กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
ปีงบประมาณ 2561 พระราชดำรัส
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา ภ.ก.สมชาย ละอองพันธุ์ 086-6940954

TOT FTTX 0824282257

สัดส่วนร้อยละการเบิกเงินผ่านกองทุนสุขภาพตำบล(ออกใบเบิกเงินแล้ว) ณ 30 ก สัดส่วนร้อยละการเบิกเงินผ่านกองทุนสุขภาพตำบล(ออกใบเบิกเงินแล้ว) ณ 30 ก.ย.60

การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายผ่านกองทุนสุขภาพตำบลเป็นฐาน Health care PCC ขับเคลื่อนพอประมาณ DHB มีพื้นที่ดำเนินการ 23 อำเภอ นโยบายขับเคลื่อนทุกแห่ง LTC ปี 59 :101 แห่ง 1913 คน ปี 60 :115 แห่ง เพิ่ม 3696 คน Health promotion Health policy บรูณาการด้านอาหารใน ศพด.-ท้องถิ่น จ.สงขลา 100 แห่ง ต้นแบบธรรมนูญสุขภาพ 3 แห่ง โครงการต้านยาเสพติด ญาลันนันบารู ขับเคลื่อนตั้งคณะทำงานและร่างธรรมนูญ 33 แห่ง 14 แห่ง PA ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ บูรณาการด้านอาหาร 5 อำเภอ 57 แห่ง 50 แห่ง ธรรมนูญสุขภาพผ่านงานกองทุนฯ

12 กองทุนสุขภาพตำบลที่เงินคงเหลือสะสมมากที่สุดใน เขต 12 สงขลา จำนวนเงิน 1.เทศบาลนครหาดใหญ่ 41.1 ล้านบาท 7.เทศบาลเมืองสุไหง-โกลก 7.9 ล้านบาท 2.เทศบาลนครยะลา 22. 04 ล้านบาท 8.เทศบาลเมืองบ้านพรุ 5.4 ล้านบาท 3.เทศบาลนครตรัง 14.6 ล้านบาท 9.เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา 4.7 ล้านบาท 4.เทศบาลเมืองคลองแห 10.9 ล้านบาท 10.เทศบาลเมืองเขารูปช้าง 3.4 ล้านบาท 5.เทศบาลเมืองคอหงส์ 10.1 ล้านบาท 11.เทศบาลเมืองเบตง 6.เทศบาลเมืองปัตตานี 9.5 ล้านบาท 12. เทศบาลเมืองสตูล 3.2 ล้านบาท อปท.ขนาดใหญ่ ที่มีเงินคงเหลือสะสม 136 ล้านบาท หรือ คิดเป็น 30 % ของเงินคงเหลือทั้งหมด มาตรการแก้ไข 1) การจัดปฏิบัติการทำแผนและโครงการเชิงรุก 2) การนิเทศติดตามในภาพรวมเขต

ตัวชี้วัดการดำเนินงานของกองทุนฯที่เข้มแข็ง มีแผนการจัดการระบบสุขภาพและปัญหาสุขภาพที่ สำคัญของชุมชน มีโครงการที่มีคุณภาพดี และสามารถลดปัญหา สุขภาพได้ชัดเจน มีระบบติดตามประเมินผล 17/01/2019

