ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ .๒๕๕๙ ของเขตสุขภาพที่ ๑๒ ที่ผ่านเกณฑ์
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 1 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 1. LTC บูรณาการ ๕ กลุ่มวัย ในตำบลต้นแบบ ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/ แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 1. ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ - มี Best practice ของตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ - ตำบลเป้าหมายมีการจัดการด้านสุขภาพแบบบูรณาการตามเกณฑ์มาตรฐานระดับดีขึ้นไป จำนวน 5,079 ตำบล - ตำบลเป้าหมายมีการจัดการด้านสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว จำนวน 1,000 ตำบล มี Best practice ดีเยี่ยม ปี 2558 – 2559 จำนวน 208 ตำบล - ระดับดีขึ้นไป จำนวน 530 ตำบล ร้อยละ 93.81 ระดับดีเยี่ยม จำนวน 28 ตำบล ร้อยละ 31.11 - จำนวน 90 ตำบล นายอนนท์ รักดี ฐานข้อมูล thaiphc.net สบส. 12
ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 2. ลดการบาดเจ็บทางถนน ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/ แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 2.สัดส่วนผู้เสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน - จัดตั้ง Emergency & Trauma Admin Unit ในรพ.ระดับ A/S/M1 ครบ ร้อยละ 100 - อัตราตายลดลงไม่เกิน 16 ต่อประชากรแสนคน ร้อยละ 100 13.3 ต่อประชากรแสนคน เขตสุขภาพ HDC ๓. ร้อยละของจังหวัดมีการชี้เป้าจุดเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยง จังหวัดมีการแก้ไขจุดเสี่ยง 5 จุดต่อไตรมาส - จังหวัดมีการชี้เป้าแก้ไขจุดเสี่ยง 5 จุด/ไตรมาส - มีการแก้ไขจุดเสี่ยงร้อยละ 100 สสจ. 7 จังหวัด
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 3 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 3. Service Plan ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดเวลารอคอยในการส่งต่อ ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๔. การส่งต่อผู้ป่วยออกนอกเขตสุขภาพลดลง - ลดลงร้อยละ 50 ลดลงร้อยละ 100 เขตสุขภาพHDC ๕. ร้อยละโรงพยาบาลในระดับ F2 ขึ้นไปสามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย STEMI ได้ - ร้อยละ 100 ร้อยละ 82.22 KPI Monitoring 6. ร้อยละผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ได้รับยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) และ/หรือ การขยายหลอดเลือดหัวใจ (Primary Percutaneous Coronary Intervention หรือ PPCI) - ร้อยละ 80 ร้อยละ 86.28
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 3 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 3. Service Plan ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดเวลารอคอยในการส่งต่อ ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 7. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ - ระบุกิจกรรมที่ได้ดำเนินการเพื่อสนับสนุนการลดอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ 1. จัดทำแผนเชิงรุกในชุมชน 2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์อาการเตือนของโรคหลอดเลือดหัวใจ 3. สร้างเครือข่ายลดโรคหลอดเลือดหัวใจในชุมชน ผ่านแกนนำชุมชน/อสม./ผู้นำชุมชน 4. เปิด HF Clinic โดยมีแพทย์อายุรกรรมด้านโรคหัวและมีพยาบาล OPD 5. เปิดคลินิกวาร์ฟาริน ใน รพช. 6. STEMI conference case ทุก 3 เดือน 7. การให้ยาละลายลิ่มเลือด 8. คัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิต 9.คัดกรองความเสี่ยง CVD Risk และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเข้มข้นตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย เขตสุขภาพ HDC
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 3 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 3. Service Plan ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดเวลารอคอยในการส่งต่อ ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 7. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ต่อ) - ระบุกิจกรรมที่ได้ดำเนินการเพื่อสนับสนุนการลดอัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ต่อ) - อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ต่อแสนประชากร) 10.จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ความเสี่ยงโรคหัวใจขาดเลือด/หลอดเลือดสมองแจกจ่ายทุกรพ./สสอ. 11.จัดทำสติกเกอร์ติดบ้านผู้ป่วยเพื่อเฝ้าระวังความเสี่ยง อาการแสดงของโรคหัวใจขาดเลือด/หลอดเลือดสมอง สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยง 12.ดำเนินโครงการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม/คลินิก DPAC 13.มีช่องทางการสื่อสารภายในเครือข่าย (ไลน์กรุ๊บ) 14.มีแนวทางการส่งต่อระหว่างแม่ข่าย รพ.พัทลุง/รพช.ทุกแห่ง 15.ส่งเสริมสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคัดกรอง 2 ส เหล้า และ บุหรี่ อัตราตาย 5.65 ต่อแสนประชากร เขตสุขภาพ HDC
