79 ตัวอย่างโปรแกรม

80 แสดงผล กรณีต่าง ๆ

81 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 9
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 9 ให้รับค่าตัวเลข 2 จำนวน จากนั้นแสดงเมนูเพื่อให้ผู้ใช้เลือกดำเนินการกับตัวเลข ดังนี้ กด 1 เพื่อหาผลรวมตัวเลข กด 2 เพื่อหาผลคูณตัวเลข กด 3 เพื่อหาค่าเฉลี่ย นอกเหนือจากนี้ให้แสดงข้อความ “ให้เลือก 1,2,3 เท่านั้นกรุณาป้อนข้อมูลใหม่”

82 โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 10
โจทย์สำหรับนักศึกษา โจทย์ 10 ให้ระบุอักขระ a A (5 อักขระ) ถ้า ระบุตัวเลขให้แสดงข้อมูลว่า “The character is a digit ” ถ้า ระบุ ตัว a ให้แสดงข้อมูลว่า “The character is a lowercase letter” ถ้า ระบุ ตัว A ให้แสดงข้อมูลว่า “The character is a uppercase letter” กรณีอื่น ๆ ให้แสดงข้อมูลว่า “Error ,Please input a A ”

83 การเขียนผังงาน : Flowchart


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 3 Programming By Wathinee duangonnam

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google