ข้อเสนอการบริหารกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา ปี 2561 กองทุนสุขภาพตำบลต้องแสดงความจำนงร่วมป้อนข้อมูล ปชก.กลางปี (1 ก.ค.60)เพื่อประกอบการจัดสรร ต้องทำแผนสุขภาพชุมชน 9 ประเด็นปัญหาสุขภาพและป้อนข้อมูลใน ระบบเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลภาคใต้ (www.localfund.happynetwork.org) ป้อนชุดโครงการบริหารจัดการ 15 % (ออกแบบกิจกรรมประชุม คณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน กิจกรรมจัดซื้อครุภัณฑ์ กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกองทุนฯ เป็นต้น) เพื่อดำเนินการบริหารฯ สปสช.เขต 12 ส่งให้โอนเงินเป็นรายงวด เดือนละ 1 ครั้ง(ต.ค.-ธ.ค.) ทุกๆ วันที่ 10 ของเดือน ชะลอการโอน กรณี กองทุนสุขภาพตำบลที่ไม่ใช้เงินทำโครงการปี 2560 (ทำโครงการน้อยกว่าร้อยละ 10 ของงบปี 60) และต้องผ่านการประชุม เพื่อทบทวนเรื่อง MOU และแนวทางการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพ ตำบลร่วมกันระหว่าง สปสช.-นายก อปท.และเลขานุการกองทุนฯ (เป็นไปตามเงื่อนไขข้อ 3 ตามแนวทาง) ยุบเลิก กองทุนสุขภาพตำบลไม่สมทบ 2 ปีติดต่อกันและไม่ทำโครงการ 2 ปี ติดกันและให้คืนเงินเข้าสู่หน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่

ขั้นตอนที่ 2 การปรับเกลี่ยประชากรของกองทุนสุขภาพตำบลใน เขต 12 สงขลา(ณ วันที่ 28 ก.ย.60 1.อปท.สมัครเข้าร่วม 617 กองทุน 2.ภาพรวมประชากรทุกสิทธิ์ ที่อปท.แจ้ง เกิน จำนวนที่สปสช.ดึง 3.จ.สงขลา และ ยะลา จัดสรรเท่ากับ จำนวน ปชก.ที่ อปท.แจ้ง x 45 บาท 4.นำเงินที่เกินจาก 2 จังหวัดมาปรับเกลี่ยให้ 5 จังหวัด

สถานการณ์โอนเงินแก่ อปท. เขต 12 สงขลา ปี 2561 สถานการณ์โอนเงินแก่ อปท. เขต 12 สงขลา ปี 2561 584 แห่ง(94.5%) 33 แห่ง(5.3%) 1 แห่ง(0.17%) รอโอน ผ่านทบทวน MOU ยกเลิกกองทุน โอนปกติ รอบ 1

ตารางแสดงการโอนเงินกองทุนตำบล เขต 12 สงขลา ปี 2561 จังหวัด กองทุนทั้งหมด โอนรอบแรก คิดเป็นร้อยละ รอโอน ตรัง 99 93 93.9 6 พัทลุง 73 71 97.3 2 สงขลา 140 128 91.4 11/1* สตูล 41 39 95.1 ปัตตานี 113 111 98.2 ยะลา 63 57 90.5 นราธิวาส 88 85 96.6 3   617 584 94.7 33 * ยกเลิก 1 แห่ง คือ อบต.คลองเปียะ

แนวทางการทำงานกองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 ปี 61 ป้อนชุดโครงการบริหาร 15% จำนวน 1 โครงการ กรอกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชน ประชุมทุกเดือน ต.ค.-ธ.ค. พีเลี้ยงประจำกองทุน ลงประชุมร่วมคณะกรรมการ จัดพัฒนาศักยภาพ กรรมการ การทำแผน/เขียนโครงการ การประเมินผลดำเนินงาน ปี 60 ป้อนโครงการ ประเภท 7(1),(2),(3),(5) กองทุน ฯ ติดตามการทำกิจกรรม ทำแผนสุขภาพชุมชน 62 ระยะ 3-5 ปี เม.ย.-มิ.ย. ก.ย. *** ออก TOR-โอนเงินจากระบบเว็บไซต์ ม.ค.- มี.ค. พ.ย.60-ม.ค.61 พี่เลี้ยง พบกองทุนครั้งที่ 1 มิ.ย.-ส.ค. พี่เลี้ยง พบกองทุนครั้งที่ 2 เป้าหมาย เงินกองทุนสุขภาพตำบล สามารถโอนสนับสนุนผู้รับทุน >ร้อยละ 60 เงินทั้งหมด เงินกองทุนสุขภาพตำบล สามารถโอนสนับสนุนผู้รับทุน >ร้อยละ 90 เงินทั้งหมด