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 3 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 3. Service Plan ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดเวลารอคอยในการส่งต่อ ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 9. สัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งได้รังสีรักษาภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ - ≥ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ 100 เขตสุขภาพ สบรส. SURVEY 10. สัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งได้ยาเคมีบำบัดภายในระยะเวลา 6 สัปดาห์ ร้อยละ 83.36 HDC 11. อัตราตายของทารกแรกเกิดอายุต่ำกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน -น้อยกว่า 5/1,000 ทารกแรกเกิดมีชีพ 4.15/1,000 ทารกแรกเกิดมี ชีพ
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศ 4 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศ 4. NCD เริ่มจากลด CKD นำสู่ลด DM HT ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๑๒. ร้อยละของผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/ 1.72 m2/yr ( CKD ควบคุมได้) - มากกว่าร้อยละ ๕๐ ร้อยละ 58.86 เขตสุขภาพ HDC 14. คลินิก CKD คุณภาพในโรงพยาบาลระดับ F2 ขึ้นไป - ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 เขตสุขภาพ สบรส. SURVEY
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศ 4 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศ 4. NCD เริ่มจากลด CKD นำสู่ลด DM HT ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๑๗. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) - ร้อยละ 90 ร้อยละ 96.11 (ไตรมาส 3) สาขา NCD ๑๘. ร้อยละของ รพศ. รพท. รพช. ผ่านเกณฑ์ประเมินคลินิก NCD คุณภาพ - ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 เขตสุขภาพ สบรส. SURVEY
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 5 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 5. บริหารจัดการ HR, Finance, พัสดุ โปร่งใส ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๑๙. จัดทำแผนยุทธศาสตร์กำลังคนของกระทรวงสาธารณสุข (2560-2564) โดยมีการดำเนินการภาพรวมครอบคลุมทั้ง HRP HRD และ HRM - มีระบบฐานข้อมูลกำลังคนของเขตสุขภาพที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน - มีแผนยุทธศาสตร์กำลังคนของเขตสุขภาพ - เขตสุขภาพ และ สสจ. มีระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน (PMS) ระบบฐานข้อมูลกำลังคนของเขตสุขภาพที่ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน มีการจัดทำแผนกำลังคนรองรับการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ปี 2560-2564 ร้อยละ 100 CHRO ๒๐. ประสิทธิภาพของการบริหารการเงินสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ ๗ ของหน่วยบริการในพื้นที่ - ไม่เกินร้อยละ 10 รอข้อมูลจากกลุ่มประกันกระทรวงฯ โดยข้อมูลจากเขตสุขภาพที่ 12 จะส่งข้อมูลวันที่ 20 ตุลาคม 2559 เขตสุขภาพ กลุ่มประกันสุขภาพ ๒๑. แผน planfin และผลการดำเนินงานมีความต่าง
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 5 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 5. บริหารจัดการ HR, Finance, พัสดุ โปร่งใส ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๒๒. หน่วยบริการมีคะแนนรวม FAI - ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 รอข้อมูลจากกลุ่มประกันกระทรวงฯ โดยข้อมูลจากเขตสุขภาพที่ 12 จะส่งข้อมูลวันที่ 20 ตุลาคม 2559 เขตสุขภาพ กลุ่มประกันสุขภาพ ๒๓. สถานบริการเกินเกณฑ์เฉลี่ยต้นทุนต่อหน่วย - หน่วยบริการในพื้นที่มีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการเดียวกัน (เกินเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 17) ๒๔. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน(Integrity and Transparency Assessment : ITA) - หน่วยงานประเมินตนเองตามแบบประเมิน Evidence Base Integrity & Transparency Assessment ในไตรมาสที่ 4 รอบ 12 เดือน (เดือนกันยายน 2559) (ร้อยละ ๗๕ ของหน่วยงาน) 100 % ศปท.
