มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม อุปสรรคต่อการส่งออกของไทย ? ทิศทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีของโลก ปัญหาของไทย และสิ่งที่ต้องเตรียมความพร้อม ประเด็นอี่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาการระหว่างโลกาภิวัตน์ 2 ระบอบ Environmental Globalization 1970s Stockholm Conference (1972) 1980s Sustainable Development (1987) 1990s Earth Summit (1992) 2000s Rio+ 10 (2002) Rio+ 20 (2012) Post-2020 CC Regime Economic Globalization (Neo-Liberalism) ทดลองใช้ในชิลี ใช้ใน UK, US, LA , AF ฉันทมติวอชิงตัน (1989) WTO (1995) FTA (2004) Economic Globalization
โลกาภิวัตน์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจ โลกาภิวัตน์ด้านเศรษฐกิจ (Washington Consensus 1989 + WTO / FTA Agreements) 2 Globalization Interaction เพิ่มบทบาทของรัฐในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เพิ่มกฎเกณฑ์กำกับดูแลการค้า การลงทุนข้ามประเทศ ยอมรับสิทธิของชุมชนท้องถิ่น ชนพื้นเมือง โลกาภิวัตน์สิ่งแวดล้อม (Rio Principles + MEAs) ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจ เน้นเสรีภาพของปัจเจกบุคคล ลดบทบาทของรัฐ ลด/เลิกกฎเกณฑ์ที่เป็นอุปสรรคต่อการค้า เน้นระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของปัจเจกบุคคล
เส้นทาง Rio+20 และ 2 กระแสคลื่นของ Green Economy 1992 2012 1972 1987 1989 UNCED Pearce et al AGENDA 21 (40 Chapters) Rio Declaration (27 Principles) UNCSD 1995 2008 2009 2002 Rio+10 ข้อวิพากย์ Neo-liberalism 2007 2011 Food Crisis Financial Crisis Energy Crisis Barbier Club of Rome Williamson Shumacher R.Carson 1973 Stockholm Summit 1962
Green Economy, 2010 UNEP : “เศรษฐกิจที่นำไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นธรรมทางสังคม ในขณะที่ลดความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและความขาดแคลนเชิงนิเวศ” (improved human well-being and social equity, while significantly reducing environmental risks and ecological scarcities)
Green Economy Indicators & Status (a) High share of renewable energy in the energy matrix; (b) Low carbon-intensity of the economy; (c) High productivity and high energy-efficiency; (d) Low water intensity of the economy; and (e) Operate within biocapacity limits. Ref.: UNCTAD, 2010. The Green Economy: Trade and Sustainable Development Implications
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) : การพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวทางขององค์การสหประชาชาติ 18/01/62
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน : SDGs การประชุมสหประชาชาติระดับผู้นำเพื่อรับรอง วาระการพัฒนาภายหลังปี ค.ศ. 2015 เมื่อ 25-27 ก.ย. 2558 ณ สหประชาชาติ นครนิวยอร์ก รับรองเอกสารว่าด้วยการปฏิรูปโลกของพวกเรา: วาระแห่งปี ค.ศ. 2030 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน “Transforming Our World: The 2030 Agenda for Sustainable Development” สานต่อภารกิจที่ยังไม่บรรลุผลสำเร็จภายใต้เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (MDGs) พันธะสัญญาทางการเมืองในระดับผู้นำเพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลกในอีก 15 ปีข้างหน้า ยืนยันเจตนารมณ์ทางการเมืองของประเทศสมาชิกในการแก้ไขปัญหาความยากจนและขจัดความเหลื่อมล้ำในทุกมิติและรูปแบบ และบรรลุวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน กำหนด 17 เป้าหมาย และ 169 เป้าประสงค์ ครอบคลุมด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) 18/01/62 www.nesdb.go.th
