บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก Biology (40244) Miss Lampoei Puangmalai
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก 12.1 โครงสร้างและหน้าที่ของราก 12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น 12.3 โครงสร้างและหน้าที่ของใบ 12.4 การคายน้ำของพืช 12.5 การลำเลียงน้ำของพืช 12.6 การลำเลียงธาตุอาหารของพืช 12.7 การลำเลียงสารอาหารของพืช
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล และอธิบายลักษณะโครงสร้างและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ 2. สำรวจตรวจสอบ และอภิปรายลักษณะโครงสร้างของราก ลำต้น ใบ ที่สัมพันธ์กับหน้าที่ 3. สำรวจตรวจสอบโครงสร้างภายในตัดตามขวางของราก ลำต้น ใบ 4. สำรวจตรวจสอบตำแหน่งและจำนวนปากใบของพืชในท้องถิ่น 5. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปการคายน้ำของพืช 6. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปการลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และสารอาหารของพืช 7. สำรวจตรวจสอบอัตราการคายน้ำของพืช 8. เขียนผังมโนทัศน์เรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
ลำต้น (Stem)
12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น 12.2 โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น 12.2.1 เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด 12.2.2 โครงสร้างภายในลำต้น 12.2.3 หน้าที่และชนิดของลำต้น
12.2.1 เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด 12.2.1 เนื้อเยื่อบริเวณปลายยอด 1. เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด (apical meristem) 2. ใบเริ่มเกิด (leaf primordium) 3. ใบอ่อน (young leaf) 4. ลำต้นอ่อน (young stem)
The Shoot System Above ground (usually) Elevates the plant above the soil Many functions including: photosynthesis reproduction & dispersal food and water conduction
Shoot apical meristem http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/plantanatomy.htm
http://bio1152. nicerweb. com/Locked/media/lab/plantae/organs/index http://bio1152.nicerweb.com/Locked/media/lab/plantae/organs/index.html
12.2.2 โครงสร้างภายในลำต้น การเจริญเติบโตของลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ มี 2 ระยะ 1. การเจริญเติบโตขั้นต้น (primary growth) 2. การเจริญเติบโตขั้นที่ 2 (secondary growth)
Stem of a Dicotyledonous Plant: Internal Structure From the study of the transverse section of the dicotyledonous stem you will identify the following three regions of tissues: epidermis, cortex, vascular cylinder or stele.
http://www.infovisual.info/01/014_en.html
12.2.2 โครงสร้างภายในลำต้น ประกอบด้วยชั้นเนื้อเยื่อต่าง ๆ ดังนี้ 12.2.2 โครงสร้างภายในลำต้น ประกอบด้วยชั้นเนื้อเยื่อต่าง ๆ ดังนี้ 1. epidermis 2. cortex 3. stele 3.1 vascular bundle Phloem xylem 3.2 vascular lay 3.3 pith
Herbacous Dicot Stem Cross Sections http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/plantanatomy.htm
Monocot Stem Cross Section http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/plantanatomy.htm
http://bio1152. nicerweb. com/Locked/media/lab/plantae/organs/index http://bio1152.nicerweb.com/Locked/media/lab/plantae/organs/index.html
Differences between Monocot and Dicot Stems Monocotyledon Dicotyledon 1. A large number of vascular bundles. 1. A limited number of vascular bundles. 2. The vascular bundles are scattered in the ground tissue. 2. The vascular bundles are arranged in a ring. 3. No cambium occurs between the xylem and phloem. 3. Cambium occurs between the xylem and phloem. 4. There is no distinction between the cortex and pith. 4. The cortex and pith can be clearly distinguish. 5. No Secondary thickening. 5. Secondary thickening can occur. 6. No annual rings are formed. 6. Annual rings are formed due to secondary thickening.
ลำต้นของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว พืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocot) vascular bundles จะกระจายอยู่ทั่วลำต้น ไม่มี vascular cambium คั่นระหว่าง xylem และ phloem บางชนิด pith จะสลายไป กลายเป็นช่องกลวงกลางลำต้น เรียกว่า pith cavity พบในบริเวณปล้อง (internode) เช่น ลำต้นของหญ้า และไผ่ แต่บริเวณข้อ (node) ยังมี pith
การเจริญขั้นที่สองของลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ เนื้อจากพืชใบเลี้ยงคู่ มี vascular cambium อยู่ระหว่าง xylem, phloem จะแบ่งเซลล์สร้าง secondary xylem ได้เร็วกว่า secondary phloem การสร้าง vascular cambium จะแตกต่างกันในแต่ละฤดู ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำและ แร่ธาตุ จะได้เนื้อไม้สีเข้มและสีจาง สลับกัน เห็นเป็นวง เราเรียกว่า วงปี (annual ring)
วงปี (annual ring) Xylem ที่อายุมากที่สุดจะอยู่ชั้นในสุดของลำต้น ทำหน้าที่ ให้ความแข็งแรง Xylem มีสีเข้มเรา เรียกว่า แก่นไม้ (heart wood) Xylem ที่อยู่รอบนอกมีสีจางกว่า ยังทำหน้าที่ ลำเลียงน้ำ และแร่ธาตุต่อไป เรียกว่า กระพี้ไม้ (sap wood) รวมเรียก แก่นไม้ และกระพี้ไม้ ว่า เนื้อไม้ (wood)
annual ring http://www.puc.edu/Faculty/Gilbert_Muth/botglosa.htm
เปลือกไม้ (bark) คือ ส่วนที่อยู่ถัดจาก ออกไปข้างนอก ในลำต้นอายุน้อย ๆ เปลือกไม้จะประกอบด้วย epidermis, cortex, phloem ในลำต้นที่อายุมาก epidermis หลุดสลายไป เหลือแต่เนื้อเยื่อ คอร์ก (cork) และ cork cambium
http://www.artlex.com/ArtLex/wxyz/wood.html
การเจริญขั้นที่สองของลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว โดยทั่วไป มักไม่มีการเจริญเติบโตขั้นที่ 2 ยกเว้น พืชบางชนิด เช่น หมากผู้หมากเมีย , จันทร์ผา
12.2.3 หน้าที่และชนิดของลำต้น 12.2.3 หน้าที่และชนิดของลำต้น หน้าที่หลักของลำต้น สร้างใบและกิ่ง ช่วยพยุงกิ่งก้านสาขา ชูใบให้รับแสงแดด ลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และสารต่าง ๆ ที่พืชสร้างขึ้นไปยังส่วนต่าง ๆ
12.2.3 หน้าที่และชนิดของลำต้น 12.2.3 หน้าที่และชนิดของลำต้น หน้าที่พิเศษของลำต้น ลำต้นเปลี่ยนไปเป็นหนาม เช่น มะนาว ส้ม เฟื่องฟ้า เป็นต้น ลำต้นเปลี่ยนไปเป็นมือเกาะ เช่น พวงชมพู องุ่น เป็นต้น ลำต้นสังเคราะห์แสงแทนใบ เช่น กระบองเพชร พญาไร้ใบ เป็นต้น ลำต้นสะสมอาหาร เช่น เผือก มันฝรั่ง แห้ว ขิง ข่า เป็นต้น
References สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : 2547. 156 หน้า. http://www.eduzones.com/vichakan/bio/bio5.html http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/plantanatomy.htm http://www.botany.uwc.ac.za/sci_ed/grade10/anatomy/stems.htm
Thank you Miss Lampoei Puangmalai Major of biology Department of science St. Louis College Chachoengsao