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 5 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 5. บริหารจัดการ HR, Finance, พัสดุ โปร่งใส ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 25. ทุกเขตและจังหวัดมีมูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ฯ - ร้อยละ 20 การจัดซื้อเวชภัณฑ์“ยา”ร่วมเขตแบ่งเป็น 6 กลุ่มรับผิดชอบ โดยขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดการขออนุมัติเพื่อดำเนินการในครั้งแรก รายละเอียดดังนี้ โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน 11 รายการ คิดเป็นมูลค่ารวม 99,247,387.78บาท โรงพยาบาลสงขลา จำนวน 8 รายการ คิดเป็นมูลค่ารวม 98,443,772.60 บาท 3.โรงพยาบาลยะลา จำนวน 7 รายการ คิดเป็นมูลค่ารวม98,881,453.20 บาท 4. โรงพยาบาลตรัง จำนวน 12 รายการ คิดเป็นมูลค่ารวม 58,998,687.20 บาท 5. โรงพยาบาลสตูลจำนวน 10 รายการ คิดเป็นมูลค่ารวม 75,612,216.00 บาท 6. โรงพยาบาลพัทลุง จำนวน 16 รายการ คิดเป็นมูลค่ารวม 75,288,923.06 บาท รวมมูลค่าทั้งสิ้น 506,472,439.84 บาท คิดเป็นร้อยละ 46.78 จากมูลค่าการจัดซื้อร่วมยาและเวชภัณฑ์ฯ ที่ได้วางแผนไว้ คณะกรรมการจัดซื้อยาร่วมเขตสุขภาพ ที่ 12
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 6 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 6. ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบดูแลภาวะฉุกเฉิน PHEM ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม ๒๖. จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้นไป จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการ ปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้นไป ร้อย ละ 50 จังหวัดมีการดำเนินงานเพื่อจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดระดับดีขึ้นไปครบทั้ง ๗จังหวัด ทุกจังหวัด ได้มีกระบวนการจัดทำฐานข้อมูล สถานการณ์ และการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ มีกลไกของคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) มีการดำเนินการ 6 จังหวัด ยกเว้น สงขลา ยังไม่ได้จัดประชุม การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (EHA) มีเทศบาลร้อยละ ๙๐.๒๓ สมัครเข้ารับการประเมิน และร้อยละ 65.๕๒ ผ่านมาตรฐาน มีระบบและกลไกสนับสนุนการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้ถูกต้องตามกฎหมายโรงพยาบาลร้อยละ 6๘.๖๗ ดำเนินการได้ตามมาตรฐาน การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมได้ดำเนินการในจังหวัดเป้าหมายคือ จังหวัดสงขลา ศูนย์อนามัย ที่ 12
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 6 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 6. ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบดูแลภาวะฉุกเฉิน PHEM ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ระบบคุ้มครองผู้บริโภค 27. ระดับความสำเร็จของการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ระดับเขต - ระดับความสำเร็จของการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ระดับเขต แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ระดับที่ 1: จัดทำแผนยุทธศาสตร์งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขตระยะ 3 ปี ระดับที่ 2: การนำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในข้อ 1 ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ระดับที่ 3: มีกลไกการขับเคลื่อนที่มีประสิทธิภาพ เช่น แต่งตั้งคณะทำงานฯ มีการนำเสนอแผนการดำเนินงาน ระดับที่ 4: มีระบบติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ระดับที่ 5: ทบทวนและสรุปบทเรียน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนางานคุ้มครองฯ ในปีต่อไป มีการดำเนินการระดับเขต ครบ 5 ขั้นตอน ระดับที่ 1 : จัดทำแผนยุทธศาสตร์งานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขตระยะ 3 ปี ระดับที่ 2 : การนำแผนยุทธศาสตร์ฯ ในข้อ 1 ไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม เช่น มีการจัดทำคำของบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ฯ เพื่อเตรียมทำ แผนปฏิบัติการงานคุ้มครองฯ เป็นต้น ระดับที่ 3 : มีกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขตที่มีประสิทธิภาพ เช่น แต่งตั้งคณะทำงานฯ มีการนำเสนอแผนการ ดำเนินงาน เป็นต้น ระดับที่ 4 : มีระบบติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน โดยคณะอนุกรรมการ งานคุ้มครองฯ ระดับที่ 5 : ทบทวนและสรุปบทเรียนการพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (ไตรมาสสุดท้าย) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนางานคุ้มครองฯ ในปีต่อไป คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพเขต 12