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) 18/01/62 www.nesdb.go.th
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals) 18/01/62 www.nesdb.go.th
12
ภาพรวม กลไกการดำเนินงาน 18/01/62 www.nesdb.go.th
ความตกลงปารีส (Paris Agreement)
เจตจำนงการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย ก่อนปี ค.ศ. 2020 หลังปี ค.ศ. 2020 ข้อเสนอการมีส่วนร่วมของประเทศไทยในการลดก๊าซเรือนกระจก (INDCs) การดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศ (NAMAs) ประเทศไทยจะลดก๊าซเรือนกระจกที่7-20% จาก BAU ณ ปี 2020 ประเทศไทยกำหนดเป้าหมายจะลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่ 20-25% จาก BAU ภายในปี 2030 ขอบเขตการดำเนินงาน พลังงานทดแทน ,เพิ่มประสิทธิภาพ พลังงาน พลังงานชีวมวล การขนส่ง ขอบเขตการดำเนินงาน ทุกภาคเศรษฐกิจ อยู่ระหว่างการเตรียมการศึกษาศักยภาพใน การ ลดก๊าซเรือนกระจกในภาคเกษตรและป่าไม้
การทบทวนของผู้เชี่ยวชาญ ทางเทคนิค (ม.13.11) ภาพรวมความเชื่อมโยง กลไกต่างๆ ของความตกลงปารีส หัวข้อหลัก เนื้อหาความตกลงปารีสกับการดำเนินงานของประเทศไทย การลดก๊าซ กำหนด NDCs (ม.3 , ม. 4-2) ทบทวน และส่ง NDCs ทุก 5 ปี เริ่ม 2020 (ม.4-3) กำหนดมาตรการภายในประเทศ (ม.4-2) กำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาแบบคาร์บอนต่ำ (ม. 4-19) การปรับตัว จัดทำ National Adaptation Plan และนำไปปฏิบัติ ม. 7-9) ส่งรายงานความก้าวหน้าเป็นระยะ (ม. 7-10) กลไกการดำเนินงาน การเสริมสร้างศักยภาพทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับท้องถิ่น (ม. 11-2) ความโปร่งใส (ม .13-4) 1. รายงานแห่งชาติ 2. รายงานราย 2 ปี 3. รายงานความก้าวหน้าราย 2 ปี การทบทวนสถานการณ์-การดำเนินงานระดับโลก (ม. 14) 1. การลดก๊าซ 2. การปรับตัว 3. การเงิน 4. การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี ผลรวมของการดำเนิน งานทั้งหมด เริ่มปี 2023 ทำทุก 5 ปี 16
การดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย INDC ของไทย Power (Energy) Cleaner, higher efficiency New Technology/New power plants Renewable energy Waste to energy CCS Smart grid Waste Waste reduction 1kg/cap/day Recycling RDF Methane recovery from industrial waste water Industrial (Energy) Efficient/Advance boilers, kilns, furnaces, motors Kilns with CHP Higher efficiency/Advance lighting Higher efficiency/Advance cooling Transport Mode shift “road to rail” Vehicle efficiency improvement Biofuel Thailand INDC Industrial Product and Process Use (IPPU) Clinker substitution (Pozzolans) Catalytic cracking technologies Take-back waste electronic and electrical equipment Natural refrigerants Residential (Energy) Efficient lighting (LED, T5) Efficient REF (COP5, COP8), Efficient LPG stove Efficient water heater Solar water heater Biogas digester Commercial (Energy) Efficient lighting Efficient AC (COP5, COP8) Efficient equipment/devices Efficient heaters
Thailand’s Economy-wide GHG Emissions Ambitious Target of 20% in 2030 INDC ของประเทศไทย Thailand’s Economy-wide GHG Emissions Ambitious Target of 20% in 2030 สาขาที่เป็นเป้าหมายสำคัญ พลังงาน ขนส่ง การจัดการของเสีย กระบวนการผลิตในทางอุตสาหกรรม 20% อยู่ระหว่างการเตรียมการศึกษาศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจกในภาคเกษตรและป่าไม้
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ร่างยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี รัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 ข้อเสนอการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาฯ ที่ 12 ความตกลงปารีส