แนวทางการพัฒนากองทุนสุขภาพตำบล เขต 12 สงขลา ปี 2561 กองทุนทั่วไปโครงการงานได้ 583 แห่ง กองทุนสุขภาพตำบลเงินสะสม 12 แห่ง กองทุนสุขภาพตำบลนำร่อง PA,ปัจจัยเสี่ยง และบูรณการด้านอาหาร 50 แห่ง กองทุนสุขภาพตำบล 33 แห่ง จัดทำแผนสุขภาพชุมชน จัดทำแผนสุขภาพชุมชน จัดทำแผนสุขภาพชุมชน-โดยพี่เลี้ยง 1-2 ครั้ง เขต 12 สงขลา ติดตามและนิเทศการจัดทำโครงการ กองทุนละ 1 ครั้ง พัฒนาโครงการ-โดยพี่เลี้ยง จำนวน 2-3 ครั้ง ติดตาม ประเมินผล ถอดบทเรียน-โดยพี่เลี้ยง 2-3 ครั้ง พี่เลี้ยงลงสนับสนุนกองทุน จำนวน 2 ครั้ง พี่เลี้ยงลงสนับสนุนกองทุน จำนวน 2 ครั้ง เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้

Model การทำงานพี่เลี้ยง(coaching team) เขต 12 พี่เลี้ยงทั่วไป พี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยง PA สนับสนุนพื้นที่ ครั้งที่ 1: พ.ย.-ม.ค. ปรับแผนสุขภาพชุมชน พัฒนาโครงการ ประเมินผลกองทุน จังหวัด อำเภอ จำนวนกองทุน (แห่ง) สงขลา จะนะ 15 สตูล ละงู 7 ยะลา เมือง นราธิวาส ปัตตานี หนองจิก 13 พัทลุง ตรัง 57 พี่เลี้ยง-คณะกรรมการกองทุน-เครือข่าย ร่วมจัดทำแผนสุขภาพกองทุนในพื้นที่ 1-2 ครั้ง พี่เลี้ยง-คณะกรรมการกองทุน-ผู้รับทุน ร่วมพัฒนาโครงการอย่างน้อย 1 โครงการ/แผนงาน นำเสนอโครงการเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง PA และบูรณาการอาหารแก่คณะกรรมการฯ สนับสนุนพื้นที่ ครั้งที่ 2 : พ.ค.-ก.ค. ติดตามการสนับสนุนโครงการและถอดบทเรียนการทำงานกองทุน ถอดบทเรียนผลการทำโครงการ (เวทีกลาง)

การพัฒนาระบบพี่เลี้ยงประจำกองทุนสุขภาพตำบลเขต 12 สงขลา พี่เลี้ยงลงให้คำปรึกษา ปรับแผน โครงการ พัฒนศักยภาพพี่เลี้ยงประจำกองทุน TOR พี่เลี้ยงรายจังหวัด

เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ดำเนินงานที่สำคัญ พัฒนาเป็นแผนงานกองทุนระดับเขต Mapping and Scoping เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ดำเนินงานที่สำคัญ พัฒนาเป็นแผนงานกองทุนระดับเขต ประเด็นร่วม:โรคเรื้อรัง โรคติดต่อ ยาเสพติด อาหาร ขยะและสิ่งแวดล้อม เด็ก คนพิการผู้สูงอายุและครอบครัว ออกแบบ และพัฒนาระบบบริหารกองทุนสุขภาพตำบล Online เพื่อหนุนเสริม ติดตาม และประเมินผล พัฒนาศักยภาพกลไกพี่เลี้ยง การจัดทำแผนสุขภาพ การพัฒนาโครงการ หนุนเสริม ติดตาม ประเมินผล พัฒนาศักยภาพกรรมการกองทุนฯ การจัดทำแผนการดำเนินงานของกองทุน การพัฒนาโครงการตามประเด็น พี่เลี้ยงลงพื้นที่หนุนเสริมเรื่อง การทำแผนงานและการพัฒนาและพิจารณาโครงการ พัฒนาและพิจารณาโครงการแต่ละกองทุนฯ การดำเนินโครงการและการลงระบบข้อมูลติดตาม ประเมินผล พี่เลี้ยงลงพื้นที่หนุนเสริมการดำเนินโครงการและการลงข้อมูลติดตามประเมินผลโครงการ การสรุปงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทบทวนการดำเนินงาน

แนวทางพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลให้มีคุณภาพและจัดการระบบสุขภาพชุมชน แผนสุขภาพกองทุนตำบล ระยะเวลา 3 ปี คณะทำงาน (ท้องถิ่น จ.-สปสช.-สธ.) เป้าหมาย สปสช.เขต-สธ.- สจรส.มอ.- อปท. (กองทุนสุขภาพตำบลทุกแห่ง) ผลผลิต:แผนสุขภาพตำบล ระยะเวลา 3 ปี - ผู้สูงอายุ - โรคเรื้อรัง(เบาหวาน ความดัน) - แม่และเด็ก - อุบัติเหตุและความปลอดภัยในชุน - ขยะและสิ่งแวดล้อม อาหาร-โภชนาการ เหล้า บุหรี่ และสารเสพติด โครงการแก้ปัญหาสุขภาพในพื้นที่กองทุนสุขภาพตำบล ระยะเวลา 3 ปี พี่เลี้ยงสนับสนุน ปรับแผนงาน/โครงการของกองทุนสุขภาพตำบล

ทิศทางการทำงานแก้ปัญหาสุขภาพผ่านกองทุนสุขภาพตำบล จากข้อมูล (Health Need Assessment) คนไทยสูญเสียช่วงชีวิตที่อยู่อย่างมีความสุข ไปถึง 10.2 ล้านปี หรือ 10.2 ล้าน DALY ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ บริโภคแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง การไม่สวมหมวกนิรภัย ภาวะคอเลสเตอร์รอลสูง การบริโภคผักไม่เพียงพอ ภาวะอ้วน น้ำหนักเกิน สถานการณ์โรคชายและหญิง อันดับ 1 โรคมะเร็งทุกชนิด อันดับ 2 โรคหัวใจและหลอดเลือด อันดับ 3 โรคหอบหืด COPD อันดับ 4 โรคเบาหวาน อันดับ 5 อุบัติเหตุ แผนสุขภาพ โครงการ

สถานการณ์ระบบสุขภาพชุมชนจากการระดมความเห็นจากชุมชน 1.ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ เหล้า บุหรี่ สารเสพติด เป็นต้น 2.ความปลอดภัยในชุมชน อาชญากรรม อุบัติเหตุ 3.โรคเรื้อรัง (เชิงรุกในชุมชน หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คัดกรองตาต้อ กระจก ลดภาวะโรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน ) 4.โรคติดต่อ ( โรคไข้เลือดออก ฉี่หนู มาลาเรีย มือเท้าปาก) 5.อนามัยแม่และเด็ก เด็กเยาวชน ครอบครัว( ตย.โรงเรียนพ่อแม่ ) 6.ผู้สูงอายุ (สนับสนุนศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผสส.) 7.อาหารและโภชนาการ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและพัฒนาการเด็ก) 8.สิ่งแวดล้อม เช่น การจัดการขยะ 9.กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง (พฤติกรรม อุบัติเหตุ สิ่งแวดล้อม)

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะการทำงาน 1.สร้างกลไกเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของคณะกรรมการบริหารกองทุน -DHB,PCC,LTC,อื่นๆ 2.Model ใหม่ เรื่องการบริหารจัดการกองทุนฯ 3.หลักสูตรเสริมสร้างศักยภาพการบริหารกองทุน 17/01/2019