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 6 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 6. ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบดูแลภาวะฉุกเฉิน PHEM ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ระบบป้องกันควบคุมโรค 28. ร้อยละของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ - ร้อยละ 50 รูปที่ 1 ร้อยละ 50 อำเภอสามารถควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญของพื้นที่ได้ (ไข้เลือดออก)(ข้อมูลถึง 30 มิ.ย. 59) ตารางที่ 2 จำนวนอำเภอสามารถควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญของพื้นที่ได้ (ไข้เลือดออก)(ข้อมูลถึง 30 มิ.ย. 59) สคร 12
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 6 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 6. ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบดูแลภาวะฉุกเฉิน PHEM ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ระบบป้องกันควบคุมโรค 28. ร้อยละของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ - ร้อยละ 50 ตารางที่ 1 จำนวนอำเภอสามารถควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญของพื้นที่ได้ (ไข้เลือดออก)(ข้อมูลถึง 30 มิ.ย. 59) ทั้ง 7 จังหวัดสามารถควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญของพื้นที่ (ไข้เลือดออก) ได้ผ่านตาม เกณฑ์ที่กำหนด มีเพียงจังหวัดนราธิวาส ในไตรมาสที่ 1 เท่านั้นที่ต่ำกว่าเกณฑ์ แต่ในไตร มาสต่อๆมาสามรถดำเนินการได้ตามเกณฑ์ ดังมีรายละเอียดตาม รูปที่ 1 และ ตารางที่ 1 สคร. 12
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 6 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 6. ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ระบบป้องกันควบคุมโรค ระบบดูแลภาวะฉุกเฉิน PHEM ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ระบบดูแลภาวะฉุกเฉินและ สาธารณภัยด้านสาธารณสุข ๒๙. มีแผนรองรับภัยพิบัติ - ร้อยละ 100 1. มีคู่มือ 2. มีแผนรองรับภัยภัยพิบัติและแผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan) ตามความเสี่ยงในแต่ละประเภทภัย ๑. มีการจัดตั้งและบริหารศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (PHEOC) ทั้ง ๗ จังหวัด ๒. มีการฝึกซ้อมเสมือนจริง (Full Scale Function Exercise : FTX) ๓. จัดทำแผนประคองกิจการสำหรับการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ด้านอัตรากำลัง ตามโครงสร้างระบบบัญชาการ ๔.ร่วมปฏิบัติงานตามโครงสร้างและระบบ ICS ในการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขได้ทุกเหตุการณ์ที่มีการยกระดับ EOC มี 2 เหตุการณ์ คือ ไข้เลือดออก และ Road Traffic Injury ๕.จัดทำ Incident Action Plan ของเหตุการณ์ไข้เลือดออก และ Road Traffic Injury ในช่วง ๗ วันอันตราย เทศกาลปีใหม่ และ เทศกาลสงกรานต์ สคร. 12
ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที 12 1 ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที 12 1. Service Plan เขตสุขภาพที่ 12 ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๑. ร้อยละผู้ป่วย STEMI เสียชีวิต - อัตราผู้ป่วย STEMI ได้รับการเปิดหลอดเลือดภายใน ๓ ชั่วโมง มากกว่าร้อยละ 6๐ - ร่วมมือกับสาขาปฐมภูมิเพื่อปฏิบัติงานในชุมชน สร้างเครือข่ายเข้มแข็งในการลดป่วย ลดโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ 75.29 คัดกรอง 4 ชุมชนต้นแบบ มีการเยี่ยมติดตาม และขยายเครือข่ายเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ร่วมมือกับสาขาปฐมภูมิ มีการจัดทำ STEMI & Stroke Alert ทั้งจังหวัด ร่วมกับงาน Stroke unit ร่วมประชุมตามโครงการพี่ช่วยน้อง และทุกโครงการ อบรม โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๙ ปรับแนวทาง ส่งต่อเพื่อทำ PCI รพ มอ. และ รพ.หาดใหญ่ CPG การดูแลรักษาผู้ป่วย ST Elevation Myocardial Infraction เขตสุขภาพ
ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 1 ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 1. Service Plan เขตสุขภาพที่ 12 ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๑. ร้อยละผู้ป่วย STEMI เสียชีวิต - ร่วมมือกับสาขาปฐมภูมิเพื่อปฏิบัติงานใน ชุมชน สร้างเครือข่ายเข้มแข็งในการลดป่วย ลดโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ เพิ่มการเข้าถึงโดยการเพิ่มหน่วยบริการที่สามารถให้ให้บริการ โดยวิธีให้ยาละลายลิ่มเลือดได้โรงพยาบาลพัทลุงซึ่งเป็นโรงพยาบาลแม่ข่ายในการให้ยา Streptokinase อบรมให้ความรู้เจ้าหน้าที่ในเรื่องโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน จัดทำคู่มือในการดูแลรักษาและแนวทางการส่งต่อ พัฒนาระบบการให้คำปรึกษาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อ Confirm การวินิจฉัยโรค พัฒนา Care-MAP, Standing order, คู่มือในการให้ข้อมูลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน case manager เป็นที่ปรึกษาและผู้ประสานงาน จัดทีมสหสาขาวิชาชีพ ในการเยี่ยมบ้านสำหรับผู้ป่วยที่มีปัญหา ยุ่งยากซับซ้อน และในรายที่มีภาวะแทรกซ้อนและไม่สามารถควบคุมอาการได้ Heart Failure Clinic Warfarin clinic สร้างอำเภอเข้มแข็งในการลดป่วยลดโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ ทุกอำเภอ (จังหวัดนราธิวาส) เขตสุขภาพ
ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 1 ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 1. Service Plan เขตสุขภาพที่ 12 ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 2. ร้อยละผู้ป่วย Ischemic Stroke เสียชีวิต - ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดที่ได้รับยาสลายลิ่มเลือดร้อยละ ๖ ร้อยละ 35.98 เขตสุขภาพ
ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 1 ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 1. Service Plan เขตสุขภาพที่ 12 ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 2. ร้อยละผู้ป่วย Ischemic Stroke เสียชีวิต - ทีมกลางระดับเขตประเมินประสิทธิภาพการบริการระบบ Stroke fast track ระดับ M๑-๒ ครบ ๖ แห่ง - รพศ./รพท. แม่ข่ายจังหวัด รับผิดชอบพัฒนาและประเมินการตรวจ วินิจฉัย ส่งต่อให้มีประสิทธิภาพใน รพช. ครบทุกแห่ง - ร่วมมือกับสาขาปฐมภูมิเพื่อปฏิบัติงานในชุมชน สร้างเครือข่ายเข้มแข็งในการลดป่วย ลดโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ ร้อยละ 100 ร้อยละ 90.00 เขตสุขภาพ
ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 2. ระบบควบคุมโรค ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 3. อัตราป่วยด้วยโรค ไข้เลือดออก(ต่อแสน ประชากร)ไม่เกินร้อย ละ 70 - พื้นที่เสี่ยงสูงได้รับการสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ 100 - หมู่บ้าน/ชุมชนที่มีการระบาดโรคในgeneration ที่ ๒ ได้รับการสอบสวนโรคโดย SRRT ระดับจังหวัด ร้อยละ 50 - อำเภอผ่านเกณฑ์ประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งร้อยละ 85 - ประเมินผลการดำเนินการควบคุม โรคไข้เลือดออกเชิงคุณภาพ ในพื้นที่ ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก -พื้นที่เสี่ยงสูงได้รับการสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย ร้อยละ ๑๐๐ (๑๔ อำเภอๆ ละ ๓ ครั้ง) - ไม่มี -อำเภอผ่านเกณฑ์ประเมินอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งร้อยละ ๘๕ -ประเมินผลการดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงคุณภาพ ในพื้นที่ที่มีการ ระบาดของโรคไข้เลือดออก จากการสุ่มประเมินในพื้นที่ โดยคัดเลือก ผู้ป่วย ไข้เลือดออก ที่มีการรายงาน ในช่วง 5–14 วัน และนำเสนอข้อมูลการ ประเมินให้แก่ผู้บริหารระดับเขตทุกเดือน ซึ่งทั้ง 7 จังหวัด ได้นำผลการ ประเมินไปปรับปรุงกลวิธีการดำเนินงาน และกำหนดเป็นแนวทางและ ยุทธศาสตร์การควบคุมโรคไข้เลือดออก สคร. 12
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัด16 ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 4. ลดอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง ในเด็กอายุต่ำกว่า ๒ ปี จนท./อสม. ออกเยี่ยมบ้านให้ความรู้ อย่างน้อยเดือนละครั้ง เจ้าหน้าที่/อสม. ออกเยี่ยมบ้านเด็กอายุต่ำกว่า ๒ ปีที่บ้านจำนวน ๑๐,๖๓๘ ราย คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๓๐ - กลุ่มงานควบคุมโรค สสจ.พัทลุง ประชาสัมพันธ์/รณรงค์ให้ความรู้ผ่านสื่อต่าง ๆ ประชาสัมพันธ์ ป้ายไวนิลรณรงค์โรคอุจจาระร่วงในสถานบริการ จำนวน ๒๒ แห่ง ติดโปสเตอร์การป้องกันควบคุมโรคอุจจาระร่วงในเด็กที่บ้านจำนวน ๑๐,๖๓๘ หลังคาเรือน แม่หลังคลอดได้รับการให้ความรู้การป้องกันอุจจาระร่วงในเด็กตั้งแต่ก่อนออกจากโรงพยาบาลทุกราย จำนวนแม่หลังคลอด ๔,๒๗๘ ราย ได้รับความรู้ในการป้องกันโรคอุจจาระร่วงก่อนออกจากโรงพยาบาลทุกราย - กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ผู้ดูแลเด็กได้รับการให้ความรู้การป้องกันอุจจาระร่วงในเด็กที่คลินิกสุขภาพเด็กดี ทุกราย จำนวนผู้ดูแลเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่พาเด็กมารับบริการที่คลินิกสุขภาพเด็กดี จำนวน ๔,๔๘๑ คน ได้รับการให้ความรู้การป้องกันอุจจาระร่วงในเด็กทุกคน
