3P กับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
“3P” The Most Simplest Model สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล “3P” The Most Simplest Model
“3P” The Most Simplest Model สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล “3P” The Most Simplest Model เราทำงานกันอย่างไร ทำไมต้องมีเรา ทำไปเพื่ออะไร ทำได้ดีหรือไม่ จะทำให้ดีขึ้นได้อย่างไร
พิจารณาใช้ 3P ในกระบวนการต่อไปนี้ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล “3P” ในงานประจำ พิจารณาใช้ 3P ในกระบวนการต่อไปนี้ การส่งเวร การคัดกรองผู้ป่วย การวางแผนการพยาบาล การวางแผนจำหน่าย การลดการใช้ card ยา
พิจารณาใช้ 3P ในโครงการ CQI ต่อไปนี้ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล “3P” ในโครงการ CQI พิจารณาใช้ 3P ในโครงการ CQI ต่อไปนี้ โครงการลดความคลาดเคลื่อนในการให้ยา โครงการลดการเกิด VAP ใน ICU โครงการพัฒนาการดูแลผู้ป่วย stroke โครงการควบคุมน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน โครงการลด re-admit ในผู้ป่วย CHF
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล Purpose: ใน Service Profile (องค์การมหาชน) Purpose: ใน Service Profile บริบท ข้อกำหนด/ความรู้ ทางวิชาชีพ ความต้องการ ของผู้รับผลงาน นโยบาย องค์กร ปัญหา ความท้าทาย ประเด็นคุณภาพสำคัญ Outcome Indicator Purpose Process Performance
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 3P กับคุณภาพขององค์กร บริบท: ลักษณะสำคัญ ใช้ 3P เป็นกรอบในการวิเคราะห์ พูดคุยทำความเข้าใจ สรุปผลงาน แต่ละคน รู้งาน รู้บทบาทของตนที่สัมพันธ์กับเป้าหมายขององค์กร ตัวชี้วัดรพ.สอดคล้องกับประเด็นสำคัญและเป้าหมายหรือไม่ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายของ องค์กร ความเข้าใจและการลงมือทำ สำคัญกว่าการเขียนเอกสาร
Process Design จะออกแบบกระบวนการทำงานอย่างไรให้ สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Process Design จะออกแบบกระบวนการทำงานอย่างไรให้ ทำได้ง่ายขึ้น ได้ผลดีขึ้น มีความปลอดภัยมากขึ้น ใช้เวลาน้อยลง ทำงานเอกสารน้อยลง พึ่งพิงความความจำ ความฉลาด ความสามารถเฉพาะตน น้อยลง นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล “การบูรณาการคุณภาพสู่หัวใจคุณภาพ” 9th HA Forum (Southern Region) 4 ธันวาคม 2550
ตัวอย่างความซับซ้อนที่เพิ่มขึ้น สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ตัวอย่างความซับซ้อนที่เพิ่มขึ้น จากการพัฒนาคุณภาพ การมุ่งยกเลิกการ์ดยา โดยไม่ได้ตระหนักถึงเป้าหมายการลดความผิดพลาด และไม่ได้นำ IT เข้ามาช่วย การเพิ่มระบบบันทึกข้อมูลเพื่อเป้าหมายในการรายงาน โดยไม่ได้นำศักยภาพของระบบ IT มาใช้ การลอกตัวอย่างในตำรามาสู่การปฏิบัติ โดยปราศจากการทดสอบความจำเป็น และประเมินผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น การใช้เครื่องมือคุณภาพต่างๆ โดยปราศจากความเข้าใจ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล “การบูรณาการคุณภาพสู่หัวใจคุณภาพ” 9th HA Forum (Southern Region) 4 ธันวาคม 2550
กิจกรรม : 3 P & มาตรฐานด้านการพยาบาล เป้าหมายของการบริหารการพยาบาลคืออะไร เป้าหมายของปฏิบัติการพยาบาลคืออะไร จะทำให้สอดคล้องและบรรลุถึงวิสัยทัศน์ พันธกิจองค์กรได้ต้องทำอย่างไร ความท้าทายที่สำคัญของโรงพยาบาลท่าน คืออะไร ข้อจำกัดขององค์กรพยาบาลในโรงพยาบาลท่านคืออะไร ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานขององค์กรพยาบาลคืออะไรบ้าง
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) Overall Req. มีระบบบริหารการพยาบาลรับผิดชอบต่อการจัดบริการพยาบาลที่มีคุณภาพสูง เพื่อบรรลุพันธกิจขององค์กร ประสานความร่วมมือระดับองค์กร การใช้ยา, การควบคุมการติดเชื้อ การสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพและความปลอดภัย 1 ผู้นำทีมการพยาบาล ก. การบริหารการพยาบาล 4 บุคลากร ความรู้ความสามารถ ปริมาณ 2 ข. ปฏิบัติการพยาบาล 3 โครงสร้างและกลไก กำกับดูแลมาตรฐาน/จริยธรรม นิเทศ/กำกับดูแล ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ส่งเสริมการใช้กระบวนการพยาบาล ส่งเสริมการตัดสินใจทางคลินิก ดูแลผู้อยู่ระหว่างฝึกอบรม จัดการความรู้และวิจัย สิทธิผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพ 2 ผลลัพธ์ของ ปฏิบัติการพยาบาล ความปลอดภัย บรรเทาทุกข์ทรมาน ข้อมูลและการเรียนรู้ การดูแลตนเอง การเสริมพลัง ความพึงพอใจ มาตรฐาน/ ข้อมูลวิชาการ 3 1 กระบวนการ พยาบาล สภาวะสุขภาพ ของผู้ป่วย 4 5 บันทึก ปรับปรุง Risk/Safety/Quality Management 6 5 ประเมิน