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัด16 ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 4. ลดอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง ในเด็กอายุต่ำกว่า ๒ ปี (ต่อ) ตรวจสอบ/ให้คำแนะนำการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในศูนย์รับเลี้ยงเด็ก/ศพด. ทุกแห่ง ศูนย์รับเลี้ยงเด็ก/ศพด. จำนวน 194 แห่ง ได้รับการตรวจสอบ/ให้คำแนะนำการปรับปรุงสภาพแวดล้อม จำนวน 134 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 69.07 - กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.พัทลุง สุ่มชันสูตรทางคลินิกในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค/มีอัตราป่วยสูงสุด ๑ อำเภอ สุ่มชันสูตรทางคลินิก จำนวน ๒๒ ตัวอย่าง ไม่พบเชื้อสาเหตุของโรค - กลุ่มงานควบคุมโรค
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัด16 ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 4. ลดอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง ในเด็กอายุต่ำกว่า ๒ ปี (ต่อ) จัดทำรายงานสถานการณ์รายสัปดาห์/เดือน เสนอในที่ประชุม คปสอ./กวป. ทุกเดือน รายงานสถานการณ์โรครายเดือนใน กวป. จำนวน ๑๑ ครั้ง - กลุ่มงานควบคุมโรค สอบสวนโรคกรณีมีการระบาด เป็นกลุ่มก้อน ไม่มีการระบาดเป็นกลุ่มของโรคอุจจาระร่วง อัตราป่วยด้วยโรคอุจาระร่วงใน เด็กอายุต่ำกว่า ๒ ปี ลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง และ ปีที่แล้ว ในช่วงเวลาเดียวกัน อัตราป่วยโรคอุจจาระร่วงในเด็กอายุต่ำกว่า ๒ ปี ปี ๒๕๕๙ (ข้อมูลนับถึงวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๙) จำนวน ๑๓,๘๕๐.๕๖ ต่อแสนประชากร ลดลงจากค่ามัธยฐาน ๕ ปีย้อนหลัง (๑๔,๑๕๙.๔๐ต่อแสนประชากร)ของกลุ่มอายุและช่วงเวลาเดียวกันร้อยละ ๒.๑๘
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดตรัง ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 5. ลดอัตราการตายด้วยมะเร็งเต้านม(ต่อแสนการเกิดมีชีพ) - ร้อยละของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมได้รับการรักษา ติดตามดูแลตามเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 9๐ - สรุปผลการดำเนินงานจัดทำ KM และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการ พัฒนางานอย่างต่อเนื่องในระดับ อำเภอ - ผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ได้รับการติดตาม โดย nurse case manager คิดเป็นร้อยละ 100 - ได้มีการจัดทำ KM และแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องในระดับอำเภอจำนวน 8 อำเภอ จากทั้งหมด 10 อำเภอ ที่เหลืออีก 2 อำเภอจะดำเนินการในปีต่อไป นางณินท์ญาดา รองเดช งาน NCD
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดสงขลา ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 6. อัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลงจากปี 2558 รายงานผลการดำเนินงานจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ในปี 2559 ลดลงจากปี 2558 - อัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ 10 1.อัตราการเกิด ผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน ลดลงร้อยละ 65 ( ผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน 2558=6,778 คัดกรองเบาหวานปี2558=240,971 ,ผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน 2559= 3,868 คัดกรองเบาหวานปี 2559= 393,560) 2. อัตราการเกิด ผู้ป่วยรายใหม่ความดันโลหิตสูง ลดลง ร้อยละ 63 ( ผู้ป่วยรายใหม่ความดันโลหิตสูง 2558= 16,796 คัดกรองความดันโลหิตสูงปี 2558=212,372 ,ผู้ป่วยรายใหม่เบาหวาน = 10,020 คัดกรองเบาหวานปี 2559= 345,953) น.ส ประภา ภรณ์ ศศิธร/ HDC
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดปัตตานี ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 7.อัตราความครอบคลุมโดยเฉลี่ยของการรับวัคซีนวัคซีนรวมคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน(DTP) ครบ 5 ครั้งตามกลุ่มเป้าหมายอายุ5 ปีเต็ม 2. ไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคบาดทะยักไอกรนและคอตีบรายที่ 3 2. ไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคบาดทะยักไอกรนและคอตีบ สสจ.ปัตตานี รายงาน HDC วันที่ 26 กันยายน 2559
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดสตูล ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 8. อัตราผู้ป่วยรายใหม่จากโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันลดลง - ผู้ป่วยที่ CVD Risk มากกว่า 30% ได้รับการปรับเปลี่ยนแบบเข้มข้นละได้รับยา - เพิ่มการเข้าถึงการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมองเน้นการให้ SK ใน รพช. ทุกแห่ง กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ได้รับติดตามทุกราย - รพท/รพช. ทุกแห่งผ่าน NCD คุณภาพ - รพ.สต. ผ่าน NCD คุณภาพ 1 แห่ง/CUP 94.11 % 100% ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ได้รับการติดตาม 87.76 % ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตาม 93.13 % สสจ.สตูล
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดยะลา ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 9. ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ 0-5 ปี 9.1 ความครอบคลุมในเด็กอายุ0-5 ปีอย่างน้อยร้อยละ 90 ยกเว้น MMRในเด็กอายุครบ 1 ปี ร้อยละ 95 9.2 พท.โซน Aลดลง(พท.โซน A = พท.ที่มีความครอบคลุมต่ำกว่าเกณฑ์และมีการระบาดของโรคคอตีบ) 9.3 พท.โซน C เพิ่มขึ้น (พท.โซน C = พท.ที่มีความครอบคลุมตามเกณฑ์และไม่พบการระบาดของโรคคอตีบ) 1. มีการสรุปและรายงานผลการดำเนินงาน 2.มีความก้าวหน้าผลการดำเนินงานอย่างน้อยร้อยละ 12-20 3.ไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน 1. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0 - 5 ปี เท่ากับร้อยละ 91.85 (ปี 58 = 89.07) 2. มีการนิเทศ ปีละ 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 เดือนกุมภาพันธ์ 2558 และ ครั้งที่ 2 เดือนสิงหาคม 2559 3. ไม่มีผู้ป่วยโรคคอตีบ สสจ.ยะลา
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดนราธิวาส ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 10.เด็กอายุ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย (มากกว่าร้อยละ ๘๕) - ปรับแผนการดำเนินงาน - ประเมินผลทักษะการคัดกรองด้วย DSPM - ปรับแผนการณรงค์คัดกรองพัฒนาการใน 4 กลุ่มวัย จากวันที่ 4-8 กรกฎาคม 2559 เป็นวันที่ 11-15 กรกฎาคม 2559 1. ได้ดำเนินการสุ่มประเมินผลทักษะการคัดกรองด้วย DSPM ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในระดับ รพ.สต. จำนวน 92 คน จาก 12 อำเภอ ในเดือนกรกฎาคม 2559 ผลการสุ่มประเมินพบว่า การประเมินทักษะที่ยังไม่ถูกต้องสูงสุด 3 อันดับแรก คือ 1.1 การเลือกจัดกลุ่มวัตถุตามประเภทเสื้อผ้า (ร้อยละ 18.8) 1.2 การวางวัตถุไว้ข้างหน้าและข้างหลัง (ร้อยละ 16.1) 1.3 การใช้แขนรับลูกบอล (ร้อยละ 16.1) 2. ได้ดำเนินการประเมินหน้างานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่รับผิดชอบงานพัฒนาการของ รพช. และ รพท. ทุกแห่ง ในเดือนมิถุนายน 2559 พบว่า การประเมินทักษะที่ยังไม่ถูกต้องสูงสุด 3 อันดับแรก คือ 2.1 การเลือกจัดกลุ่มวัตถุตามประเภทเสื้อผ้า (ร้อยละ 16.6) 2.2 ดื่มน้ำจากแก้วโดยไม่หก (ร้อยละ 8.3) 2.3 การใช้แขนรับลูกบอล (ร้อยละ 8.3) สสจ.นราธิวาส
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดนราธิวาส ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 10.เด็กอายุ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย (มากกว่าร้อยละ ๘๕) - รณรงค์คัดกรองครั้งที่ ๓ - สรุปผลการคัดกรองพัฒนาการพบพัฒนาการสงสัยล่าช้า ให้การช่วยเหลือและสรุปภาพรวม - จำนวนเด็กอายุ 42 เดือน จำนวน 1,059 คน - ได้รับการคัดกรอง จำนวน 954 คน (90.08%) - พบสงสัยล่าช้า จำนวน 280 คน (29.35%) -จำนวนเด็กอายุ 42 เดือน จำนวน 1,059 คน -ได้รับการคัดกรอง จำนวน 954 คน (90.08%) -พบสงสัยล่าช้าและได้รับการกระตุ้น จำนวน 280 คน (29.35%) -ได้รับการติดตามหลังกระตุ้น 1 เดือน จำนวน 230 คน (82.14%) -พบล่าช้าหลังกระตุ้น 1 เดือน จำนวน 14 คน (6.09%) -ได้รับการดูแลโดยแพทย์ และทีมสุขภาพทุกคน สสจ.นราธิวาส
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดนราธิวาส ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 10.เด็กอายุ 42 เดือน มีพัฒนาการสมวัย (มากกว่าร้อยละ ๘๕) - สรุปผลการดำเนินงาน และปัญหาอุปสรรค ในการเฝ้าระวัง คัดกรองพัฒนาการเด็กอายุ ๔๒ เดือน 1.เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต. / รพช. / รพท. มีการดำเนินงาน คัดกรอง พัฒนาการในทุกเดือน และรณรงค์ปีละ 1 ครั้ง 2.มีการติดตามการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กของ ผดด. ในศพด. โดย ผู้รับผิดชอบงานระดับอำเภอ 3.จังหวัดมีการสุ่มประเมินผลทักษะการคัดกรองด้วย DSPM ของเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขในระดับ รพ.สต. 4.จังหวัดมีการดำเนินการประเมินหน้างานของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่ รับผิดชอบงานพัฒนาการของ รพช. และ รพท. สสจ.นราธิวาส
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ .๒๕๕๙ ของเขตสุขภาพที่ ๑๒ ที่ไม่ผ่านเกณฑ์
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 3 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์ 3. Service Plan ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด ลดเวลารอคอยในการส่งต่อ ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 8. สัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งได้รับการผ่าตัดภายหลังวินิจฉัย ภายใน 4 สัปดาห์ - ≥ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ 74.66 เขตสุขภาพ สบรส. SURVEY
ก. ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศ 4 ก.ตัวชี้วัดของผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศ 4. NCD เริ่มจากลด CKD นำสู่ลด DM HT ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๑๓. คัดกรอง CKD ในผู้ป่วย DM/HT - ร้อยละ 90 ร้อยละ 60.08 เขตสุขภาพ HDC ๑๕. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี - ≥ร้อยละ 40 ร้อยละ 26.10 เขตสุขภาพ HDC ๑๖. ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี - ≥ร้อยละ 50 ร้อยละ 18.89
ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที 12 1 ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที 12 1. Service Plan เขตสุขภาพที่ 12 ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ๑. ร้อยละผู้ป่วย STEMI เสียชีวิต - อัตราผู้ป่วย STEMI ได้รับยาละลายลิ่มเลือดในเวลา ๓๐ นาที ร้อยละ 6๐ - อัตราผู้ป่วย STEMI ได้รับการทำ PPCI ในเวลา ๙๐ นาที ร้อยละ 6๐ 40.52 52.39 เขตสุขภาพ เขตสุขภาพ
ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 1 ข. ตัวชี้วัด : ปัญหาของพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 1. Service Plan เขตสุขภาพที่ 12 ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 – 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 2. ร้อยละผู้ป่วย Ischemic Stroke เสียชีวิต - เปิดบริการ Stroke unit ใน รพ. ระดับ S ที่ รพ.สตูล รพ.สงขลา - Stroke unit รพ. ระดับ A ผ่านเกณฑ์ประเมินรับรองมาตรฐานของสรพ. ครบ ๓ แห่ง - ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดที่ได้รับยาสลายลิ่มเลือดภายใน ๖๐ นาทีเมื่อมาถึงโรงพยาบาลร้อยละ ๗๐ รพ.สงขลา จำนวน 4 unit รพ.สตูล ยังไม่เปิด ร้อยละ 33.00 (รพ.หาดใหญ่ ผ่านเกณฑ์ รพ.ยะลา และ รพ.สงขลา ยังไม่ผ่านเกณฑ์) ร้อยละ 93.50 เขตสุขภาพ เขตสุขภาพ
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัด16 ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1 ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 4. ลดอัตราป่วยด้วยโรคอุจจาระร่วง ในเด็กอายุต่ำกว่า ๒ ปี (ต่อ) เด็กอายุ 0 – 6 เดือน ได้รับการเลี้ยงด้วยนมแม่ ร้อยละ ๙๐ ร้อยละ ๘๒.๕๕ - กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.พัทลุง
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดตรัง ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 5. ลดอัตราการตายด้วยมะเร็งเต้านม(ต่อแสนการเกิดมีชีพ) - ร้อยละของสตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปี ได้รับการคัดกรองได้ตามเกณฑ์อย่างน้อย ร้อยละ ๘๐ - ร้อยละของสตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปี ได้รับการคัดกรอง ร้อยละ 78.52 นางณินท์ญาดา รองเดช งาน NCD
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดปัตตานี ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 7.อัตราความครอบคลุมโดยเฉลี่ยของการรับวัคซีนวัคซีนรวมคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน(DTP) ครบ 5 ครั้งตามกลุ่มเป้าหมายอายุ5 ปีเต็ม 1. อัตราความครอบคลุมโดยเฉลี่ยของการรับวัคซีนวัคซีนรวมคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน(DTP) ครบ 5 ครั้งตามกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุครบ 5 ปีร้อยละ 85 1. อัตราความครอบคลุมโดยเฉลี่ยของการรับวัคซีนวัคซีนรวม คอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTP) ครบ 5 ครั้ง ตามกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุครบ 5 ปี จำนวน 9,513 คน ผลงานจำนวน 5,339 คน คิดเป็นความครอบคลุม ร้อยละ 56.12 สสจ.ปัตตานี รายงาน HDC วันที่ 26 กันยายน 2559
ค. ตัวชี้วัด : ปัญหารายจังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๒ จังหวัดสตูล ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าผลการดำเนินงานไตรมาส 4 (รอบ 12 เดือน : 1ตุลาคม 2558 - 30 กันยายน 2559) ผู้รายงาน/แหล่งข้อมูล เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 8. อัตราผู้ป่วยรายใหม่จากโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลันลดลง - พัฒนาระบบคัดกรอง CVD Risk 100% มีการคัดกรอง CVD Risk ในคลินิก เบาหวาน ความดัน รพช รพสต ผลการคัดกรอง 94.63 สสจ.สตูล